โครง งาน โคม ไฟ จาก ไหม พรม

โครงงานวทิ ยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์ เร่ือง โคมไฟจากไหมพรม
คณะผจู้ ดั ทา 1.นายธนภทั ร ไชยชมพล เลขท่ี 3

2.นางสาวธญั ลกั ษณ์ มูลดี เลขที่ 14
3.นางสาวอลชิ า เรือนวนั เลขที่ 25

ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3
คณุ ครูที่ปรึกษา คณุ ครูพรทิพย์ ยศโยธิน
โรงเรียนป่ าแดดวทิ ยาคม จงั หวดั เชียงราย

บทคัดย่อ
ปัจจุบนั คนนิยมตกแตง่ บา้ นดว้ ยเฟอร์นิเจอร์ตา่ ง ๆ มากมาย หรือแมก้ ระทง่ั โคมไฟท่ีช่วยให้แสงสวา่ งแตจ่ ะ
ใหม้ ปี ระโยชนม์ ากข้ึนจะตอ้ งสวยงามเพ่อื จะให้ไดท้ ้งั การตกแตง่ บา้ นและการอานวยความสะดวกสบาย การผลติ โคม
ไฟสามารถใชว้ สั ดุไดห้ ลายชนิด เช่น เหลก็ ไม้ อะลมู ิเนียมและพลาสตกิ คนไทยนิยมนาวสั ดดุ งั กลา่ วนามาประดิษฐ์
แตค่ วามเป็นจริงแลว้ โคมไฟสามารถผลิตจากวสั ดอุ ยา่ งอน่ื ได้ ไม่ว่าจะเป็น ลกู โป่ ง ไหมพรมหรือแมแ้ ต่วสั ดเุ หลอื ใช้
ตา่ งๆและเมือ่ กลา่ วถงึ ไหมพรมกบั ลูกโป่ งซ่ึงสามารถนามาประดิษฐเ์ ป็นโคมไฟได้ ทาให้เกิดแสงสว่างท่ีเล็ดลอด
ออกมาจากความห่างระหว่างไหมพรมทาให้เกิดความสวยงามในอีกรูปแบบหน่ึง คณะผจู้ ดั ทาจึงไดม้ ีความคิดทจ่ี ะ
นาเอาไหมพรมกบั ลกู โป่ งมาประยกุ ตใ์ ชด้ ว้ ยการใชว้ สั ดอุ ุปกรณ์ตา่ ง ๆ ท่ีเรียบงา่ ย หาไดท้ ว่ั ไปวสั ดุมคี วามสวยงาม
และแปลกใหม่ เพ่ือศกึ ษาเผยแพร่ความรู้ ความคดิ สร้างสรรคแ์ ละทกั ษะดงั กลา่ วสู่ผสู้ นใจต่อไป
วตั ถปุ ระสงคเ์ พ่อื ฝึกทกั ษะให้เกิดความคิดสรรค์ ความสามคั คใี นคณะนาของเหลอื ใชม้ าทใหเ้ กิดประโยชน์
สูงสุด และเพื่อฝึกการใชเ้ วลาวา่ งให้เกิดประโยชนแ์ ละสามารถนาไปใชง้ านในชีวิตจริงได้
การจดั ทาโครงงานน้ีจดั ทาข้นึ เพ่ือให้โคมไฟจากไหมพรมทปี่ ระดิษฐ์ข้นึ เป็นสิ่งทส่ี วยงามตามความตอ้ งการ
และแปลกใหม่

\

กิตตกิ รรมประกาศ

โครงงานฉบบั น้ีสาเร็จไดด้ ว้ ยความอนุเคราะหข์ อกราบขอบพระคณุ คือคณุ ครูพรทิพย์ ยศโยธินครูผสู้ อน
รายวิชาวิทยาศาสตร์ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี3ครูผสู้ อนท่ีไดใ้ หค้ วามรู้ คาแนะนาตรวจทาน และแกไ้ ขขอ้ บกพร่อง
ต่าง ๆทาใหร้ ายงานโครงงานวิชาวทิ ยาศาสตร์ฉบบั น้ีสมบูรณม์ ากย่งิ ข้ึน

สุดทา้ ยน้ีผจู้ ดั ทาหวงั เป็นอยา่ งย่ิงวา่ โครงงานเลม่ น้ีจะเป็นประโยชนแ์ ละนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวนั
ต่อผทู้ ่ศี ึกษาไม่มากกน็ อ้ ย

คณะผจู้ ดั ทา

สารบัญ

เร่ือง หน้า
บทคัดย่อ ก.
กติ ติกรรมประกาศ ข.
สารบญั ค.
สารบญั ตาราง ง.
สารบัญภาพ จ.
บทท่ี 1 บทนา
1
-ทีม่ าและความสาคญั 1
-ปัญหา 1
-สมมติฐาน 1
-วตั ถปุ ระสงค์ 1
-ขอบเขตการศกึ ษา 1
-ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ บั
บทที่ 2 เอกสารทีเ่ กย่ี วข้อง 2
-เอกสารท่ีเกี่ยวขอ้ ง
บทที่ 3 วิธกี ารดาเนินงาน 6
-วสั ดุและอุปกรณ์ 6
-ข้นั ตอนการประดิษฐ์
บทท่ี 4 ผลและการอภิปรายผล 7
-ผลการดาเนินงาน 8
-อภิปรายผล
บทท่ี 5 สรุปผลการดาเนนิ งาน 9
-สรุปผล 9
-ประโยชนท์ ่ไี ดร้ บั จากโครงงาน 9
-ขอเสนอแนะ 10
บรรณานุกรม 11
ภาคผนวก

สารบญั ตาราง หน้า
ตาราง 7
ตารางท่ี 1 ตารางแสดงผลการประเมนิ โคมไฟจากไหมพรม

สารบัญภาพ

ภาพ หน้า

ภาพท่ี 1 ภาพแสดงอุปกรณ์ 11
ภาพที่ 2 ภาพแสดงการทาฐานโคมไฟ 12
ภาพท่ี 3 ภาพแสดงการทาโคมไฟไหมพรม 12
ภาพที่ 4 ภาพแสดงการตอ่ สายไฟ 13
ภาพท่ี 5 ภาพแสดงโคมไฟท่ีเสร็จสมบูรณ์ 13
ภาพที่ 6 ภาพแสดงการกรอกแบบประเมิน 14
ภาพที่ 7 ภาพแสดงการกรอกแบบประเมนิ 14
ภาพที่ 8 ภาพแสดงการกรอกแบบประเมนิ 14

บทที่ 1

บทนา

ท่มี าและความสาคัญของโครงงาน
ปัจจุบนั คนนิยมตกแตง่ บา้ นดว้ ยเฟอร์นิเจอร์ต่าง ๆ มากมาย หรือแมก้ ระทง่ั โคมไฟท่ีช่วยให้แสงสวา่ งแต่จะให้

มีประโยชน์มากข้ึนจะตอ้ งสวยงาม เพือ่ จะใหไ้ ดท้ ้งั การตกแต่งบา้ นและการอานวยความสะดวกสบาย การผลิตโคม
ไฟสามารถใชว้ สั ดุไดห้ ลายชนิด เช่น เหล็ก ไม้ อะลมู เิ นียมและพลาสตกิ คนไทยนิยมนาวสั ดดุ งั กล่าวนามาประดิษฐ์
แต่ความเป็นจริงแลว้ โคมไฟสามารถผลิตจากวสั ดุอยา่ งอน่ื ได้ ไมว่ า่ จะเป็น ลกู โป่ ง ไหมพรมหรือแมแ้ ตว่ สั ดุเหลือใช้
ตา่ งๆ เมือ่ กล่าวถงึ ไหมพรมกบั ลูกโป่ งซ่ึงสามารถนามาประดิษฐ์เป็นโคมไฟได้ ทาใหเ้ กิดแสงสว่างทเ่ี ล็ดลอดออกมา
จากความห่างระหว่างไหมพรมทาใหเ้ กิดความสวยงามในอกี รูปแบบหน่ึง คณะผจู้ ดั ทาจึงไดม้ ีความคดิ ที่จะนาเอา
ไหมพรมกบั ลกู โป่ งมาประยกุ ตใ์ ชด้ ว้ ยการใชว้ สั ดอุ ุปกรณต์ ่าง ๆ ทเ่ี รียบงา่ ย หาไดท้ วั่ ไปวสั ดุมคี วามสวยงามและ
แปลกใหม่ เพ่อื ศึกษาเผยแพร่ความรู้ ความคิดสร้างสรรคแ์ ละทกั ษะดงั กลา่ วสู่ผสู้ นใจตอ่ ไป
ปัญหา

1.โคมไฟในทอ้ งตลาดมีความสวยงามนอ้ ยและไมม่ ีความแปลกใหม่ไม่พ่งึ พอตอ่ ความตอ้ งการ
สมมตฐิ าน

โคมไฟจากไหมพรมมปี ระสิทธิภาพการใชง้ านคิดเป็นร้อยละ75.00
วัตถปุ ระสงค์

1.เพื่อฝึกทกั ษะใหเ้ กิดความคดิ สรรค์ ความสามคั คใี นคณะ
2.เพ่ือนาของเหลอื ใชม้ าทให้เกิดประโยชน์สูงสุด
3.เพือ่ ฝึกการใชเ้ วลาวา่ งให้เกิดประโยชนแ์ ละสามารถนาไปใชง้ านในชีวติ จริงได้
ขอบเขตการศึกษาค้าคว้า
ระยะเวลาในการศึกษาคน้ ควา้ 24 ตุลาคม2562 ถงึ 9มกราคม2563
ผลท่คี าดว่าจะได้รับ
-ไดร้ ับความรู้เกี่ยวกบั การนาวสั ดุเหลอื ใชม้ าประดิษฐ์เป็นสิ่งของตกแต่งและใชง้ านไดจ้ ริง
-เกิดความสามคั คีในการทางานร่วมกนั
-ช่วยใหม้ กี ารใช่เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
-มคี วามคดิ สร้างสรรค์ในการประดิษฐ์สิ่งของเคร่ืองใชอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

บทท่ี 2

เอกสารท่เี กยี่ วข้อง

ในการจดั ทาโครงงาน และศึกษาเอกสารงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ียวขอ้ งเก่ียวกบั การทาโคมไฟจากเส้นดา้ ยน้ี
ผจู้ ดั ทาโครงงานไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ ที่เกี่ยวขอ้ งกบั วิธีการทาโคมไฟ เส้นดา้ ยที่ใช้ในการทา โดยลาดบั ทเี่ ป็น
เน้ือหาสาระโดยสาคญั ดงั ตอ่ ไปน้ี
ความหมายของโคมไฟ
โคมไฟ หมายถึง เครื่องครอบตะเกียงเพื่อบงั ลมหรือบงั คบั แสงไฟ ตะเกียงเครื่องตามไฟ หรือเคร่ืองให้แสง
สว่างซ่ึงมเี ครื่องบงั ลมหรือเคร่ืองบงั คบั แสงไฟเช่นน้นั ใชต้ ้งั ห้ิว หรือแขวน เช่น โคมไฟฟ้า ลกั ษณะนามว่า โคม ดวง
ใบ ลูก เรียกชามอยา่ งเก่าขนาดใหญ่ รูปคลา้ ยโคม วา่ ชามโคม ลกั ษณะนามว่า ใบ ลกู

ประเภทของด้ายทใี่ ช้ในการทา
ดา้ ยเยบ็ ผา้ เป็นดา้ ยทที่ าดว้ ยใย เรียกว่า ใยฝ้าย
ดา้ ยไหมพรม เสน้ ไหมจะมีความหนาและนุ่มเหมาะสาหรับนาไปถกั เป็นตุ๊กตา เส้ือกนั หนาว ผา้ พนั คอ

งานวิจัยทเี่ กย่ี วข้อง
งานวิจยั เรื่องโคมไฟกะลามะพร้าว

เนื่องจากในปัจจุบนั วสั ดทุ ี่เหลือใชจ้ ากการทากิจกรรมต่างๆของมนุษยม์ ากข้นึ อาจมีวสั ดบุ างประเภททมี่ ี
มากในทอ้ งถน่ิ อาจนามาเเปรรูปให้เกิดความสวยงามและใชส้ อยไดส้ ามารถนามาประดิษฐเ์ พอื่ จาหน่ายหารายไดเ้ สริม
ก็ได้ มะพร้าวเป็นทีห่ าง่ายในทอ้ งถนิ่ ตามบา้ นเรือนเเละอยกู่ บั ชาวไทยมานานนบั ปี จึงคิดวา่ มะพร้าวในเขต อาเภอ
หว้ ยแถลงเป็นผลิตภณั ฑท์ หี่ างา่ ย

กลมุ่ ของขา้ พเจา้ จึงเล็งเห็นประโยชน์จากกะลามะพร้าวของมะพร้าวน้นั น้นั ก็คือ การนามาประดิษฐเ์ ป็นโคม
ไฟ ซ่ึงในปัจจุบนั น้นั มกี ารออกเเบบโคมไฟในหลากหลายรูปเเบบ เราจึงสร้างสรรค์รูปเเบบของโคมไฟในรุปแบบ
ตา่ งๆ ได้ อาจสามารถนามาประดบั ตกเเตง่ บา้ นเรือนหรือตามสถานทตี่ า่ งๆ เพื่อทาให้เกิดความสวยงามเเก่ผพู้ บเห็น
อีกท้งั เป็นผลติ ภณั ฑท์ ี่เพมิ่ รายไดใ้ นระหว่างเรียนเเกน่ กั เรียนดว้ ย
ความเป็ นมาของโคมไฟ

นบั แตส่ มยั โบราณ ยามค่าคนื ไม่มีแสงสว่างจากไฟฟ้า มีเพยี งแต่แสงดาว แสงจนั ทร์ และคบเพลงิ ซ่ึงจากคบ
เพลงิ ไฟก็ไดน้ าไปสู่โคมไฟ เพอ่ื ใชเ้ ป็นแสงสวา่ งยามค่าคืน โคมไฟถูกสร้างข้ึนรบั อิทธิพลมาจากประเทศจีนซ่ึง
ปัจจบุ นั โคมไฟทไี่ ดร้ บั ความนิยม อนั ดบั ตน้ ๆ เลยกค็ อื โคมไฟไมส้ กั ซ่ึงมีความสวยงาม คงทน แข็งแรง แต่มคี วาม
คลาสสิกในตวั ของโคมเอง

3

ลกั ษณะของดวงโคม
1. ดวงโคมไฟเพดานเป็นดวงโคมไฟทีต่ ดิ เหนือศีรษะ บริเวณฝ้าเพดาน หรือห้องลงมาจากเพดาน เช่น โคม

ไฟห้อยเพดานหรือไฟช่อระยา้ ท่ีมรี ูปแบบต่าง ๆ ใหเ้ ลือกมากมาย ท้งั ที่ทาจากแกว้ พลาสตกิ โลหะ หรือเซรามคิ มที ้งั
แบบโคมไฟธรรมดา ราคาไมแ่ พงไปจนถึงโคมไหแชนเดอเลียร์ ทีป่ ระกอบไปดว้ ยหลอดไฟเลก็ ๆ มากมาย สวยงาม
ให้แสงสว่างและความร้อนมาก กินไฟมาก ราคาแพง ไฟติดเพดาน มีท้งั แบบดวงโคมทยี่ ึดตดิ กบั ฝ้าเพดาน ประกอบ
ไปดว้ ยทคี่ รอบ หรือโป๊ ะทาจากแกว้ หรือพลาสตกิ คลมุ หลอดไฟเพ่ือช่วยในการกระจายแสง เช่น โคมไฟโป๊ ะกลม
สาหรบั หลอดไฟฟลอู อเรสเซนต์ หรือโคมไฟซาลาเปาสาหรับหลอดไส้ เป็นตน้ และแบบทตี่ ิดต้งั โดยเจาะฝ้า
เพดานฝังซ่อนดวงโคมไวภ้ ายใน ท่ีเราเรียกกนั วา่ ไฟดาวนไ์ ลท์ ซ่ึงใหแ้ สงสว่างไดด้ ี สามารถเลือกใชช้ นิดของ
หลอดไฟ ลกั ษณะของแสงทส่ี ่องลงมา และทศิ ทางการส่องของสาแสงไดห้ ลายแบบเป็นไดท้ ้งั ไฟพ้นื ฐานและไฟ
สร้างบรรยากาศ

2. ดวงโคมไฟผนงั เป็นชนิดทีใ่ ชย้ ึดตดิ กบั ผนงั มีให้เลือกหลากหลายรูปแบบเช่นกนั การกระจายแสงส่วน
ใหญ่ข้ึนอยกู่ บั ลกั ษณะของโป๊ ะ มีท้งั แบบให้แสงส่องออกมาตรง ๆ หรือแบบสะทอ้ นเขา้ ผนงั เพ่อื สร้างบรรยากาศ
ใหก้ บั หอ้ ง เป็นตน้

3. ดวงโคมไฟต้งั พ้ืน ต้งั โตะ๊ เป็นดวงโคมไฟแบบลอยตวั ทช่ี ่วยในการให้แสงสว่างตามจุดต่าง ๆ เป็นพิเศษ
เช่น ในบริเวณท่นี งั่ อ่านหนงั สือโต๊ะทางาน หรือโตะ๊ หัวเตียง และยงั ใชเ้ ป็นของประกอบการตกแตง่ ในหอ้ งชุด
ร่วมกบั ชุดเฟอร์นิเจอร์อ่นื ๆ อีกดว้ ย เช่น ชุดรบั แขก ชุดทานอาหาร เป็นตน้ มีรูปแบบและวสั ดใุ หเ้ ลือกมากมายหลาย
หลายราคา

4. ลกั ษณโ์ คมไฟจากกะลามะพร้าวมีลกั ษณ์เดียวกบั โคมไฟต้งั พ้ืน ต้งั โตะ๊ แต่สามารถออกแบบไดห้ ลายแบบ
สีสนั สามารถทาไดหลายสีแต่ท่ีนิยมคือสีเน้ือไม้
ไหมพรม
ไหมพรม หมายถึง ไหมทามาจากวสั ดุ 2 ประเภท

1. ไหมธรรมชาติ
ทาจากพชื ไดแ้ ก่ คตั ตอน ลินิน ป่ าน
ทามาจากสัตว์ ไดแ้ ก่ วลู โมแฮร์อลั พาคา

2. ไหมสงั เคราะห์
ไหมสงั เคราะห์ เช่น ไนลอน อคริ ิก เรยอน โพลเี อสเตอร์ เมทาลิคไฟเบอร์ และโพลีโพรไพลีน การทราบประเภทของ
ไหมมีความสาคญั เน่ืองจากวิธีการดแู ลรกั ษาไหมแต่ละประเภทมีความแตกตา่ งกนั และเหมาะกบั ช้ินงานที่ตา่ งกนั ไป

4

ไหมธรรมชาติ

1. ทาจากพชื ไดแ้ ก่
- คตั ตอน เหมาะกบั อากาศร้อนอยา่ งบา้ นเรา มกั ใชก้ บั งานทต่ี อ้ งซกั ลา้ งบ่อยๆ เช่น ชุดเดก็ ผา้ เชด็ จาน เป็นตน้
ไหมคตั ตอนคณุ ภาพดีและมรี าคาแพงท่ขี ้ึนชื่อ
- ลินิน เป็นเส้นไหมทีท่ ามาจากตน้ ลนิ ิน ลกั ษณะมีความทนทานง่ายต่อการดแู ลรกั ษาและที่สาคญั เหมาะกบั อากาศ
ร้อน ขอ้ เสียคอื ยบั ง่าย
- ป่ านมกั ใชก้ บั ส่วนงานตกแตง่ หรือพวกชุดหลวมๆ
- ไผ่ เป็นไหมทเี่ พงิ่ คดิ คน้ ผลติ ไดไ้ มน่ าน แตเ่ ร่ิมเป็นทน่ี ิยมแลว้ เน่ืองจากใชส้ วมใส่ไดด้ ีและยงั มีคณุ สมบตั ไิ ม่
หมกั หมมเช้ือแบคทีเรียดว้ ย ไหมไผม่ ขี อ้ เสียในเรื่องไม่ทนน้า ชอบแตกตวั ดแู ลรักษาค่อนขา้ งยากเพราะตอ้ งซกั มอื
จึงไมเ่ หมาะกบั งานท่ีตอ้ งซกั บอ่ ยๆ

2. ทาจากสตั ว์ ไดแ้ ก่
- วูลเป็นเสน้ ไหมที่ทามาจากขนสัตว์ เช่น ขนแกะ เป็นตน้ ไหมวูลมคี วามทนทาน ยืดหยนุ่ และไมย่ บั ง่าย ไหมวลู จะ
มีลกั ษณะแตกต่างกนั ไปตามประเภทของขนสัตวท์ ่นี ามาใชท้ าไหม แตม่ ขี อ้ ควรระวงั คอื ไหมวูลจะไมเ่ หมาะกบั คน
แพง้ ่าย
- โมแฮร์ทามาจากขนแพะแองโกรา มลี กั ษณะเบาและอนุ่ โมแฮร์มกั ผสมกบั วูลหรือไนลอนเพอื่ ลดความคนั ทเ่ี กิดจาก
ลกั ษณะขน เช่นเดียวกบั วลู โมแฮร์
- อลั พาคาทามาจากขนสัตวต์ ระกูลลามะเป็นขนทม่ี คี วามออ่ นน่มุ อนุ่ มาก และเบา ราคาถูกกวา่ แคชเมียร์ แตก่ ย็ งั แพง
ใชก้ บั งานถกั เช่น หมวก ผา้ พนั คอ
- แองโกราทา มาจากขนกระต่ายแองโกรา นุ่มนา่ รัก แตม่ ขี อ้ เสียคอื แตกง่าย ราคากแ็ พงจึงมกั ผสมกบั ไหมอ่นื ๆและก็
เพอื่ ทาให้แข็งแรงทนทานข้นึ ดว้ ย มกั ใชง้ านหมวกและ sweater
- แคชเมียร์ทามาจากขนแพะ แคชเมยี ร์ มีลกั ษณะนุ่มท่ีสุด หรูหราท่ีสุด และราคาแพงที่สุด ยงั มขี อ้ ดีทไ่ี ม่ยบั งา่ ยอีก
ดว้ ย
- ไหมทามาจากตวั ไหม มีลกั ษณะสวย ทนแตไ่ มค่ อ่ ยคนื ตวั เช่น ถา้ เป็นเส้ือผา้ ที่ทาจากไหมเมอ่ื ใส่แลว้ ยืดตามตวั ไม่
หดกลบั ราคากแ็ พง และยงั ดแู ลรักษายากอีกดว้ ย
ไหมสังเคราะห์
- ไนลอนเป็นไหมสงั เคราะหท์ ่แี ขง็ แรงทนทานท่สี ุด มกั นาไปผสมกบั ไหมประเภทอ่ืนๆ ขอ้ เสียของไนลอนคอื ไม่
คอ่ ยระบายอากาศ แต่ทนน้าไดด้ ี
- อคริ ิกเป็นไหมมนี ้าหนกั เบาและแขง็ แรง ราคาถกู เป็นทนี่ ิยมในงานนิตตงิ้ มกั นาไปผสมกบั วลู นิยมใชก้ บั งานหมวก
ถงุ มอื ผา้ ห่ม
- เรยอนเป็นไหมทที่ าจากไม้ มลี กั ษณะนมุ่ นิ่ม และเป็นประกายสวยงาม เป็นทน่ี ิยมในงานนิตตง้ิ
- โพลีเอสเตอร์มีลกั ษณะทนทาน ไม่ยบั งา่ ย มกั นาไปใชผ้ สมกบั ไหมอืน่ ๆ
- เมทาลิคไฟเบอร์เป็นไหมทมี่ ีโลหะเป็นส่วนประกอบจึงทาใหม้ ีความเงางาม และเป็นประกาย ไหมเมทาลิกไฟเบอร์
มกั ตอ้ งผสมกบั ไหมอนื่ ๆเพอ่ื เพิ่มความแข็งแรงทนทาน เหมาะกบั งานสวยงาม เช่น ชุดกลางคืน เป็นตน้

5

- โพลโี พรไพลนี มีน้าหนกั เบาและราคาถกู ทนทาน และมกั ใชผ้ สมกบั ไหมโนเวลต้ี
-โนเวลต้ี เป็น ไหมผสมไมว่ ่าจะเป็นผสมจากไหมธรรมชาติ หรือไหมสังเคราะห์ แต่เป็นลกั ษณะผสมแบบพนั ๆเป็น
เกลียวไป หรืออาจมีการลกู เล่นทีต่ วั เสน้ ไหม
โคมไฟจากไหมพรม

โคมไฟจากไหมพรม เป็นศลิ ปะการพนั กนั ทีม่ ลี วดลายสวยงาม การออกแบบสีสนั ของเสน้ พลาสตกิ ลวดลาย
ตา่ ง ๆตามความตอ้ งการของลูกคา้ มคี วามละเอยี ดประณีต เรียบร้อยไดม้ าตรฐาน คงทน สมประโยชน์ ราคาไมแ่ พง มี
การพฒั นารูปแบบทนั สมยั อยา่ งต่อเน่ืองและเป็นสากลแต่กระบวนการผลติ ยงั ใชแ้ บบดง่ั เดิม ทาให้มองเห็นคณุ ค่าและ
แสดงถงึ เอกลกั ษณ์ความเป็นไทยซ่ึงเป็นความภาคภูมใิ จของผจู้ ดั ทา เป็นผลงานจากการสร้างสรรคช์ ิ้นงานใหเ้ ขา้ กนั
ไดอ้ ยา่ งลงตวั และเหมาะสมการส่งเสริมและการอนุรักษก์ ารใชไ้ หมพรม โดยใหม้ กี ารผลิตอยา่ งตอ่ เนื่องมีการพฒั นา
รูปแบบตลอดเวลา จึงมีการถ่ายทอดใหก้ บั ผูท้ ี่ตอ้ งการศึกษาเพื่อเป็นพ้นื ฐานในการประกอบอาชีพให้กบั แมบ่ า้ น
นกั เรียน นกั ศกึ ษา ผทู้ สี่ นใจทว่ั ไปเพอื่ เป็นการใชไ้ หมพรมใหเ้ ป็นระโยชน์อ่นื ๆไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพปัจจุบนั การใชไ้ หม
พรมทาเป็นโคมไฟเปรียบเสมอื นเป็นอาชีพเสริมทีท่ าให้เกิดรายไดด้ ีทาให้คนมีรายไดท้ ม่ี น่ั คง

บทที่ 3

วธิ กี ารดาเนนิ งาน

วสั ดุและอปุ กรณ์
-ไหมพรม
-กาวลาเท็กซ์
-หลอดและสายไฟ
-บดั กรี
- เลื่อย
-ไมล้ าไย
-แผน่ ไม้
-ลูกโป่ ง
ข้นั ตอนการประดิษฐ์

1.เตรียมอุปกรณ์
2.นาไมม้ าตดั ตามขนาดท่เี ราตอ้ งการกบั กิ่งไม้
3.นาไมท้ ตี่ ดั มาหาจดุ ทีเ่ ราจะประกอบกบั ก่ิงไม้
4.นามาประกอบกบั โดยใชต้ ะปูตอกเขา้ ไปใหย้ ดึ ตดิ กนั
5.พอเสร็จแลว้ นาแล็กเกอร์มาเคลือบเพ่ือให้เงางาม
6.ต่อจากน้นั รอแลก็ เกอร์แหง้
7.นาลูกโป่ งมาเป่ าให้พอดีแลว้ กน็ าหนงั ยางมามดั ต่อดว้ ยการทากาวรอบๆลกู โป่ งใหพ้ อเหมาะแลว้ รอให้กาว
มนั จบั ตวั กบั ไหมพรมประมาณ 1วนั
8.พอกาวแหง้ ดีแลว้ กป็ ลอ่ ยหนงั ยางทเี่ รามดั ไวอ้ อก
9.ตอ่ จากน้นั นาฐานโคมไฟท่เี คลอื บเงาแลว้ นาสายไฟมาติดกบั ฐานโคมไฟแลว้ ใชค้ อ้ นตอกเขา้ ไปยึดกบั
สายไฟ
10.พอเสร็จแลว้ นาโคมไฟจากไหมพรมไปติดกบั ฐานโคมไฟ
11.ทดลองใชโ้ คมไฟไหมพรม

บทท่ี 4

ผลและการอภิปรายผล

ตารางท่ี1ตารางแสดงผลการประเมินโคมไฟจากไหมพรม

ที่ รายการ 5 ระดบั ความพึงพอใจ 1 ร้อยละ
432
1 ความสวยงามของโคมไฟ
2 ความคงทน แข็งแรง 2 13 5 0 0 65.00
3 วสั ดุทใ่ี ช้ในการประดิษฐ์
4 สามารถนามาใชใ้ นชีวิตประจาวนั ไดจ้ ริง 0 8 12 0 0 60.00
5 ความสะดวกสบายในการใชง้ าน
6 ความปลอดภยั ในการใชง้ าน 4 14 2 0 0 70.00
7 ความน่าสนใจในช้ินงาน
8 ความสะดวกในการเคลื่อนยา้ ย 3 13 4 0 0 65.00
9 ความคิดสร้างสรรคใ์ นการสร้างชิ้นงาน 7 13 0 0 0 65.00
10 ประสิทธิภาพการใชง้ าน 5 13 2 0 0 65.00
2 6 12 0 0 60.00

5 13 2 0 0 65.00
3 9 8 0 0 45.00
5 15 0 0 0 75.00

ระดบั คะแนนร้อยละ
ช่วง 81.00 – 100 อยใู่ นระดบั 5 หมายถึง มากทสี่ ุด
ช่วง 71.00 - 80.00 อย่ใู นระดบั 4 หมายถึง มาก
ช่วง 61.00 - 70.00 อยูใ่ นระดบั 3 หมายถงึ ปานกลาง
ช่วง 51.00 - 60.00 อย่ใู นระดบั 2 หมายถึง นอ้ ย
ช่วง 10.00 - 50.00 อยู่ในระดบั 1 หมายถงึ นอ้ ยท่สี ุด

8

อภปิ รายผลการประเมิน
1. ความสวยงามของโคมไฟ มีความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั 3 หมายถงึ มากทีส่ ุดคดิ เป็นร้อยละ 65.00
2.ความคงทน แขง็ แรง มีความพึงพอใจอยใู่ นระดบั 2 หมายถึง มากท่ีสุดคดิ เป็นร้อยละ 60.00
3.วสั ดทุ ี่ใชใ้ นการประดิษฐ์ มีความพึงพอใจอยใู่ นระดบั 3 หมายถึง มากท่ีสุดคดิ เป็นร้อยละ 70.00
4.สามารถนามาใชใ้ นชีวิตประจาวนั ไดจ้ ริง มีความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั 3 หมายถงึ มากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 65.00
5.ความสะดวกสบายในการใช้งาน มีความพึงพอใจอยใู่ นระดบั 3 หมายถงึ มากที่สุดคดิ เป็นร้อยละ 65.00
6.ความปลอดภยั ในการใชง้ าน มคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดบั 3 หมายถึง มากทีส่ ุดคิดเป็นร้อยละ 65.00
7.ความน่าสนใจในชิ้นงาน มคี วามพงึ พอใจอยใู่ นระดบั 2 หมายถงึ มากท่สี ุดคดิ เป็นร้อยละ 60.00
8.ความสะดวกในการเคลื่อนยา้ ย มคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดบั 3 หมายถงึ มากทส่ี ุดคิดเป็นร้อยละ 65.00
9.ความคดิ สร้างสรรคใ์ นการสร้างช้ินงาน มคี วามพงึ พอใจอยใู่ นระดบั 1 หมายถงึ มากทส่ี ุดคิดเป็นร้อยละ45.00
10.ประสิทธิภาพการใชง้ าน มีความพึงพอใจอยใู่ นระดบั 1 หมายถึง มากทส่ี ุดคดิ เป็นร้อยละ

บทท่ี 5

สรุปผลการดาเนนิ การ

สรุปผล
จากผลการศึกษา ผลปรากฏว่าเป็นไปตามสมตฐิ านทตี่ ้งั ไว้ คือโคมไฟจากไหมพรมมปี ระสิทธิภาพการใช้

งานคดิ เป็นร้อยละ75.00
ประโยชน์ท่ีได้รับจากโครงงาน

-ฝึกทกั ษะการทางานเป็นกล่มุ
-ฝึกทกั ษะความคดิ สร้างสรรค์ โดยไดท้ าการรวบรวมขอ้ มูลจากแหล่งเรียนรู้ตา่ งๆและการทดลองใชจ้ ริง
-สวยงาม ดึงดดู ใจผใู้ ช้
ข้อเสนอแนะ
-ควรใชเ้ วลาในการรอกาวนานกวา่ น้ี

บรรณานุกรม
การทาโคมไฟจากดา้ ย[ออนไลน]์ แหล่งท่ีมา http://lamp-janya.blogspot.com/

สืบคน้ เมือ่ วนั ที่ 7 มกราคม 2563
ตวั อยา่ งโครงงานโคมไฟจากดา้ ย [ออนไลน์] แหล่งทีม่ าhttp://orawanthunyawat.blogspot.com

สืบคน้ เม่อื วนั ที่ 7 มกราคม 2563
ความหมายโคมไฟ[ออนไลน]์ แหล่งทีม่ าhttps://sites.google.com/site/khomfie/

สืบคน้ เมื่อวนั ที่ 7 มกราคม 2563
โคมไฟกะลามะพร้าว[ออนไลน์] แหล่งทมี่ าhttp://sbp2014.blogspot.com/2014/02/blog-post.html

สืบคน้ เมอ่ื วนั ที่ 7 มกราคม 2563
ความเป็นมาและลกั ษณะโคมไฟ[ออนไลน์] แหลง่ ทม่ี าhttps://sites.google.com/site/khomfie/

สืบคน้ เม่ือวนั ที่ 12 มกราคม 2563

ภาคผนวก

11
ภาพที่ 1 ภาพแสดงอปุ กรณ์

12
2

ภาพที่ 2 ภาพแสดงการทาฐานโคมไฟ
ภาพท่ี 3 ภาพแสดงการทาโคมไฟไหมพรม

13

ภาพท่ี 4 ภาพแสดงการต่อสายไฟ

ภาพที่ 5 ภาพแสดงโคมไฟท่ีเสร็จสมบูรณ์

14

ภาพท่ี 6 ภาพแสดงการกรอกแบบประเมนิ
ภาพที่ 7 ภาพแสดงการกรอกแบบประเมนิ
ภาพที่ 8 ภาพแสดงการกรอกแบบประเมิน

แบบทดสอบประเมนิ

เรื่อง โคมไฟจากไหมพรม

คาช้ีแจง แบบสอบถามโปรดเตมิ และกรอกขอ้ ความใหส้ มบูรณ์

เพศ ( ) ชาย ( ) หญงิ

สถานะ ( ) นกั เรียน ( ) ครู ( )ผปู้ กครอง ( ) อื่นๆ..........

ระดบั ความพงึ พอใจ

ระดบั 5 = มากที่สุด ระดบั 4 = มาก ระดบั 3 = ปานกลาง ระดบั 2 = นอ้ ย ระดบั 1 = นอ้ ยท่สี ุด

ขอ้ รายการ ระดบั ความพงึ พอใจ 1
5432
1 ความประณีต ความสวยงามของโคมไฟ
2 ความคงทน แขง็ แรง
3 วสั ดทุ ี่ใช้ในการประดิษฐ์
4 สามารถนามาใชใ้ นชีวิตประจาวนั ไดจ้ ริง
5 ความสะดวกสบายในการใชง้ าน
6 ความปลอดภยั ในการใชง้ าน
7 ความน่าสนใจในชิ้นงาน
8 ความสะดวกในการเคลอ่ื นยา้ ย
9 ความคิดสร้างสรรคใ์ นการสร้างช้ินงาน
10 ประสิทธิภาพการใช้งาน

ขอ้ เสนอแนะ
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................