กรดจากผลไม้ขจัดคราบบนเหรียญ

ทที่1

บทนำ

   ที่มาและความสำคัญของโครงงาน

          ประชาชนส่วนใหญ่นิยมดื่มน้ำผลไม้เพื่อคลายร้อยและกระหาย  บางครั้งก็นำนำผลไม้มาแปรรูปซึ่งเป็นการถนอมอาหารอีกรูปแบบหนึ่งหรือนำมารับประทานแทนของว่างก็ได้  กลุ่มของดิฉันจึงได้นำข้อมุลเหล่านี้มาคุยและปรึกษากันกับสมาชิกภายในกลุ่มว่าเราสามารถนำผลไม้บางชนิดที่มีฤทธิ์ความเป็นกรดมาขจัดคราบสกปรกบนเหรียญได้หรือไม่และถ้าต้องจัดระดับค่าความเป็นกรดเมื่อนำน้ำผลไม้มาผสมกับนั้นจะสามารถเรียงลำดับว่าอับว่าอันไหนมีค่าความเป็นกรดสูงสุดจากข้อสงสัยต่างๆเหล่านี้กลุ่มของดิฉันจึงได้คิดค้นจัดทำโครงงานนี้ขึ้นมา

       วัตถุประสงค์

           1.  เพื่อศึกษาหาระดับค่าความเป็นกรดของน้ำผลไม้เมื่อนำมาผสมกัน

         2.  เพื่อศึกษาว่ากรดจากน้ำผลไม้ที่ผสมแล้วเติมเกลือละลายน้ำลงไปจะมีความสามรถใน ในการขจัดคราบสกปรกหรือไม่

         3.  เพื่อศึกษาหาความสามรในการกัดกร่อนของน้ำผลไม้เมื่อนำเกลือละลายน้ำมาผสม

        ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

             1.  ได้ทราบถึงระดับกรดเมื่อทำการทดสอบจากน้ำผลไม้เมื่อนำมาผสมกับและ

                       เรียงลำดับค่าจากมากไปหาน้อย

             2.  ได้ทราบถึงความสามารถในการขจัดคราบสกปรกของน้ำผลไม้ที่ผสมกันแล้วเติมเกลือละลายน้ำลง

                       ไปว่าสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการทำความสะอาดได้จริง

             3.   ได้ทราบถึงความสามรถในการการกัดกร่อนของน้ำผลไม้ที่ผสมกับแล้วนำเกลือละลายน้ำมาผสมว่า มีฤทธิ์กัดกร่อนจนสามารถขจัดสกปรกได้

        ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า

         1. ศึกษาหาระดับค่าความเป็นกรด ของน้ำผลไม้ที่นำมาผสมกัน

        2. ศึกษาหาความสามารถในการกัดกร่อนของน้ำผลไม้ที่ผสมกัน แล้วเติมเกลือ

           ละลายน้ำลงไปและความสามารถในการขจัดคราบสกปรกบนเหรียญ

         สมมุติฐานของการศึกษา

              ตอนที่1 วัตถุดิบที่นำมาทดลอง มื่อนำมาผสมกันจะทำให้ระดับค่าความเป็นกรดเปลี่ยนไป

              ตอนที่2 ระดับค่าความเป็นกรด เมื่อนำเกลือละลายน้ำมาผสมลงไปจะทำให้ความสามารถในการกัดกร่อนและขจัดคราบสกปรกได้ดียิ่งขึ้น

        ตัวแปร

        ตัวแปรต้น

             ตอนที่1 น้ำมะนาว น้ำสับปะรด น้ำส้ม

         ตอนที่2 น้ำมะนาว น้ำสับปะรด น้ำส้ม เกลือละลายน้ำ

        ตัวแปรตาม

             ระดับค่า ph ที่วัดได้จากการทดลอง

        ตัวแปรควบคุม

             ตอนที่1 ปริมาณน้ำมะนาว ปริมาณน้ำสับปะรด ปริมาณน้ำส้ม

             ตอนที่2 ปริมาณน้ำมะนาว ปริมาณน้ำสับปะรด ปริมาณน้ำส้ม ปริมาณเกลือละลายน้ำ

กรดจากน้ำผลไม้

กรดจากผลไม้ขจัดคราบบนเหรียญ

ที่มาและความสำคัญของโครงงาน

ประชาชนส่วนใหญ่นิยมดื่มน้ำผลไม้เพื่อคลายร้อยและกระหาย  บางครั้งก็นำนำผลไม้มาแปรรูปซึ่งเป็นการถนอมอาหารอีกรูปแบบหนึ่งหรือนำมารับประทานแทนของว่างก็ได้  กลุ่มของดิฉันจึงได้นำข้อมุลเหล่านี้มาคุยและปรึกษากันกับสมาชิกภายในกลุ่มว่าเราสามารถนำผลไม้บางชนิดที่มีฤทธิ์ความเป็นกรดมาขจัดคราบสกปรกบนเหรียญได้หรือไม่และถ้าต้องจัดระดับค่าความเป็นกรดเมื่อนำน้ำผลไม้มาผสมกับนั้นจะสามารถเรียงลำดับว่าอับว่าอันไหนมีค่าความเป็นกรดสูงสุดจากข้อสงสัยต่างๆเหล่านี้กลุ่มของดิฉันจึงได้คิดค้นจัดทำโครงงานนี้ขึ้นมา

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

ขั้นตอนการโครงงาน

1.  ขั้นตอนการเตรียมวัสดุ

                    

1.1  นำมะนาว  สับปะรดและส้มมาคั้นให้ได้น้ำและกรองเอาตะกอนทิ้ง
                    1.2   นำเกลือมาละลายน้ำละอาดทิ้งไว้ประมาณ  5  นาที
ขั้นตอนการทดลอง
                ตอนที่  1 ศึกษาระดับค่าความเป็นกรดของน้ำผลไม้เมื่อนำมาผสมและเรียงลำดับจากค่า
                              มากไปหาค่าน้อย
                              1.1  นำมะนาว  ส้ม  สับปะรด  มาคั้นให้ได้น้ำ
                              1.2 เมื่อได้น้ำผลไม้ทั้ง 3 ชนิด แล้วให้นำมาผสมกันตามสัดส่วนดังนี้
                                    1.2.1 นำน้ำสับปะรดไปผสมกับน้ำมะนาว ในปริมาณ 1 ช้อนโต๊ะเท่ากัน
                                    1.2.2 นำน้ำส้มไปผสมกับน้ำมะนาว ในปริมาณ 1 ช้อนโต๊ะเท่ากัน
                                    1.2.3 นำน้ำส้มไปผสมกับน้ำสับปะรด ในปริมาณ 1 ช้อนโต๊ะเท่ากัน
                         1.3 เมื่อนำไปผสมตามสัดส่วนแล้ว คนให้เข้ากันแล้วทดสอบหาระดับค่าความเป็นกรดด้วยกระดาษลิตมัส
                        1.4 บันทึกผลการทดลองที่ได้ โดยการเรียงลำดับระดับค่าความเป็นกรด จากค่ามากไปหาค่าน้อย

                ตอนที่ 2 ศึกษาหาความสามารถในการกัดกร่อนและขจัดคราบสกปรกบนเหรียญ เมื่อนำเกลือละลายน้ำผสมลงไป                                            
                       2.1 ให้นำเกลือละลายน้ำที่ได้ไปผสมกับน้ำผลไม้ในตอนที่1 ในปริมาณ 1 ช้อนโต๊ะ
                      2.2 คนให้เข้ากัน แล้วนำเหรียญที่มีคราบสกปรกใส่ลงไปในน้ำผลไม้ที่ผสมเกลือละลายน้ำไว้
                      2.3 ทิ้งไว้ประมาณ 30 นาที แล้วสังเกตความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
                     2.4 นำเหรียญออกมาล้างน้ำสะอาด เช็ดให้แห้งนำมาเปรียบเทียบกัน แล้วบันทึกผลการ ทดลองที่เกิดขึ้น