โครง งาน สิ่ง ประดิษฐ์ เครื่อง กดน้ำ

โครง งาน สิ่ง ประดิษฐ์ เครื่อง กดน้ำ

ธรรมชาติสิ่งของทั่วไปที่เราเห็นหรือว่าใช้งานอยู่นี้ประโยชน์หลักของสิ่งของเหล่านั้นก็จะขึ้นอยู่กับประเภทของการใช้งานว่ามันเป็นสิ่งที่ของที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่ออะไร เช่น ทีวีก็มีไว้สำหรับการดูสิ่งต่างๆ, เครื่องกรองน้ำ เอาไว้สำหรับกรองน้ำดื่มน้ำใช้ เป็นต้น ซึ่งเมื่อพูดถึงการออกแบบหรือการตกแต่งสิ่งของที่ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อความสวยงามเป็นหลักก็มักจะถูกออกแบบมาเพื่อเน้นในเรื่องของการใช้งานเท่านั้น สำหรับใครที่ต้องการทำให้สิ่งของเหล่านี้สวยงามจึงจำเป็นต้องมีไอเดียหรือความคิดที่จะทำมันขึ้นมาเองเพื่อให้รู้สึกว่ามีความน่าใช้งานยิ่งกว่าเดิม

จริงๆ แล้วการตกแต่งตู้กดน้ำด้วยการใช้กล่องกระดาษมันจะมีลักษณะเหมือนการทำตู้กดน้ำแบบง่ายๆ ที่เราเห็นกันตามห้างสรรพสินค้า แต่เราอาจเอาไว้ใช้ภายในบ้านในงานปาร์ตี้เล็กๆ เพื่อให้เกิดความสนุกสนานได้อีกด้วย ซึ่งวิธีการทำก็ไม่ได้มีอะไรยากอย่างที่คิดเลย

อุปกรณ์สำหรับการทำตู้กดน้ำกล่องกระดาษ

  1. กล่องกระดาษ
  2. กาวร้อน
  3. น้ำขวดประมาณ 25 ลิตร 3 ประเภทน้ำ
  4. มอเตอร์ขนาดเล็ก
  5. สวิตช์เปิดปิดธรรมดาที่มาพร้อมกับสายไฟ
  6. อุปกรณ์เจาะรูกล่องกระดาษ
  7. หลอดขนาดยาว

วิธีการทำตู้กดน้ำด้วยกล่องกระดาษ

  1. เริ่มต้นเราต้องทำการต่อมอเตอร์เข้ากับตัวสวิตช์เปิดปิดเสียก่อน ด้วยการเลาะสายทองแดงตามเส้นสายไฟแล้วนำมาพันกับตัวมอเตอร์จากนั้นยิงกาวร้อนลงไปเพื่อให้เกิดความแน่นหนา ทำแบบนี้ 3 ชิ้นสำหรับน้ำ 3 รสชาติ โดยการโยงเข้ากับมอเตอร์แค่ชิ้นเดียวก็พอ
  2. จากนั้นเจาะรูที่ฝาขวด 2 รู รูแรกมีขนาดใหญ่สำหรับการใส่หลอดเพื่อจะเอาไว้ดึงน้ำขึ้นมา ส่วนอีกรูเป็นขนาดเล็กที่เอาไว้ใส่กับตัวมอเตอร์
  3. สวมสายเข้าไปยังรูที่เจาะเอาไว้โดยให้ด้านหนึ่งออกมาข้างนอกส่วนอีกด้านหนึ่งสวมเอาไว้กับมอเตอร์
  4. เริ่มทำตัวกล่องกระดาษโดยนำเอากล่องกระดาษมาทากาวร้อนให้มีลักษณะเหมือพื้นกับพนักพิงเก้าอี้โดยที่ไม่ต้องมีขาเก้าอี้
  5. คว่ำกล่องลงให้ด้านพื้นเก้าอี้อยู่ด้านบน เจาะรูให้มีขนาดพอดีกับหลอดที่จะสวมเข้าไปได้
  6. เอาหลอดด้านหนึ่งเสียบลงไปที่ฝาขวดน้ำแล้วปิดฝาขวดน้ำที่เราต้องการให้ดูดออกมาให้สนิท แล้วก็วางใส่ลงไปในกล่องกระดาษที่เราทำเอาไว้
  7. ใส่หลอดออกมานอกกล่องกระดาษที่เราได้ทำรูเอาไว้ เช่นเดียวกับปุ่มกดที่ทำรูเอาไว้

เอาสติ๊กเกอร์น้ำมาแปะติดเสียหน่อยเพื่อให้รู้ว่าข้างในเป็นน้ำอะไร เท่านี้ก็จะได้ตู้กดน้ำแบบง่ายๆ แล้ว

TITLE NAME

ชื่อโครงการ (Project Name)

ตู้กดน้ำ

ผู้พัฒนา (Owner)

- พิชญา อารยะรังษี
- เทพทัต เจริญผล
- อชิรญา จันทราช

อาจารย์ที่ปรึกษา (Advisor)

- ธำรงศักดิ์ บุญจรัส

เนื้อหาบทคัดย่อ (Abstract Detail)

บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง ตู้กดน้ำ เป็นโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)อำนวยความสะดวกในการกดน้ำแทนการเท 2)เพื่อสร้างและพัฒนาเครื่องกดน้ำจากวัสดุเหลือใช้ ดำเนินการโดยแบ่งการทดลองเป็น 3 ขั้นตอน ขั้นตอนที่1 ศึกษารูปแบบของตู้กดน้ำ ขั้นตอนที่2 ประดิษฐ์ตู้กดน้ำจากวัสดุเหลือใช้ ขั้นตอนที่3 ทดสอบประสิทธิภาพและความแข็งแรงของตู้กดน้ำ ผลการศึกษาทดลองสรุปได้ดังนี้ 1)สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน 2)ตู้กดน้ำมีประสิทธิภาพและความแข็งแรงดี 3)เป็นการประหยัดค่าใช้จ่าย

แบบรายงานการวจิ ัย (ว-สอศ-3)
รายงานผลโครงการวจิ ยั
เรื่อง

ตกู้ ดนำ้ อตั โนมตั ิ
Automatic Water Dispenser

งนายนนั ทกร .โชตชิ ่วง
....นายวชริ วทิ ย์ วาณชิ ววิ ฒั น์

ประจำปีการศกึ ษา 2564
ปีพทุ ธศกั ราช 2564

วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง
อาชวี ศึกษาจังหวดั ระยอง
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

กระทรวงศึกษาธกิ าร

หวั ข้อวิจัย ตู้กดนำ้ อตั โนมตั ิ

ผดู้ ำเนนิ การวจิ ัย นายนันทกร โชคชว่ ง

นายวชิรวทิ ย์ วาณชิ วิวัฒน์

ทป่ี รกึ ษา นายมงคล พรมประเสริฐ

ครผู ส็ อน นางสาวอัจฉราภรณ์ เกลี้ยงพรอ้ ม

หน่วยงาน วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง

ปี พ.ศ. 2564

การวิจัยคร้งั น้มี ีวัตถุประสงค์ ดงั น้ี 1) เพ่อื สร้างตู้กดนำ้ อัตโนมัติ เพอ่ื เพิ่มความสะดวกสะบายแก่
ผู้ใช้งาน2)เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ห้อง 2
สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง ที่มีต่อตู้กดน้ำอัตโนมัติและ 3) เพื่อเผยแพร่
ผ่านโครงการประกวดโครงการวิชาชีพชมรมวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง
ประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ห้อง 2
สาขาวิชาเทคโนโลยี ธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ตู้กดน้ำ
อัตโนมัติ และ แบบสอบถามความพึงพอใจนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ห้อง 2
สาขาวิชาเทคโนโลยีธรุ กิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยองที่มีต่อตู้กดน้ำอัตโนมัติ สถิติที่ใช้งานการวิจยั
ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าเบย้ี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ร้อยละ (Percentage)

ผลการวิจัยมีดังน้ี ผลจากการสร้าง ตู้กดน้ำอัตโนมัติ โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามทัง้ หมด จำนวน
18 คน สรุปได้ดังนี้ จำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามเพศส่วนใหญ่เพศหญิงคิดเป็นร้อยละ
72.22ของจำนวนผู้แบบสอบถามทั้งหมดมากกว่าเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 27.78 ของจำนวนผู้ตอบ
แบบสอบถามทัง้ หมดตามลำดบั จำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามอายุส่วนใหญ่อายุ17-18ปี
คดิ เป็นรอ้ ยละ61.11ของจำนวนผู้ตอบแบบสอบถามท้ังหมดอายุ 15–16 ปีคิดเป็นร้อยละ22.22 ของผู้
จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมดและอายุ 19–20 ปีคิดเป็นร้อยละ16.67 ของผู้ตอบแบบสอบถาม
ทง้ั หมดตามลำดับผ้ตู อบแบบสอบถามความพึงพอใจดา้ นโครงสรา้ งส่วนใหญ่มีความคิดเหน็ อยใู่ นระดับ

มาก ( ̅ =4.08, S.D.=.15) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อสรุปได้ว่าชิ้นงานมีความสวยงามและน่าสนใจ

( ̅ =4.22, S.D.=.65) ความแข็งแรงของตู้กดน้ำอัตโนมัติ ( ̅ =4.17, S.D.=.71)ภาพรวมของตู้กดน้ำ

อัตโนมัติมีความสมบูรณ์ ( ̅ =4.06, S.D.=.64) ตามลำดับผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจด้านการ

ใช้งานส่วนใหญ่มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ( ̅ =4.19, S.D.=.03) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อสรุปได้

วา่ ความปลอดภัยของตู้กดนำ้ อัตโนมัติ ( ̅ =4.33, S.D.=.49) ความสามารถการวัดระดับน้ำ ( ̅ =4.22,

S.D.=.55) ความสามารถในการตรวจจับแก้วน้ำ ( ̅ =4.17, S.D.=.51) ตามลำดับผู้ตอบแบบสอบถาม
ความพึงพอใจ

ด้านความคุ้มค่าส่วนใหญ่มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ( ̅ =4.17, S.D.=.07) เมื่อพิจารณาเป็นราย
ข้อสรุปได้ว่าตู้กดน้ำอัตโนมัติสามารถใช้งานได้จริง ( ̅ =4.28,S.D.=.46) ความเหมาะสมของต้นทุน
( ̅ =4.11, S.D.=.58) ระยะเวลทใี่ ช้ในการทำตู้กดนำ้ อตั โนมัติ ( ̅ =4.11, S.D.=.47) ตามลำดบั

กติ ตกิ รรมประกาศ

โครงการวิชาประจำปีนี้ ได้สำเร็จไปได้ด้วยดีต้องขอขอบคุณ นางสาวอัจฉราภรณ์ เกลี้ยงพร้อม
ผู้สอนและ นายมงคล พรมประเสริฐ ที่ปรึกษาโครงการ ที่ได้ช่วยเหลือและให้ความรู้ ทำให้โครงการ
ผา่ นลุล่วงได้ดว้ ยดี

ขอขอบคุณนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 3 ห้อง 2 ที่ให้ความร่วมมือในการตอบ
แบบสอบถาม และ ใหข้ อ้ เสนอแนะในการตอ่ ยอดในครั้งตอ่ ไป ซึง่ ตอ้ งขอขอบพระคณุ ณ โอกาสนี้

คณะผวู้ ิจัย
2564

สารบัญ

บทคัดย่อภาษาไทย .............................................................. หน้า
กติ ตกิ รรมประกาศ ..................สสสสสสสสสสสสสสสแงเงงเ ก
สารบญั ข
สารบญั ตาราง ค
สารบัญภาพ ง

บทท่ี 1 บทนำ
ความเป็นมาและความสำคัญ
วัตถุประสงค์ของการวิจัย .................................................. 1
ขอบเขตการวิจยั
สมมติฐานการวจิ ยั 2
คำจำกดั ความท่ใี ช้ในงานวิจัย
ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะไดร้ บั 2

...................................... 2

............................................... 2

............... ..................................ง................ 3

บทท่ี 2 แนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ กี่ยวข้อง

แนวคิดเกยี่ วกบั ตกู้ ดน้ำอัตโนมตั ิ .............ง....................... 5

แนวคดิ เกี่ยวกับเซนเซอร์ตรวจจบั แกว้ .................................................. 8

งานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง 14

กรอบแนวคิดในการวจิ ยั 16

บทท่ี 3 วธิ ีดำเนินการวิจยั

การสรา้ งเครอ่ื งมือในการวิจยั 17
17
ประชากรและการสุ่มกล่มุ ตัวอย่าง .. 18
19
การดำเนินการทดลอง . ......... 21
23
แผนผังงาน . ......................... 24

วงจรการทำงาน .................................................

การเกฐ็ ขอ้ มลู ..............

สถิติที่ใช้และวธิ วี ิเคราะหข์ ้อมลู ....

บทท่ี 4 ผลการวิจยั
แสดงจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ
แสดงจำนวนของผตู้ อบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ 25
แสดงความพงึ พอใจดา้ นโครงสร้าง 26
แสดงความพึงใจด้านการใชง้ าน .. 27
แสดงความพึงพอใจด้านความคมุ้ ค่า 28
.. 29

บทท่ี 5 สรปุ ผลการวิจัยอภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ

สรุปผลการวจิ ยั 30

อภปิ รายผล .. งงงงง....... 31

ข้อเสนอแนะในการวิจัย ......งง................................ 31

ข้อเสนอแนะการนำเสนองานวิจยั ไปใช้ประโยชน์ 31

ข้อเสนอแนะการทำการวิจยั ต่อเน่ืองหรือวจิ ยั ต่อยอด ..........งงงงงงง...... 31

บรรณานุกรม 32

ภาคผนวก

ก .ว-สอศ-2 ... .. ....................... 33
50
..... ข .แบบสอบถามความพึงพอใจ .. 53

.... ค .QR Code Video ช้นิ งาน .. .. .. ……………….

ประวตั ผิ ู้วจิ ัย 55

สารบญั ตาราง

ตารางท่ี ตารางแสดงอุปกรณ์ หนา้
3.1 ตารางแสดงจำนวนของผ็ตอบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ . 22
4.1 ตารางแสดงจำนวนผ็ตอบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ
4.2 ตารางแสดงความพึงพอใจด้านโครงสรา้ ง .ง… 25
4.3 ตารางแสดงความพึงพอใจด้านการใช้งาน 26
4.4 ตารางแสดงความพึงพอใจด้านความคมุ้ ค่า
4.5 .. ……… 27
.ง.. 28

.. 29

สารบัญภาพ หน้า
5
รูปที่ 6
.2.1 รูปแสดงตู้กดน้ำถงั คว่ำดา้ นบน 6
. 2.2 รูปแสดงตกู้ ดนำ้ ถงั ด้างล่าง 9
. 2.3 รปู แสดงตูก้ ดนำ้ แบบเคอนเ์ ตอร์ 10
. 2.4 รูปแสดงเซนเซอร์ตรวจจับวัตถุด้านกายภาพ 11
. 2.5 รปู แสดงเซนเซอรต์ รวจจับวตั ถุทางเคมี 12
. 2.6 รปู แสดงเซนเซอรต์ รวจจบั วตั ถุทางชีวภาพ 12
. 2.7 รปู แสดงพร็อกซิมติ ้เี ซนเซอร์ รนุ่ มาตรฐาน E2E 13
. 2.8 รูปแสดงเซนเซอร์ตรวจจับวตั ถุ E3T 16
. 2.9 รูปแสดงเซนเซอร์ตรวจจับวัตถเุ ครอื่ งขยายสัญญานขนาดเล็กในตวั E3Z 19
2.10 รปู แสดงกรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั .20
3.1 รูปแสดงแผนผังโครงงาน 21
3.2 รูปแสดงผังช้ินงาน 21
3.3 รูปแสดงการต่อวงจร Ultrasonic sensor 25
3.4 รูปแสดงการต่อวงจร Infrared sensor 26
4.1 รปู แผนภูมิแสดงจำนวนผตู้ อบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ 27
4.2 รูปแผนภมู ิแสดงจำนวนผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ .28
4.3 รูปแผนภมู แิ สดงความพึงใจด้านโครงสร้าง 29
4.4 รปู แผนภมู แิ สดงความพงึ พอใจด้านการใชง้ าน
4.5 รูปแผนภูมแิ สดงความพึงพอใจด้านความคมุ้ ค่า

บทที่ 1
บทนำ

1.1 ความเปน็ มาและความสำคญั

น้ำเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของผิวโลกและมีอยู่ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ทั้งมนุษย์น้ำมีความ
จำเป็นตอ่ สง่ิ มีชีวิตทุกชนิดโดยเฉพาะ มนษุ ยซ์ ึ่งจำเปน็ ต้องใช้น้ำในการอุปโภคบรโิ ภค มนษุ ย์บริโภคน้ำ
เขา้ ไปในร่างกายและปล่อยนำ้ ออกจากร่างกายมากกว่าสารอื่น ๆ นำ้ เปน็ สว่ นสำคญั ของเนื้อเยื่อเกือบ
ทุกชนิดและยังทำหน้าที่เป็นตัวกลางสำหรับลำเลียงถ่ายเทสารอาหารและของเสียนอกจากนี้ยังช่วย
ช่วยรักษาอุณหภูมิของร่างกายให้คงที่ ร่างกายมนุษย์ประกอบด้วยน้ำประมาณ 70 เปอร์เซ็นต์ ของ
น้ำหนักตัว นอกจากนี้การใช้ประโยชน์ของน้ำสำหรับมนุษย์นั้น ยังมีอีกมากมาย หลายอย่าง ได้แก่
การใช้เพื่อชำระล้าง ร่างกายและเครื่องนุง่ ห่ม ใช้ในการประกอบอาหาร การเกษตร การล้างทำความ
สะอาด ถนนและสาธารณะ สถานอื่น ๆ การพักผ่อนหย่อนใจ การอุตสาหกรรม การขับเคลื่อนส่ิง
สกปรก การผลติ กระแสไฟฟ้าพลงั น้ำ การคมนาคม และการปอ้ งกนั อคั คภี ัย จึงนบั ว่าน้ำเป็นทรพั ยากร
ที่มปี ระโยชน์มากมายต่อมนษุ ย์

เนื่องจากมนุษย์นั้นมีปัจจัยในการดำรงชีวิต คือน้ำ เพื่อต้องการให้มนุษย์นั้นเกิดความ
สะดวกสะบายมากย่ิงข้ึนจึงได้ คดิ ค้นนวัตกรรมนี้ข้นึ มา เพื่อแกไ้ ขการบรโิ ภคนำ้ ในรปู แบบต่าง ๆ ของ
มนุษย์ ซึ่งในยุคปัจจุบันนี้ มีการเกิดโรคระบาด จึงอยากให้ปลอดภัยจากเชื่อโรค ซึ่งจะใช้ระบบ
เซนเซอร์มาติดตั้งกับตู้กดน้ำเพื่อลดการสัมผัสด้วยมือของผู้ที่มาบริโภค กลุ่มกระผมได้ตระหนักถึง
ปัญหาเหล่าน้ี ทำให้เกิดการคดิ คน้ ตกู้ ดนำ้ อัตโนมัตขิ น้ึ มา โดย นางสาวอัจฉราภรณ์ เกลย้ี งพร้อม และ
นายมงคล พรมประเสริฐ ครูที่ปรึกษาที่คอย ให้การสนับสนุนและให้คำปรึกษาเมื่อโครงงานสำเร็จจึง
ส่งผล ทำให้ตู้กดน้ำอัตโนมตั ิมีสภาพพรอ้ มใช้งานและมีประสิทธิภาพ ทำให้เกิดสุขลกั ษณะอนามัยท่ดี ี
ตอ่ ประชากรผ้ใู ชง้ าน

ดงั นั้น ผจู้ ัดทำจงึ ได้คิดค้นนวัตถกรรมจากส่ิงทีม่ ีอยู่ คอื ตกู้ ดน้ำโดยใชร้ ะบบเซ็นเซอร์มาเป็น
ตัวชว่ ยในการเปดิ -ปดิ โดยมแี อพพลิเคชัน่ blynk ในการดปู ริมาณน้ำภายในตู้กดนำ้ เพ่ือให้เราน้ันได้มี
เทคโนโลยีที่ใช้ได้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ จึงใช้ระบบเซอร์มาติดตั้งกับตู้กดน้ำ เพื่อช่วยให้มีความ
สะดวกมากข้ึน และลดการสัมผสั ปลอดภัยจากเช้อื โรคต่าง ๆ ได้

2

1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย

1.2.1 เพ่อื สร้างตูก้ ดนำ้ อัตโนมัติ เพื่อเพม่ิ ความสะดวกสะบายแกผ่ ใู้ ชง้ าน
1.2.2 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ห้อง 2

สาขาวิชาเทคโนโลยีธรุ กจิ ดิจิทัล วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง ท่มี ีตอ่ ต้กู ดน้ำอัตโนมัติ
1.2.3 เพื่อเผยแพร่ผ่านโครงการประกวดโครงการวิชาชีพชมรมวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล

วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง

1.3 ขอบเขตการวิจัย

1.3.1 ขอบเขตดา้ นเนื้อหา
1.3.1.1 ศึกษาการทำงาน ของระบบเซ็นเซอร์ว่าสามารถทำงานควบคู่นวัตกรรมกับ
โครงงานของเราไดห้ รือไม่
1.3.1.2 ศึกษาการทำงานของมอเตอร์ป้ัมลมว่าทำงานอย่างไร และนำมาใช้งานกับ
นวัตกรรม

1.3.2 ขอบเขตด้านประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง
นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ห้อง 2 สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจ

ดิจิทัล วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง เพ่ือศกึ ษาความพึงพอใจของนักเรยี นระดบั ประกาศนียบัตร
วิชาชพี ชนั้ ปีท่ี 3 หอ้ ง 2 สาขาเทคโนโลยีธรุ กิจดิจทิ ลั วิทยาลยั เทคนิคระยอง
1.3.3 ขอบเขตด้านเวลา

เดือนมถิ ุนายน 2564 – เดอื นกันยายน 2564

1.4 สมมติฐานการวจิ ยั (ถา้ มี)

ตวั แปรตน้ คอื ตู้กดน้ำ
ตัวแปรตาม คือ ตู้กดน้ำที่ควบคุมระบบเซน็ เซอร์ ตรวจจับแก้ว เพื่อเปิด-ปิด การจ่ายน้ำ

และดูระดับนำ้ ผา่ นแอพพลิเคชน่ั blynk
ตัวแปรควบคุม คือ แอพพลิเคชนั่ blynk

1.5 คำจำกดั ความทใี่ ช้ในงานวจิ ัย

1.5.1 ตกู้ ดน้ำอตั โนมัติ หมายถงึ ตูก้ ดน้ำโดยใช้เซน็ เซอร์แทนการกดด้วยนว้ิ มือ
1.5.2 เซน็ เซอรต์ รวจจับแก้ว หมายถึง เป็นเซนเซอร์ทสี่ ามารถทำการตรวจจับได้โดยตวั เซ็นเซอร์

ไมต่ อ้ งสมั ผัสกับตัววัตถุและยงั สามารถตรวจจับได้ท้ังโลหะและอโลหะเชน่ กระดาษ ขวด
แกว้ พลาสติก

3

1.6 ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะได้รบั

1.6.1 ไดต้ ้กู ดน้ำอัตโนมัติ ทำงานโดยมอเตอร์ลมและมรี ะบบเซ็นเซอร์ในการเปดิ และปิด
1.6.2 ได้ความพึงพอใจของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ห้อง 2 สาขาวิชา

เทคโนโลยีธรุ กิจดจิ ทิ ลั วิทยาลยั เทคนคิ ระยอง ที่มตี ่อต้กู ดนำ้ อตั โนมตั อิ ย่ใู นระดับดี
1.6.3 ได้เผยแพร่ผ่านโครงการประกวดโครงการวิชาชีพชมรมวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล

วิทยาลัยเทคนิคระยอง

บทท่ี 2

แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจยั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง

ในการวิจัยเรื่อง ตู้กดน้ำอัตโนมัติ ของกลุ่มตัวอย่างนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ช้ันปีท่ี 3 ห้อง 2 สาขาเทคโนโลยธี ุรกิจดจิ ิทัล วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง
ผูว้ ิจัยไดศ้ กึ ษาแนวคิด ทฤษฎีและงานที่เก่ยี วข้อง เพ่อื เปน็ พน้ื ฐานในการดำเนนิ การวิจยั ตามหวั ขอ้ ดังนี้

2.1 แนวคดิ เกย่ี วกับตู้กดน้ำอัตโนมัติ
2.1.1 ความหมายของตู้กดนำ้ อัตโนมัติ
2.1.2 ประเภทของตู้กดน้ำอตั โนมตั ิ
2.1.2.1 ตู้กดน้ำถงั คว่ำด้านบน
2.1.2.2 ตกู้ ดนำ้ ถงั ด้านล่าง
2.1.2.3 ตกู้ ดนำ้ แบบเคาน์เตอร์
2.1.3 ลักษณะตกู้ ดน้ำ
2.1.3.1 ลักษณะต้กู ดน้ำถงั ควำ่ ด้านบน
2.1.3.2 ลักษณะกดนำ้ ถังดา้ นล่าง
2.1.3.3 ลักษณะกดนำ้ แบบเคาน์เตอร์

2.2 แนวคิดเกีย่ วกบั เซนเซอร์ตรวจจบั แก้ว
2.2.1 ความหมายเซนเซอรต์ รวจจบั แก้ว
2.2.2 หลกั การทำงานเซนเซอรต์ รวจจับแก้ว
2.2.3 ประเภทเซนเซอร์
2.2.3.1 พรอ็ กซมิ ติ เ้ี ซนเซอร์ รุ่นมาตรฐาน E2E
2.2.3.2 เซนเซอร์ตรวจจับวตั ถุ E3T
2.2.3.3 เซนเซอรต์ รวจจบั วตั ถเุ คร่อื งขยายสัญญานขนาดเล็กในตวั E3Z
2.2.4 ลักษณะของเซนเซอร์
2.2.4.1 ลกั ษณะพร็อกซิมติ ้ีเซนเซอร์ ร่นุ มาตรฐาน E2E
2.2.4.2 ลักษณะเซนเซอรต์ รวจจับวตั ถุ E3T
2.2.4.3 ลักษณะเซนเซอร์ตรวจจบั วตั ถเุ คร่ืองขยายสญั ญานขนาดเลก็ ในตวั E3Z

2.3 งานวิจัยท่ีเก่ียวขอ้ ง
2.4 กรอบแนวคดิ ในการวิจยั
รายละเอียดแต่ละหวั ขอ้ ดงั น้ี

5

2.1 แนวคิดเก่ยี วกบั ตกู้ ดนำ้ อัตโนมัติ

ในการนำเสนอเกีย่ วกบั ตู้กดน้ำอัตโนมตั ิ มหี วั ข้อย่อยคือ ความหมายของตู้กดน้ำ
อัตโนมตั ิประเภทตกู้ ดน้ำอตั โนมัติ และคุณลักษณะตกู้ ดนำ้ อัตโนมตั ิรายละเอียดแตล่ ะ
หัวข้อยอ่ ยมีดังน้ี
2.1.1 ความหมายของต้กู ดนำ้ อัตโนมัติ

มีผูก้ ลา่ วถงึ ความหมายของตู้กดน้ำอัตโนมัติ ไวด้ ังนี้
(สำนักงานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ, 2558) กล่าวว่า หมายถึง สถาณที่ที่ผลิต
น้ำบริโภคบรรจุขวดหรือใส่ภาชนะต่าง ๆ หรือผลิตภัณฑ์ สำหรับติดตั้งกับท่อจ่าย
น้ำเพื่อปรับปรุงคุณภาพน้ำให้สะอาด ไว้สำหรับบริการผู้ที่บริโภค ณ สถานที่ โดย
ผ่านเครอื่ งกดน้ำอัตโนมัติ
2.1.2 ประเภทของตูก้ ดนำ้ อัตโนมตั ิ

มีผูก้ ล่าวถงึ ประเภทต้กู ดน้ำอัตโนมตั ิ ไวด้ ังน้ี
(ณัชพล ชนะสิทธิ์, 2563) กล่าวว่า น้ำถือว่าเป็นสิ่งสำคัญต่อร่างกายของเราทุกคน
เพราะ การดื่มน้ำ ในปริมาณที่เพียงพอต่อความต้องการจะทำให้สุขภาพของเรา
แข็งแรงและดีต่ออวัยวะทุกส่วนภายในร่างกายของเราครับ แต่อย่างไรก็ดีน้ำที่เรา
จะดื่มนั้นก็จะต้องสะอาดและปราศจากสิ่งปนเปื้อนที่เป็นอันตรายด้วย ดังนั้นเพื่อ
ความปลอดภยั ต่อตวั ของเราเอง เรากค็ วรทจ่ี ะมี “ต้กู ดน้ำแบบมีเคร่ืองกรองในตัว”
ซึ่งข้อดขี อง ตู้กดนำ้ แบบน้คี อื นอกจากที่มนั จะสามารถทำนำ้ ร้อนและนำ้ เยน็ ได้แล้ว
มนั ยังสามารถกรองนำ้ ให้สะอาดแบบหมดจด ตงั้ แต่ กลิ่น, สี รวมไปถงึ รสชาติ

รูปที่ 2.1 แสดงตู้กดน้ำถังคว่ำดา้ นบน

6

2.1.2.1 ตู้กดนำ้ ถงั ควำ่ ด้านบน
เหมาะสำหรับการใช้ในอาคาร อยา่ งเช่น บ้านหรอื ออฟฟิศ โดยการใช้

งานของตู้กดน้ำตัวนี้คือการติดตั้งถังน้ำไว้ด้านบน ทั้งนี้ขนาดถังน้ำท่ี
สามารถรองรบั ได้ ตงั้ แต่ ขนาด 1 – 5 แกลลอน

รูปที่ 2.2 แสดงตกู้ ดน้ำถังด้านล่าง
2.1.2.2 ตู้กดนำ้ ถงั ดา้ นล่าง

ต้กู ดน้ำแบบนีเ้ หมาะกบั การใชง้ านในอาคารเหมือนกับตู้กดน้ำถงั ควำ่
ด้านบนแตจ่ ะแตกตา่ งอยู่ตรงทกี่ ารตดิ ตั้งถังน้ำดืม่ จะอยดู่ า้ นล่างในชอ่ งเก็บ
ถงั ซึง่ ข้อดีของตู้กดน้ำตัวนค้ี อื การออกแบบจะดสู วยงามและไม่เกะกะ หาก
ใครมองหาตู้กดนำ้ สวย ๆ ท่ีใชป้ ระโยชน์ไดท้ ้งั การกดด่ืมน้ำและตกแตง่ บา้ น
หรอื ออฟฟิศ ตู้กดน้ำประเภทนีจ้ ะตอบโจทย์ ท้ังนข้ี นาดถังน้ำท่ีตดิ ตั้งได้คือ
ขนาด 1 – 5 แกลลอน

รูปที่ 2.3 แสดงตู้กดน้ำแบบเคานเ์ ตอร์

7

2.1.2.3 ตูก้ ดนำ้ แบบเคานเ์ ตอร์
ตู้กดน้ำแบบเคาน์เตอร์จะเหมาะสำหรับคนท่ีอยูห่ อพักหรือคอนโดท่มี ี

พื้นที่แบบจำกัด เพราะตู้กดน้ำประเภทนี้จะมีขนาดเล็ก สามารถวางบน
เคาน์เตอร์ในครัวหรอื โตะ๊ ภายในห้องได้
2.1.3 คุณลักษณะตกู้ ดน้ำ
2.1.3.1 ต้กู ดน้ำถงั คว่ำด้านบน

มีลักษณะเป็นตู้สี่เหลียมพร้อมที่วางถังน้ำขนาด 20 ลิตร ไว้ด้านบน
หรือปมุ่ กดเพ่ือปล่อยน้ำจากถังลงมา มแี บบใช้ไฟและไม่ใช้ไฟ แบบใช้ไฟจะ
สามารถเปล่ียนน้ำท่ีไหลผา่ นเป็นน้ำร้อน หรอื น้ำาเยน็ ได้
2.1.3.2 ตู้กดน้ำถังดา้ นลา่ ง

มีลักษณะตู้ส่ีเหลียมผืนผา้ โดยว่างถังนำ้ ขนาด 20 ลิตร ไว้ในตัวเครื่อง
ใช้วิธีดูดน้ำออกจากตัวถัง ซึ่งจะใช้ไฟฟ้าทุกแบบโดยจะมีการเปลี่ยนน้ำที่
ดดู มาเปน็ น้ำร้อน หรือ น้ำเย็นก็ได้
2.1.3.3 ต้กู ดน้ำแบบเคาน์เตอร์
มีลกั ษณะขนาดตวั เครื่องทเี่ ลก็ กระทัดรัด เติมนำ้ ไดป้ รมิ าณที่นอ้ ย
กวา่ ตู้กดน้ำคว่ำด้านบน หรือ ตู้กดนำ้ ถงั ดา้ นล่าง โดยปรมิ าณน้ำท่เี ติมได้
ขนึ้ อยู่กบั รุ่นที่ผลติ บางรุ่นสามารถเปล่ียนน้ำให้เปน็ ทง้ั แบบ รอ้ นและเยน็
แตบ่ าง ร่นุ ไม่สารถทำได้

8

2.2 แนวคดิ เกย่ี วกบั เซนเซอร์ตรวจจับแกว้

ในการนำเสนอเกี่ยวกับเซนเซอร์ตรวจจับแก้ว มีหัวข้อย่อยคือ ความหมายเซนเซอร์
ตรวจจับแก้วหลักการทำงานเซนเซอร์ตรวจจับแก้ว ประเภทเซนเซอร์ ลักษณะของ
เซนเซอร์ รายละเอยี ดแตล่ ะหวั ข้อย่อยมีดงั น้ี
2.2.1 ความหมายเซนเซอรต์ รวจจับแกว้

มผี กู้ ล่าวถึง ความหมายเซนเซอรต์ รวจจับแก้วไว้ดงั น้ี
(บริษัท แฟ็คโตมาร์ท จำกัด, 2561) กล่าวว่า หมายถึง เทคโนโลยีรูปแบบการนำ
แสงแบบ Coaxial ทำให้การตรวจจับวัตถุใส เช่น ขวดแก้ว มีประสิทธิภาพสูงสุด
การตรวจจับระยะใกล้พร้อมกับแผ่นสะท้อน เหมาะกบั การติดตั้งบนเคร่ืองจักรหรือ
รางลำเลียงขนาด เล็ก เวลาตอบสนองเพียง 250 ไมโครวินาที ทำให้การตรวจจับ
ตำแหนง่ ของวตั ถุใสไดอ้ ย่างแมน่ ยำ
2.2.2 หลักการทำงานเซนเซอรต์ รวจจบั แก้ว

มผี ้กู ล่าวถงึ หลักการทำงานเซนเซอร์ตรวจจับแก้วไว้ดังนี้
(นวภัทรา หนนู าค, 2555) ไดก้ ลา่ วว่าเป็นอปุ กรณซ์ ึง่ ทำหน้าที่เปน็ ตัวตรวจจับ
ปริมาณทาง ฟิสกิ ส์ โดยอาศัยหลกั การทำงานท่ีแตกตา่ งกนั ข้ึนอยกู่ ับชนดิ ของ
เซนเซอร์ สามารถกำเนิดสัญญาณที่มีความสัมพันธ์กับปริมาณของสิ่งที่ต้องการ
ตรวจจับได้ โดยการแปลงสัญญาณทางด้านอินพุตซึ่งเป็นคุณสมบัติทางฟิสิกส์ให้
เป็นสัญญาณทางด้านเอาต์พุตซึง่ เป็นคุณสมบัติทางไฟฟา้ เพ่ือปอ้ นให้กับระบบหรือ
กระบวนการ แล้วนำไปประมวลผลในขั้นตอนต่อไป อาจกล่าวได้ว่าเซนเซอร์ คือ
ทรานสดวิ เซอร์ (transducer) ประเภทหนึง่ ทีท่ ำหนา้ ที่ เปลย่ี นพลังงานรปู แบบ
หนงึ่ ให้เปน็ พลงั งานไฟฟา้ ในบางครั้งจงึ มีการเรียก เซนเซอร์ว่าทรานสดิวเซอร์หรือ
เรียกทรานสดิวเซอร์ว่าเซนเซอร์ ซึ่งขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ และลักษณะการ
ประยุกตใ์ ชง้ านทต่ี อ้ งการวัด
(สำนกั งานปลัดกระทรวงการอดุ มศึกษา, 2564) ไดก้ ลา่ วว่า เซนเซอร์ (Sensor) คือ
ชุดอุปกรณ์ วงจร หรือ ระบบ ที่ทำหน้าที่ตรวจวัดการเปลีย่ นแปลงคุณสมบัติ หรือ
ลักษณะของสิ่งต่างๆ โดยรอบวัตถุเป้าหมาย และนำข้อมูลจำนวนมหาศาล (Big
Data) ที่ได้จากการตรวจวัด เข้าสู่กระบวนการแจกแจง และวิเคราะห์พฤติกรรม
ของการเปลี่ยนแปลงประมวลผลเป็นองค์ความรู้และปัญญาประดิษฐ์ (Artificial
Intelligence) ให้มนุษย์สามารถนำองค์ความรู้มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพลด
ขัน้ ตอนของกระบวนการทำงาน

9

2.2.3 ประเภทเซนเซอร์
มผี ูก้ ลา่ วถึง ประเภทเซนเซอร์ ไวด้ ังนี้

(สำนักงานปลดั กระทรวงการอดุ มศึกษา และคณะ,2561)สามารถแบ่งไดเ้ ป็น 3
ประเภท ตามคุณสมบัตใิ นการตรวจวดั ประกอบด้วย
เซนเซอร์ด้านกายภาพ (Physical Sensor) คือ เซนเซอร์ที่ใช้ในการตรวจวัด
คณุ สมบตั ทิ างกายภาพตา่ งๆ เปน็ เซ็นเซอรท์ ี่ใชเ้ ซลล์พิเศษทม่ี คี วามไว ต่อ แสง, การ
เคลื่อนไหว, อุณหภูมิ, สนามแม่เหล็ก, แรงโน้มถ่วง, ความชื้น, การสั่นสะเทือน,
แรงดัน, สนามไฟฟ้า, เสียง และลักษณะทางกายภาพอื่นๆ ของสภาพแวดล้อม
ภายนอก/ภายใน เช่น แรงยืด, การเคลื่อนไหวของอวัยวะ รวมทั้ง สารพิษ,
สารอาหาร, และสภาพแวดล้อมการเผาผลาญภายใน เช่น ระดับน้ำตาล, ระดับ
ออกซิเจน , ฮอร์โมน, สารสอ่ื ประสาท เปน็ ตน้

รูปที่ 2.4 แสดงเซนเซอร์ตรวจจับวัตถุ E3T

10

เซนเซอร์ดา้ นเคมี (Chemical Sensor) คอื เซนเซอร์ที่ใชใ้ นการตรวจวัดสารเคมี
ตา่ งๆ โดยอาศยั ปฏกิ ริ ิยาจำเพาะทางเคมี และมีการแปลงเป็นข้อมูลหรือสัญญาณท่ี
สามารถอ่านวิเคราะห์ได้ เช่น เซนเซอร์ตรวจวัดสารเคมีปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อม
หรือดินและน้ำเซนเซอร์ และ อุปกรณ์ในการตรวจวิเคราะห์ทดสอบ สัมพันธ์กัน
อย่างไร?ทิศทางการพัฒนาอุปกรณ์ในการตรวจวิเคราะห์ทดสอบมีแนวโน้มจะ
ประยุกต์เป็นอุปกรณ์เซนเซอร์ที่เป็นเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถอ่านผลได้
ง่าย แสดงผลเป็นระบบดิจิตอลหรือตัวเลข โดยไม่จำ เป็นต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญใน
การตรวจวเิ คราะหแ์ ละอ่านผลผใู้ ช้สามารถใชอ้ ุปกรณด์ งั กล่าวไดด้ ้วยตัวเอง (Point-
of-Care: PoC) จากลักษณะเฉพาะของเซนเซอร์ที่สามารถใช้เป็นอุปกรณ์ในการ
ตรวจวิเคราะหท์ ี่มีขนาดพกพาสะดวกและใช้งานง่ายนั้น จึงถกู นำ มาประยุกต์ใช้ใน
อุตสาหกรรมตา่ งๆ

รูปที่ 2.5 แสดงเซนเซอรต์ รวจจับวตั ถุ E3T

11
เซนเซอร์ทางชีวภาพ(Biosensor) คือ เซนเซอร์ที่อาศัยเทคนิคการนำ
สารชวี ภาพ (Biological Recognition Material) มาเปน็ ตวั ทำปฏกิ ิรยิ าจำเพาะกับ
สารเป้าหมาย เชน่ เซนเซอร์ท่ีใช้ในการตรวจวดั ระดับนำ้ ตาลในเลอื ด

รูปที่ 2.6 แสดงเซนเซอรต์ รวจจับวัตถุ E3T

12
2.2.3.1 พร็อกซมิ ิต้ีเซนเซอร์ ร่นุ มาตรฐาน E2E

E2E ประสิทธิภาพและคุณภาพระดับโลก ครอบคลุมการใช้งาน
หลากหลายสามารถเลือกรุ่นทีต่ รงตามความต้องการได้มีความต้านทานต่อ
สง่ิ แวดลอ้ มที่ดเี ยยี่ ม สายไฟมาตรฐานทำจาก PVC ทนน้ำมัน

รูปท่ี 2.7 แสดงพร็อกซิมิตีเ้ ซนเซอร์ รุ่นมาตรฐาน E2E
2.2.3.2 เซนเซอร์ตรวจจบั วัตถุ E3T

เซนเซอร์ตรวจจับวัตถุ E3T series พร้อมเครื่องขยายสัญญานในตัว
การออกแบบอุปกรณ์จงึ มขี นาดเล็กลงทำใหก้ ารตดิ ต้งั งา่ ยและราบรืน่ ยง่ิ ขน้ึ

รปู ท่ี 2.8 แสดงเซนเซอรต์ รวจจับวัตถุ E3T

13

2.2.3.3 เซนเซอรต์ รวจจบั วตั ถุเคร่ืองขยายสญั ญานขนาดเล็กในตวั E3Z
เครอ่ื งขยายสญั ญาน แบบฝัง Class แนวหนา้ ของอุตสาหกรรม ด้วย

ช่วงการตรวจจบั มี ชุดกรอง ป้องกันการรบกวนซงึ่ กนั และกนั

รปู ที่ 2.9 แสดงเซนเซอร์ตรวจจับวตั ถเุ ครือ่ งขยายสัญญานขนาดเล็กในตัว E3Z
2.2.4 ลกั ษณะของเซนเซอร์

2.2.4.1 ลักษณะพร็อกซมิ ิต้ีเซนเซอร์ รุน่ มาตรฐาน E2E
ลกั ษณะคล้ายกับสกรู จะตรวจจบั โลหะแม่เหล็ก ทิศทางการตรวจจับ

พ้นื ผวิ ดา้ นหนา้
2.2.4.2 ลกั ษณะเซนเซอร์ตรวจจับวตั ถุ E3T

ลักษณะการตรวจจบั ด้วย เซนเซอรต์ รวจจบั วัตถุ (โฟโตอิเลก็ ทริค
เซนเซอร)์ ตรวจจับ วัตถุทบึ แสง ใชแ้ รงดันไฟฟา้ 12-24 v
2.2.4.3 ลกั ษณะเซนเซอร์ตรวจจบั วัตถุเครือ่ งขยายสญั ญานขนาดเลก็ ในตวั E3Z

ลกั ษณะรูปทรงส่ีเหลีย่ ม ติดตัง้ ดว้ ยเครอ่ื งขยายสญั ญาณแบบฝัง
ความสงู ขนาดหวั 10.8 มม. ความกว้างสูงสดุ 20 มม.

14

2.3 งานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง

โชติกา ประภากุลธวัช และคณะ (2563) ได้กล่าวว่าโครงงานสิ่งประดิษฐ์นี้เป็น
การศึกษาโครงการครั้งนมี้ วี ัตถุประสงค์เพ่ือการทดสอบประสิทธิภาพของตู้กดน้ำ อัตโนมัติ
ด้วยระบบ IoT (Internet of Things) มีการออกแบบและพัฒนาตู้กดน้ำโดย ใช้บอร์ด
Node MCU ESP8266 Wi-Fi มาควบคุมระบบการใช้งานร่วมกับ RFID และ เซ็นเซอร์
อินฟราเรด (Infrared Sensor) แทนการใช้สวิตช์เปิด-ปิด มีระบบแสดง สถานะอุณหภูมิ
และปริมาณของนำ้ บนเว็บไซต์ตู้กดน้ำอัตโนมัติด้วยระบบ IoT (Internet of things) และ
ที่หน้าตู้กดน้ำ ช่วยอำนวยความสะดวกในการใช้บริการตู้ กดน้ำของคนในองค์กร ลดการ
เกิดอุบัติเหตุน้ำร้อนลวก ตู้กดน้ำมีขนาด ความกว้าง 16.5 นิ้ว, ความยาว 20 นิ้ว และ
ความสูง 50 นิ้ว

อุทัย ศรีษะนอก และคณะ (2561) ได้กล่าวว่า โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อ
ศกึ ษาการสรา้ งตู้กดน้ำอจั ฉรยิ ะ 2) เพื่อสร้างตู้กดนำ้ อจั ฉริยะ 3) เพื่อศึกษาความ พึงพอใจ
ของกลุ่มบุคคลที่เป็นผู้ประกอบการขายที่ใช้งานตู้กดน้ำ กลุ่มเป้าหมายเป็น บุคคลท่ี
ประกอบอาชีพค้าขาย ในตำบลมหาชัย อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร จำนวน 10 คน
เครื่องมือที่ใช้แบ่งออกเป็น 2 ด้าน คือ แบบประเมินประสิทธิภาพ ของตู้กดน้ำอัจฉริยะ
และดา้ นการประเมินความพึงพอใจใช้แบบสอบถามมาตราส่วน ประมาณ (Rating Scale)
5 ระดับ ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มผู้ประกอบการขายมีความ พึงพอใจต่อ ตู้กดน้ำอัจฉริยะ
โดยรวมอยใู่ นระดบั มาก มคี า่ เฉล่ยี = 4.48

หิรัญ เจตะภัย และคณะ (2560) ได้กล่าวว่าตู้น้ำอัตโนมัติจากเดิมต้องกดปุ่มหรือ
หมนุ ก๊อกน้ำจึงจะไหลออกกลุ่มผ้จู ัดทำโครงการได้คิดพฒั นาให้ตนู้ ้ำสามารถปล่อยน้ำ ไหล
ออกโดยอัตโนมัติ โดยที่ไม่ต้องกดปุ่มใด ๆ เพียงแค่นำภาชนะที่เตรียมไว้ให้แล้ว วางไว้
เท่านั้น น้ำจะไหลโดยอัตโนมัติ เพื่ออำนวยความสะดวกสำหรับผู้ที่ถือสัมภาระ มากและ
พัฒนาให้ดีขึ้นทันกับยคุ สมัยในปัจจบุ ัน

ชนน เพชรอาวุธ และคณะ (2563) ได้กล่าววา่ ต้นู ้ำด่ืมระบบเซ็นเซอร์ มี วตั ถปุ ระสงค์
1. เพ่ือพัฒนาตู้กดน้ำด่มื ท่ัวไปให้เปน็ ตนู้ ำ้ ดื่มอตั โนมัตโิ ดยระบบเซน็ เซอร์ เพอ่ื อำนวยความ
สะดวกให้บุคคลตามสถานทต่ี ่าง ๆ 2. เพื่อเพมิ่ การทำงานให้ตู้กดน้ำดืม่ มีประสิทธิภาพได้
ดีกว่าตู้กดน้ำด่ืมที่พบเห็นทัว่ ไป 3. เพื่อหาความพึงพอใจของผู้ใชง้ าน ต่อตู้น้ำดื่มอัตโนมัติ
โดยระบบเซน็ เซอร์ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนใน ชุมชนบา้ นทุ่งชน ตำบล
ควนกรด อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 20 คน โดยเฉพาะเจาะจง เพื่อใช้
ในการดำเนินโครงการ เครือ่ งมอื ทีใ่ ช้ในการทำโครงการ คอื ตู้ นำ้ ดืม่ อตั โนมัติโดยระบบ

15

เซ็นเซอร์ และแบบประเมินความพึงพอใจต่อการใช้งานตู้น้ำดื่ม อัตโนมัติโดยระบบ
เซ็นเซอร์ การวิเคราะห์ข้อมูลสถิติที่ใช้ คือ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D) การ
วิเคราะห์ข้อมูลวิเคราะห์โดยคอมพิวเตอร์สรุปผลความพึงพอใจได้ ดังนี้ ความพึงพอใจ
ระดับ ดี (คา่ เฉลี่ย = 4.06, S.D = 0.85)
พีรพล แสนย่าง และคณะ (2560) ได้กล่าวว่า โดยตู้ดื่มน้ำของโรงเรียนของอาตมา
นั้น เป็นตู้ดื่มน้ำธรรมดาทั่วไป เมื่อนักเรียนฉันเพลเสร็จแล้วต้องล้างถาดและจานของ
ตัวเองและ จะมากดน้ำดื่ม พวกเราเล็งเห็นว่ามือของพวกเราอาจจะไม่สะอาด หลังจาก
ล้างถาดและจานแลว้ มากดตู้กดน้ำดื่มมือเรามีท้ังเหงื่อหรือเช่ือโรคตา่ งๆมากมาย ท่ีติด อยู่
กับมือของพวกเรา ตอนกดนำ้ ดื่มเชื่อโรคเหล่านน้ั อาจจะไหลลงขณะท่ีเรากดตกู้ ด น้ำ เพ่ือ
ความสะดวกสบายและง่ายต่อการฉันน้ำจึงมแี นวคิดอยากทำตู้กดนำ้ อัจฉริยะ เราจึงคิดว่า
น่าจะเอา sensor ตรวจจับโลหะ มาแทนที่กดเพือ่ ความสะดวกและ ปลอดภัยต่อนักเรยี น
สามเณร และตู้ดื่มน้ำอัจฉริยะของเรายังมีการผสมสาร ไอโอดีน ผสมอยู่ด้วยโดยสาร
ไอโอดีนนั้นสำคัญต่อร่างกายของมนุษย์เป็นอย่างมาก เช่น ช่วย ส่งเสริมการเจริญเติบโต
ของร่างกาย หรือช่วยพัฒนาสมองควบคุมระบบประสาท ทำ ให้คิดไว และอ่านไวขึ้น
เนื่องจากสารไอโอดีนนั้นจะมีมากในจำพวกสัตว์ทะเลต่างๆ แต่ สามเณรไม่สามารถที่จะ
เลือกฉันอาหารเองได้ และเนื่องจากทาง ภาคเหนือซึ่ง ห่างไกล จากทะเล คนบางส่วนจึง
มักจะขาดสารไอโอดีน เด็กที่ขาดสารไอโอดีนจะมีการ เจริญเติบโตที่ไม่เต็มที่ และคนที่
ขาดสารไอโอดีน ภาวะร่างกายได้รับสารไอโอดีนไม่ เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
เป็นประจำ ซงึ่ มผี ลต่อการสรา้ งไทรอยดฮ์ อรโ์ มนทำใหเ้ กิดการเสียสมดลุ ในการควบคุมการ
ทำงานของต่อมไทรอยด์ ส่งผลกระทบ สุขภาพที่เรียกว่า ความผิดปกติของการขาดสาร
ไอโอดีน คือเกิดอาการคอพอก, ภาวะ ไทรอยด์ฮอร์โมนต่ำ, โรคเอ๋อ ซึ่งทำให้ระดับ
สติปัญญาพัฒนาด้อยกว่าปกติ และมี พัฒนาการทางร่างกายต่ำกว่าเกณฑ์ ดังนั้นพวก
กระผมจึงได้คิดค้นนวัตกรรมนี้ขึ้นมา เพื่อความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น จึงเป็นที่มาของ
โครงงาน

2.4 กรอบแนวคดิ ในการวิจัย 16

เ ตวั แปรต้น ตวั แปรตาม

ตู้กดน้ำ ตู้กดน้ำทค่ี วบคมุ ระบบ
เซน็ เซอร์ ตรวจจับแกว้
เพอ่ื เปิด-ปิด การจา่ ยน้ำ
และดูระดบั น้ำผ่าน
แอพพลเิ คชั่น blynk

รปู ท่ี 2.7 แสดงกรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย

บทที่ 3
วิธีดำเนินการวิจัย

ในการวิจัยครั้งนีม้ ีวัตถุประสงค์เพื่อ สร้างตู้กดน้ำอัตโนมัติ เพิ่มความสะดวกสะบายแก่ผูใ้ ชง้ าน
เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ห้อง 2 สาขาวิชา
เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทลั วิทยาลัยเทคนิคระยอง ที่มีต่อตู้กดน้ำอัตโนมัติ เผยแพร่ผ่านโครงการประกวด
โครงการวิชาชีพชมรมวชิ าเทคโนโลยีธุรกิจ ดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง ซึ่งคณะผู้วิจัยได้ดำเนินการ
ศกึ ษา ตามขนั้ ตอนดงั นี้

3.1 การสรา้ งเคร่อื งมือในการวิจยั

3.1.1 เครื่องมือที่ใช้ในการสร้าง ตู้กดน้ำอัตโนมัติ ได้แก่ Node Mcu V3 ,Infrared Sensor ,
Relay Module 5V ,Ultrasonic sensor , มอเตอร์ปั้มลม 5V 1ตัว , สายจัมเปอร์
ผู้-ผู้ ขนาด 10 cm. ,สายจมั เปอร์ เมีย-เมีย ขนาด 10 cm. ,แบตเตอร่ี 12V ,
แผ่นอะคริลิก , สวติ ซเ์ ปดิ ปิด , สายยางใส , พาวเวอรแ์ บงค์

3.1.2 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ห้อง 2
สาขาวิชาเทคโนโลยี ธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง เพื่อศึกษาความพึงพอใจของ
นักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ห้อง 2 สาขาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล
วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง

3.2 ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง

นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ห้อง 2 สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล
วิทยาลัยเทคนิคระยอง เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชน้ั ปที ี่ 3 ห้อง 2 สาขาเทคโนโลยีธรุ กิจดจิ ิทัล วิทยาลัยเทคนิค ระยอง

18

3.3 การดำเนนิ การทดลอง

การดำเนนิ การทดลอง มขี น้ั ตอนดังนี้
3.3.1 ขั้นเตรียม

3.3.1.1 สบื คน้ ข้อมลู ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั ตกู้ ดนอิ ัตโนมตั ิ อปุ กรณท์ ่ใี ช้ในการทำโปรเจค
3.3.1.2 เตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการสร้างชินงาน Node Mcu V3 ,Infrared Sensor ,

Relay Module 5 V ,Ultrasonic sensor , ม อ เ ต อ ร ์ ป ั ้ ม ล ม 5 V 1ต ั ว ,
สายจัมเปอร์ ผู้-ผู้ ขนาด 10 cm. ,สายจัมเปอร์ เมีย-เมีย ขนาด 10 cm. ,
แบตเตอร่ี 12V ,แผ่นอะคริลิก , สวติ ซเ์ ปิดปดิ , สายยางใส , พาวเวอรแ์ บงค์
3.3.2 ขัน้ ดำเนนิ การ
3.3.2.1 เตรียมอปุ กรณ์ทีใ่ ชใ้ นการทำงาน
3.3.2.2 ทำการตดั อะคริลคิ ให้ได้ส่วนตามที่ต้องการ และนำมาประกอบ
3.3.2.3 ตอ่ มอเตอร์ป้ัมลม 5V เข้ากับ แบตเตอรี่ 5V
3.3.2.4 ตอ่ วงจร Node Mcu V3 เข้ากบั ตวั Ultrasonic sensor
3.3.2.5 เขยี นโค้ดลงโปรเกรม
3.3.2.6 ทำการเช่อื มต่อกับแอป blynk
3.3.3 ข้นั ทดลองและนำไปใช้
3.3.3.1 นำน้ำดื่มบรรจุลงในภาชนะ
3.3.3.2 นำแก้วมาใกล้เพอื่ ทดสอบเซนเซอร์
3.3.3.3 ตรวจสอบมอเตอรป์ ้ัมน้ำและเซนเซอรว์ ่าทำงานหรือไม่
3.3.3.4 สามารถทำงานและใช้งานได้จริง

19

3.4 แผนผงั งาน

3.4.1 แผนผงั งานโครงงาน
เรม่ิ ต้น

ศกึ ษาข้อมูลเกยี่ วกับโครงงาน

วิเคราะห์ปัญหา

กำหนดอุปกรณแ์ ละข้อมลู การทำงาน แกไ้ ขปรบั ปรุง
ไมผ่ า่ น
ตอ่ อปุ กรณแ์ ละเขยี นโค้ด

ทดสอบการทำงาน
ทำงำนทผำงา่ น

ประเมินการทำงาน

จัดทำเอกสารโครงงาน

เรม่ิ ตน้
รปู ที่ 3.1 แสดงแผนผงั โครงงาน

20

3.4.2 แผนผงั ชิ้นงาน

เริม่ ต้น

ประกาศตัวแปร
Int sensor , Module pump

รบั ขอ้ มลู sensor
ตรวจจับวัตถุ

ประมวลผล ไมผ่ า่ น

ผา่ น
relay module

Pump off

pump on

จบการทำงาน
รปู ที่ 3.2 แสดงแผนผงั ช้นิ งาน

21

3.5 วงจรการทำงาน

รปู ท่ี 3.3 แสดงการตอ่ วงจร Ultrasonic sensor

รปู ที่ 3.4 แสดงการตอ่ วงจร Infrared Sensor

22

ตารางที่ 3.1 แสดงอปุ กรณ์

รปู อุปกรณ์ ชอ่ื อุปกรณ์ หนา้ ที่
Ultrasonic sensor
Infrared Sensor อุปกรณ์สำหรับวัดระดับหรือ
ระยะทางชนิดหนึ่งโดยใช้คลื่น
Ultrasonic
ตรวจจบั วตั ถใุ นระยะ ใกล้ๆ

Node Mcu V3 โมดูล wifi ภายในมีเฟิร์มแวร์
Breadboard ทํางานในลักษณะ Serial-to-
สายจั้มเปอร์ ผู้-ผู้ สีแดง WiFi ควบคุมการทำงาน
สายจั้มเปอร์ ผู้-ผู้ สีดำ เปน็ บอร์ดทใี่ ชท้ ดลองวงจร
สายจั้มเปอร์ ผู้-ผู้ สีเหลือง อเิ ล็กทรอนิกส์ ลักษณะเปน็
สายจ้มั เปอร์ ผู้-ผู้ สีม่วง แผน่ พลาสตกิ หนาสขี าว
สายจ้ัมเปอร์ เมยี -เมยี สเี ขียว เชอ่ื มตอ่ ช่อง vln ของ Node
mcu ไปยังชอ่ ง vcc ของตวั
Ultrasonic sensor
เชื่อมต่อช่อง Gnd ของ Node
mcu ไปยงั ช่อง Gnd ของตวั
Ultrasonic sensor
เช่อื มตอ่ ช่อง D1 ของ Node
mcu ไปยงั ชอ่ ง Trig ของตัว
Ultrasonic sensor
เชื่อมต่อช่อง D2 ของ Node
mcu ไปยังชอ่ ง Echo ของตัว
Ultrasonic sensor
เชื่อมตอ่ ช่อง D2 ของ Node
mcu ไปยังชอ่ ง Echo ของตัว
Ultrasonic sensor

23

ตารางที่ 3.1 แสดงอปุ กรณ์ (ตอ่ )

รูปอุปกรณ์ ช่อื อุปกรณ์ หน้าท่ี
มอเตอร์ปั้มลม12v
สวติ ซ์เปิดปิด ปั้มลมเข้าภาชนะและดันน้ำ
แบตเตอรี่ 12v ออกมา
relay module
เปิดมอเตอร์เมื่อใช้ง่นและปิด
มอเตอรเ์ มือ่ ไมไ่ ดใ้ ชง้ าน

แหล่งจ่ายไฟให้มอตเรอ์ปั้มน้ำ
ทำงาน

เชื่อมตัวสวิตซ์เปิดปิด มอเตอร์
ป้ัมลมใหท้ ำงานพร้อมกัน

3.6 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล

3.6.1 จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3
ห้อง 2 สาขาวชิ าเทคโนโลยธี ุรกจิ ดจิ ิทัลวทิ ยาลยั เทคนคิ ระยองท่ีมตี ่อตกู้ ดนำ้ อัตโนมัติ

3.6.2 อธิบายข้นั ตอนการทำงานของตกู้ ดน้ำอัตโนมัติและการทำแบบประเมนิ ความพงึ พอใจ
3.6.3 นำตกู้ ดนำ้ อัตโนมตั ิไปใชก้ บั กลุ่มตัวอยา่ งและทำการทดสอบตู้กดน้ำอัตโนมตั ิ
3.6.4 แจกแบบประเมนิ ความพึงพอใจของนกั ศึกษาระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชนั้ ปีที่3ห้อง2

สาขาวชิ าเทคโนโลยธี ุรกจิ ดจิ ิทัล วิทยาลัยเทคนคิ ระยองทีม่ ตี อ่ ตู้กดน้ำอตั โนมตั ิ และ
ทำการประเมินหลงั การใช้ตูก้ ดนำ้ อัตโนมัติ
3.6.5 นำข้อมลู มาวเิ คราะหส์ รุปอภิปรายผล

24

3.7 สถติ ทิ ่ีใช้และวธิ วี เิ คราะห์ขอ้ มูล

3.7.1 สถิตทิ ่ีใชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมลู ไดแ้ ก่ ค่ารอ้ ยละ (%) คา่ เฉล่ีย ( )
คา่ ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) ดังน้ี
3.7.1.1 ค่ารอ้ ยละ (%)
รอ้ ยละ = X 100

โดยท่ี
X แทน จำนวนท่ีต้องการหารอ้ ยละ
N แทน จำนวนข้อมลู ท้ังหมด

3.7.1.2 ค่าเฉลี่ย (Mean) โดยใช้สตู ร
̅ = ∑

โดยท่ี
̅ คือ ค่าเฉล่ีย
∑ คอื ผลรวมของคะแนนทัง้ หมด
คอื จำนวนท้ังหมด

3.7.1.3 ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดย ใช้สูตร

. . = √ ∑ 2−(∑ )2

( −1)

โดยท่ี S.D. คอื ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
∑ คอื ผลรวมทง้ั หมดของคะแนน
∑ 2 คือ ผลรวมของคะแนนยกกำลงั สองทั้งหมด
คือ จำนวนทงั้ หมด

3.7.2 วิธีการวิเคราะห์ขอ้ มูล
ข้อมูลทไ่ี ด้จากการรวบรวมจะดำเนินการแปลความหมายของค่าเฉล่ียในแตล่ ะดา้ น

โดยใชเ้ กณฑ์การประเมนิ แบ่งออกเป็น 5 ระดบั ดังน้ี
4.50 – 5.00 หมายถงึ มากทส่ี ุด
3.50 – 4.49 หมายถงึ มาก
2.50 – 3.49 หมายถึง ปานกลาง
1.50 – 2.49 หมายถงึ น้อย
1.00 – 1.49 หมายถึง นอ้ ยที่สดุ

หมายเหตุ : ต้องมคี ่าเฉลี่ยของข้อมูล 3.50 คะแนนข้นึ ไป จึงจะผา่ นเกณฑ์

บทท่ี 4
ผลการวิจัย

ผลจากการสร้าง ตู้กดน้ำอัตโนมัติ โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด จำนวน 18 คน สรุปได้
ดังน้ี

ตารางท่ี 4.1 แสดงจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ

รายการประเมนิ จำนวน (คน) รอ้ ยละ (%)
1.ชาย 5 27.78
2.หญงิ 13 72.22
รวม 18 100

จากตารางท่ี 4.1 สรปุ ได้วา่ จำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามเพศสว่ นใหญเ่ พศ
หญิงคดิ เปน็ ร้อยละ72.22ของจำนวนผู้แบบสอบถามท้ังหมดมากกวา่ เพศชาย คิดเป็นร้อยละ 27.78
ของจำนวนผู้ตอบแบบสอบถามท้ังหมดตามลำดับ

แผนภมู ิแสดงจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ

80 หญิง
70
60
50
40
30
20
10
0

ชาย

จาํ นวน (คน) รอ้ ยละ (%)

รูปท่ี 4.1 แผนภมู แิ สดงจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ

26

ตารางที่ 4.2 แสดงจำนวนของผ้ตู อบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ

รายการประเมนิ จำนวน (คน) ร้อยละ (%)
15 – 16 ปี 4 22.22
17 – 18 ปี 11 61.11
19 - 20 ปี 3 16.67
18 100
รวม

จากตารางท่ี 4.2 สรุปได้วา่ จำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามอายุส่วนใหญ่อายุ17-18
ปีคดิ เปน็ ร้อยละ61.11ของจำนวนผตู้ อบแบบสอบถามท้ังหมดอายุ 15–16 ปคี ิดเป็นรอ้ ยละ22.22 ของ
ผจู้ ำนวนผู้ตอบแบบสอบถามท้ังหมดและอายุ 19–20 ปคี ดิ เปน็ ร้อยละ16.67 ของผู้ตอบแบบสอบถาม
ท้งั หมดตามลำดับ

แผนภมู แิ สดงจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ

70

60

50

40

30

20

10

0 17 - 18 ปี 19 - 20 ปี

15 - 16 ปี

จํานวน (คน) รอ้ ยละ (%)

รปู ที่ 4.2 แผนภูมแิ สดงจำนวนของผ้ตู อบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ

27

ตารางที่ 4.3 แสดงความพึงพอใจดา้ นโครงสรา้ ง

รายการประเมิน ̅ S.D. แปลผล

1.ภาพรวมของตกู้ ดนำ้ อัตโนมัติมีความสมบูรณ์ 4.06 .64 มาก

2.ความแข็งแรงของตู้กดนำ้ อัตโนมตั ิ 4.17 .71 มาก

3.ขนาดของตู้กดนำ้ อัตโนมตั ิ 3.94 .66 มาก

4.ความทนทานของวสั ดุท่ีใช้ 4 .34 มาก

5.ชิน้ งานมีความสวยงามและน่าสนใจ 4.22 .65 มาก

รวม 4.08 .15 มาก

จากตารางที่ 4.3 สรุปได้ว่าผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจด้านโครงสร้างส่วนใหญ่มีความ
คิดเห็นอยู่ในระดับมาก ( ̅ =4.08, S.D.=.15) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อสรุปได้ว่าชิ้นงานมีความ
สวยงามและน่าสนใจ ( ̅ =4.22, S.D.=.65) ความแข็งแรงของตู้กดน้ำอัตโนมัติ ( ̅ =4.17, S.D.=.71)
ภาพรวมของต้กู ดน้ำอตั โนมัติมีความสมบูรณ์ ( ̅ =4.06, S.D.=.64) ตามลำดับ

แผนภมู ิแสดงจำนวนของผ้ตู อบแบบสอบถามด้านโครงสร้าง

4.5
4

3.5
3

2.5
2

1.5
1

0.5
0

ภาพรวม ความแขง็ แรง ขนาด ความทนทาน ความสวยงาม

x ̅ S.D.

รปู ท่ี 4.3 แผนภมู แิ สดงจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามด้านโครงสร้าง

28

ตารางท่ี 4.4 แสดงความพึงพอใจดา้ นการใชง้ าน

รายการประเมนิ ̅ S.D. แปลผล
1.ความสะดวกในการใชง้ านตู้กดน้ำอตั โนมัติ 4.06 .54 มาก
2.ความปลอดภยั ของตู้กดนำ้ อัตโนมัติ 4.33 .49 มาก
3.ความสามารถการตรวจจับแก้วน้ำ 4.17 .51 มาก
4.ความสามารถในการวัดระดับน้ำ 4.22 .55 มาก
4.19 .03 มาก
รวม

จากตารางที่ 4.4 สรปุ ได้ว่าผตู้ อบแบบสอบถามความพึงพอใจด้านการใช้งานสว่ นใหญ่มีความ
คิดเห็นอยู่ในระดับมาก ( ̅ =4.19, S.D.=.03) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อสรุปได้ว่าความปลอดภัยของตู้
กดน้ำอัตโนมัติ ( ̅ =4.33, S.D.=.49) ความสามารถการวัดระดับน้ำ ( ̅ =4.22, S.D.=.55)
ความสามารถในการตรวจจับแก้วน้ำ ( ̅ =4.17, S.D.=.51) ตามลำดับ

แผนภมู แิ สดงจำนวนของผูต้ อบแบบสอบถามด้านการใชง้ าน

5 ความปลอดภยั ความสามารถ ระดับน้าํ
4.5 x ̅ S.D.

4
3.5

3
2.5

2
1.5

1
0.5

0

ความสะดวก

รปู ที่ 4.4 แผนภมู ิแสดงจำนวนของผตู้ อบแบบสอบถามด้านการใชง้ าน

29

ตารางที่ 4.5 แสดงความพึงพอใจด้านความคุม้ ค่า

รายการประเมิน ̅ S.D. แปลผล
1.ระยะเวลทใ่ี ช้ในการทำตู้กดน้ำอัตโนมัติ 4.11 .47 มาก
2.ตู้กดน้ำอัตโนมัตสิ ามารถใช้งานได้จรงิ 4.28 .46 มาก
3.ความเหมาะสมของต้นทนุ 4.11 .58 มาก
4.17 .07 มาก
รวม

จากตารางท่ี 4.5 สรปุ ได้ว่า ผตู้ อบแบบสอบถามความพงึ พอใจด้านความคุ้มค่าสว่ นใหญ่มีความ
คิดเห็นอยู่ในระดับมาก ( ̅ =4.17, S.D.=.07) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อสรุปได้ว่าตู้กดน้ำอัตโนมัติ
สามารถใช้งานได้จริง ( ̅ =4.28,S.D.=.46) ความเหมาะสมของต้นทุน ( ̅ =4.11, S.D.=.58) ระยะเวล
ทใี่ ช้ในการทำตกู้ ดนำ้ อัตโนมตั ิ ( ̅ =4.11, S.D.=.47) ตามลำดับ

แผนภูมแิ สดงจำนวนของผ้ตู อบแบบสอบถามดา้ นความคุ้มคา่

4.5 ใช้งานได้จรงิ ตน้ ทุน
4 x ̅ S.D.

3.5
3

2.5
2

1.5
1

0.5
0

ระยะเวลาท่ีใช้

รปู ท่ี 4.5 แผนภูมิแสดงจำนวนของผตู้ อบแบบสอบถามดา้ นความคุม้ คา่

บทท่ี 5
สรุปผลการวิจยั อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

ในการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยดังนี้ 1) เพื่อสร้างตู้กดน้ำอัตโนมัติ เพื่อเพิ่มความ
สะดวกสะบายแก่ผู้ใช้งาน 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวชิ าชพี ช้นั ปี
ที่ 3 ห้อง 2 สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง ที่มีต่อตู้กดน้ำอัตโนมัติและ 3)
เพื่อเผยแพร่ผ่านโครงการประกวดโครงการวิชาชีพชมรมวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิค
ระยอง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ห้อง 2
สาขาวิชาเทคโนโลยี ธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ตู้กดน้ำ
อัตโนมัติ และ แบบสอบถามความพึงพอใจนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ห้อง 2
สาขาวิชาเทคโนโลยีธรุ กจิ ดิจิทัล วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยองทีม่ ตี ่อตกู้ ดนำ้ อัตโนมตั ิ

5.1 สรปุ ผลการวจิ ัย
5.1.1 จำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามเพศส่วนใหญ่เพศหญิงคิดเป็นร้อยละ72.22

ของจำนวนผู้แบบสอบถามทั้งหมดมากกว่าเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 27.78 ของจำนวนผู้ตอบ
แบบสอบถามท้งั หมดตามลำดบั

5.1.2 จำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามอายุส่วนใหญ่อายุ17-18ปีคิดเป็นร้อยละ
61.11ของจำนวนผตู้ อบแบบสอบถามทั้งหมดอายุ 15–16 ปคี ดิ เป็นร้อยละ22.22 ของผู้จำนวนผู้ตอบ
แบบสอบถามทั้งหมดและอายุ 19–20 ปีคิดเป็นร้อยละ16.67 ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด
ตามลำดับ

5.1.3 ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจดา้ นโครงสร้างส่วนใหญ่มีความคิดเห็นอยูใ่ นระดับมาก
( ̅ =4.08, S.D.=.15) เมอ่ื พิจารณาเปน็ รายขอ้ สรุปไดว้ า่ ชน้ิ งานมีความสวยงามและนา่ สนใจ ( ̅ =4.22,
S.D.=.65) ความแข็งแรงของตู้กดน้ำอัตโนมัติ ( ̅ =4.17, S.D.=.71)ภาพรวมของตู้กดน้ำอัตโนมัติมี
ความสมบรู ณ์ ( ̅ =4.06, S.D.=.64) ตามลำดับ

5.1.4 ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจดา้ นการใช้งานส่วนใหญ่มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก
( ̅ =4.19, S.D.=.03) เมอื่ พิจารณาเปน็ รายขอ้ สรุปได้วา่ ความปลอดภัยของตูก้ ดน้ำอัตโนมตั ิ ( ̅ =4.33,
S.D.=.49) ความสามารถการวัดระดับน้ำ ( ̅ =4.22, S.D.=.55) ความสามารถในการตรวจจับแก้วน้ำ
( ̅ =4.17, S.D.=.51) ตามลำดบั

31

5.1.5 ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจด้านความคุ้มค่าส่วนใหญ่มีความคิดเห็นอยู่ในระดับ
มาก ( ̅ =4.17, S.D.=.07) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อสรุปได้ว่าตู้กดน้ำอัตโนมัติสามารถใช้งานได้จริง
( ̅ =4.28,S.D.=.46) ความเหมาะสมของต้นทุน ( ̅ =4.11, S.D.=.58) ระยะเวลที่ใช้ในการทำตู้กดน้ำ
อตั โนมัติ ( ̅ =4.11, S.D.=.47) ตามลำดับ

5.2 อภปิ รายผล
5.2.1 ไดต้ กู้ ดนำ้ อตั โนมัติ ทำงานโดยมอเตอร์ลม และ มีระบบเซน็ เซอรใ์ นการเปิดและปดิ
5.2.2 ไดค้ วามพึงพอใจของนักเรียนระดับชนั้ ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ ช้ันปที ่ี 3 ห้อง 2 สาขาวิชา

เทคโนโลยีธุรกจิ ดจิ ทิ ัล วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง ทีม่ ตี ่อตกู้ ดน้ำอตั โนมตั อิ ยใู่ นระดับดี
5.2.3 เพื่อเผยแพร่ โครงการประกวดโครงการวิชาชีพชมรมวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล ให้กัน

วิทยาลัยเทคนิคระยอง

5.3 ข้อเสนอแนะในการวจิ ัย
5.3.1 การเสนอแนะการนำเสนองานวิจัยไปใช้ประโยชน์
5.3.1.1 นำไปใชป้ ระโยชนด์ ้างเชงิ พานิชย์ เชน่ ผลการวจิ ัยทไ่ี ด้นำไปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์
ดา้ นการคา้ ขาย
5.3.1.2 นำไปใชป้ ระโยชนด์ ้างสำนกั งาน เพมิ่ ความสะดวกสบายในสำนกั งาน ในการกด
นำ้ ดืม่
5.3.2 การเสนอแนะการทำการวจิ ยั ต่อเนื่องหรอื วจิ ัยตอ่ ยอด
5.3.2.1 มีการขยายขนาดตกู้ ดน้ำเพื่อเพิม่ น้ำในบรรจุภณั ฑ์
5.3.2.2 มกี ารใสท่ ่ีทำความเย็นทำให้ตูก้ ดนำ้ อัตโนมัตสิ ามารถกดนำ้ แบบเย็นได้
5.3.2.3 เพ่มิ ขนาดสายยางและเครือ่ งปม๊ั ลมทำใหม้ ีความเรว็ ในการกดนำ้

32

บรรณานุกรม

(โชติกา ประภากุลธวัช และคณะ2563) ตู้กดน้ำอัตโนมัติด้วยระบบIoT ประเภท สิ่งประดิษฐ์ด้าน
นวัตกรรมซอฟต์แวร์และระบบสมองกลฝังตัว (Software & Embedded System Innovation)
สืบค้นวนั ที่ 5 กรกฎาคม 2564, เข้าได้จาก http://www.thaiinvention.net/

(ชนน เพชรอาวธุ และคณะ2563) ตูน้ ำ้ ด่มื ระบบเซ็นเซอร์สบื คน้ วนั ท่ี 6 กรกฎาคม 2564
เข้าได้จาก http://www.thaiinvention.net/

(ณชั พล ชนะสิทธิ์, 2020) ประเภทตู้กดน้ำ สืบคน้ เม่ือวันท่ี 18 สิงหาคม 2564 เขา้ ไดจ้ าก
https://bestreview.asia/best-appliances-water-dispenser-and-filter/

(นวภทั รา หนนู าค, 2555) หลักกการทำงานเซนเซอร์ตรวจจับแกว้ สบื ค้นเม่ือวันที่ 19 สงิ หาคม 2564
เข้าได้จาก http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/4340/sensor

(บรษิ ทั แฟค็ โตมาร์ท จำกัด, 2561) ความหมายเซนเซอร์ตรวจจบั แก้ว สบื ค้นเม่อื วันที่ 19 สิงหาคม
2564 เข้าได้จาก https://my.factomart.com/products/sensors/proximity-sensor

(สามเณรพรี พล แสนยา่ ง และคณะ2560) ตูก้ ดน้ำอตั โนมัติ สบื คน้ วันที่ 6 กรกฎาคม 2564
เขา้ ไดจ้ ากจาก https://www.princess-it-foundation.org/
(สำนักงานสขุ าภบิ าลอาหารและน้ำกรม, 2558) ความหมายของตู้กดนำ้ สืบค้นเมื่อวันที่ 17 สงิ หาคม
2564 เข้าได้จาก http://apps.hpc.go.th/dl/web/upFile/HAieZWqoHXVLHcOZRFCWeT
(สำนกั งานปลดั กระทรวงการอดุ มศึกษา ,2561) ประเภทของเซนเซอร์ สืบค้นเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม
2564 เข้าไดจ้ าก https://www.ops.go.th/main/index.php/knowledge-base/articlepr/1520-
sensor

(หริ ญั เจตะภยั และคณะ,2560) ตู้น้ำอตั โนมตั ิ สืบค้นวนั ท่ี 6 กรกฎาคม 2564 เข้าไดจ้ าก
http://www.thaiinvention.net/
(อทุ ยั ศรีษะนอก และคณะ,2561) ตู้กดน้ำอจั ฉริยะ สบื ค้นวนั ที่ 5 กรกฎาคม 2564
เข้าไดจ้ ากจาก http://www.thaiinvention.net/

ภาคผนวก ก
(ว-สอศ-2)

แบบเสนอโครงการวจิ ยั สิง่ ประดิษฐ์ของคนรนุ่ ใหม่
(ว-สอศ-2)

ประจำปกี ารศึกษา 2564
ปีพุทธศักราช 2563 - 2564

ผลงานสิ่งประดิษฐป์ ระเภทท่ี 6
ส่งิ ประดษิ ฐน์ วตั กรรมซอฟตแ์ วร์และระบบสองกลฝังตวั

ตกู้ ดนำ้ อัตโนมตั ิ

วิทยาลัยเทคนคิ ระยอง
อาชีวศึกษาจงั หวดั ระยอง
สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

กระทรวงศึกษาธกิ าร

สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา แบบ ว-สอศ-2

(สำหรับนกั เรยี น นักศกึ ษา)

แบบเสนอโครงการวจิ ยั ส่ิงประดษิ ฐ์ของคนรุ่นใหม่ “สุดยอดนวัตกรรมอาชีวศกึ ษา”

การประกวดสง่ิ ประดิษฐ์ของคนรนุ่ ใหม่ ประจำปกี ารศึกษา 2564

ปีพุทธศักราช 2563 - 2564
......................................................................

ชือ่ ผลงานวิจยั (ภาษาไทย) ตู้กดน้ำอัตโนมตั ิ
(ภาษาองั กฤษ) Automatic Water Dispenser

ชือ่ สถานศกึ ษา วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง อาชวี ศกึ ษา จังหวัดระยอง
ที่อยู่ 086/13 ถ.ตากสินมหาราช ตำบล ท่าประดู่ อำเภอ เมืองระยอง จังหวดั ระยอง
เบอรโ์ ทรศัพท์ 038-611192 E-mail : [email protected]

ส่วน ก : ลกั ษณะงานวจิ ัย  งานวิจัยต่อเนอื่ งระยะเวลา..........…..ปี
 งานวจิ ัยใหม่

ความสอดคล้องระดบั ชาติ
1. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาตฉิ บับท่ี 12
ยทุ ธศาสตร์ สร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแขง่ ขันได้อย่างยั่งยืน
2. นโยบายและยทุ ธศาสตร์การวิจยั ของชาติฉบับที่ 9
ยทุ ธศาสตร์ สง่ เสรมิ กลไกและกจิ กรรมการนำกระบวนการวจิ ยั ผลงานวจิ ัย
องคค์ วามรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยีจากงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์ได้จริง
โดยความรว่ มมือของภาคสว่ นตา่ ง ๆ
3. ยุทธศาสตร์การวจิ ัยของชาตริ ายประเด็น
ยุทธศาสตร์ การพัฒนาเทคโนโลยี
4. ยทุ ธศาสตร์ประเทศ
ยุทธศาสตร์ การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วจิ ยั และนวัตกรรม
5. นโยบายรัฐบาล/เป้าหมายของรฐั บาล
นโยบาย/เป้าหมาย การพัฒนาและส่งเสรมิ การใชป้ ระโยชน์จากวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี การวจิ ยั และพัฒนานวัตกรรม

ความสอดคล้องระดับกระทรวง
1. นโยบายของรฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ
นโยบาย การศึกษาเพ่อื อาชีพและสรา้ งขีดความสามารถในการแข่งขันของ
ประเทศ
2. ยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงศกึ ษาธิการ
ยุทธศาสตร์ ผลติ และพฒั นากำลังคน รวมทง้ั งานวจิ ัยท่สี อดคลอ้ งกบั ความ
ตอ้ งการของประเทศ
3. ยุทธศาสตร์สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
ยทุ ธศาสตร์ ดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน

ความสอดคล้องระดับสว่ นภูมิภาค
1. ยทุ ธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก
ยุทธศาสตร์ ส่งเสริมและพฒั นาอตุ สาหกรรมใหเ้ ป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
2. จังหวัดระยอง
ยทุ ธศาสตร์ การพฒั นาความเป็นเลิศดา้ นการศึกษา ศาสนา ศลิ ปวัฒนธรรม
ภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ และการกฬี า
3. พนั ธกจิ หรอื นโยบายของสถานศึกษา/สถาบันการอาชีวศกึ ษา
พนั ธกิจหรอื นโยบาย มกี ารวจิ ยั และพัฒนาเพ่ือสง่ ผลไปสคู่ วามเข้มแขง็ ของ
สถาบันและชมุ ชนให้สอดคล้องกับภูมปิ ญั ญาของทอ้ งถิน่

โครงการวจิ ัยน้ี สามารถนำไปเผยแพรแ่ ละขยายผลไปสู่การใชป้ ระโยชนไ์ ด้
 เชงิ นโยบาย (ระบ)ุ .................................................................................
 เชิงพาณชิ ย์ (ระบุ) นำไปทำเป็นธรุ กิจสง่ ออกขายได้
 เชงิ วชิ าการ (ระบ)ุ .................................................................................
 เชิงพื้นท่ี (ระบ)ุ ......................................................................................
 เชิงสาธารณะ/สงั คม (ระบ)ุ ...................................................................
 อืน่ ๆ (ระบุ) ...........................................................................................

ภาพแบบร่าง/หรือภาพผลงานส่ิงประดษิ ฐ์

สว่ น ข : องคป์ ระกอบในการจดั ทำโครงการวิจัย
1. ผู้รบั ผดิ ชอบประกอบดว้ ย
1.1 หัวหนา้ ทมี โครงการวจิ ัย
นายนนั ทกร โชติชว่ ง ตำแหน่ง ออกแบบและพฒั นาระบบกดน้ำอัตโนมตั ิ
ท่อี ยู่ 54/11 ซ.ไพศาล ต.มาบตาพุด อ.เมอื งระยอง จ.ระยอง
เบอร์โทรศพั ท์ 062-6437437 E-mail : [email protected]
1.2 นักวจิ ยั รุน่ ใหม/่ คณะผรู้ ว่ มวจิ ยั
1.2.1 นายวชริ วทิ ย์ วาณชิ ววิ ัฒน์ ตำแหน่ง จดั ทำรูปเลม่
ระดบั ชนั้ ปวส.2 สาขาวชิ าเทคโนโลยธี รุ กิจดิจทิ ัล
1.3 คณะผ้รู ว่ มวจิ ัย/ท่ปี รึกษาโครงการวจิ ัย
1.3.1 นายมงคล พรมประเสริฐ
ตำแหนง่ ครูพิเศษสอน
แผนกวชิ า เทคโนโลยีธรุ กจิ ดจิ ทิ ลั สาขาวชิ าทเี่ ชี่ยวชาญ คอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ
1.3.2 นางสาวอัจฉราภรณ์ เกล้ียงพรอ้ ม
ตำแหนง่ ครูอัตราจ้าง
แผนกวชิ า เทคโนโลยีธุรกจิ ดจิ ทิ ัล สาขาวิชาทเ่ี ชย่ี วชาญ คอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ
1.4 หนว่ ยงานหลกั วิทยาลยั เทคนคิ ระยอง ทอี่ ยู่ เลขท่ี 086/13 ถ.ตากสินมหาราช
ต.ทา่ ประดู่ อ.เมอื งระยอง จ.ระยอง เบอรโ์ ทรศพั ท์ 038-611192

1.5 หนว่ ยงานสนบั สนนุ (ถ้าม)ี
1.5.1 หน่วยงานภาครฐั
1.5.2 หน่วยงานภาคเอกชน…………......………………………………………………………..

1.6 อ่นื ๆ…………………………………………………………………………………………………………

2. ประเภทการวจิ ัย
 การวจิ ยั และพัฒนา (research and development)

3. สาขาวชิ าการ/ประเภทสง่ิ ประดิษฐข์ องคนรุ่นใหม่
 สิ่งประดษิ ฐ์และนวัตกรรมที่ทำการวจิ ัย ประเภทที่ 1
ส่งิ ประดษิ ฐ์ด้านพัฒนาคุณภาพชวี ติ
 สิ่งประดษิ ฐ์และนวัตกรรมที่ทำการวจิ ยั ประเภทท่ี 2
สง่ิ ประดิษฐ์ด้านการประกอบอาชพี
 ส่ิงประดษิ ฐ์และนวัตกรรมที่ทำการวิจัย ประเภทที่ 3
สง่ิ ประดิษฐ์ดา้ นเพอื่ การอนุรักษ์พลังงาน
 สง่ิ ประดิษฐแ์ ละนวตั กรรมที่ทำการวจิ ัย ประเภทที่ 6
สิ่งประดิษฐ์ด้านนวัตกรรมซอฟต์แวรแ์ ละระบบสมองกลฝังตัว
 สง่ิ ประดษิ ฐแ์ ละนวตั กรรมที่ทำการวจิ ยั ประเภทท่ี 9
สงิ่ ประดษิ ฐ์ประเภทกำหนดโจทย์ : Mini Smart Farms
4. คำสำคญั (keywords) ของการวิจัย
4.1 ตู้กดนำ้ อัตโนมตั ิ หมายถงึ ตกู้ ดนำ้ โดยใชเ้ ซ็นเซอรแ์ ทนการกดด้วยนว้ิ มอื
4.2 เซ็นเซอรต์ รวจจับแกว้ หมายถึง เปน็ เซนเซอรท์ ่ีสามารถทำการตรวจจับได้โดย
ตวั เซ็นเซอรไ์ มต่ ้องสัมผัสกบั ตัววตั ถแุ ละยังสามารถตรวจจับได้ท้ังโลหะและ
อโลหะเช่น กระดาษ ขวด แก้ว พลาสตกิ
5. ความสำคญั และท่ีมาของปัญหาที่ทำการวิจยั
นำ้ เป็นส่วนประกอบทสี่ ำคัญของผวิ โลกและมีอยู่ในสิง่ มีชวี ติ ทุกชนิด ทั้งมนุษย์น้ำ
มีความจำเป็นต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิดโดยเฉพาะ มนุษย์ซึ่งจำเป็นต้องใช้น้ำในการ
อุปโภคบริโภค มนุษย์บริโภคน้ำเข้าไปในร่างกายและปล่อยน้ำออกจากร่างกาย
มากกว่าสารอื่นๆ น้ำเป็นส่วนสำคัญของเนื้อเยื่อเกือบทุกชนิดและยังทำหน้าที่เป็น
ตัวกลางสำหรับลำเลียงถ่ายเทสารอาหารและของเสียนอกจากนี้ยังช่วยช่วยรักษา
อณุ หภมู ิของร่างกายให้คงที่ รา่ งกายมนุษยป์ ระกอบด้วยน้ำประมาณ 70 เปอร์เซ็นต์
ของน้ำหนกั ตวั นอกจากนี้การใช้ประโยชน์ของน้ำสำหรับมนุษย์น้ัน ยังมีอีกมากมาย

หลายอย่าง ได้แก่ การใช้เพื่อชำระล้าง ร่างกายและเครื่องนุ่งห่ม ใช้ในการประกอบ
อาหาร การเกษตร การล้างทำความสะอาด ถนนและสาธารณะ สถานอื่น ๆ การ
พักผ่อนหย่อนใจ การอุตสาหกรรม การขับเคลื่อนสิ่งสกปรก การผลิตกระแสไฟฟ้า
พลังน้ำ การคมนาคม และการป้องกันอัคคีภัย จึงนับว่าน้ำเป็นทรัพยากรที่มี
ประโยชน์มากมายต่อมนุษย์

ความเป็นไปได้ของโครงการ จะสามารถบรรลุเป้าหมาย เนื่องจากกลุ่มกระผม
ตระหนักถงึ ปัญหาที่ตามมา เน่ืองจากเราอยูใ่ นยุคทม่ี ีโรคภยั ต่างๆ จึงอยากผูค้ นไดล้ ด
การสมั ผสั จากมือโดยตรงจึงคิดค้น นวตั ถกรรมน้ขี ึ้นมาเพ่ือตอบสนองผู้บริโภคน้ำดื่ม
โดย นางสาวอัจฉราภรณ์ เกลี้ยงพร้อม และนายมงคล พรมประสริฐ ครูที่ปรึกษาที่
คอย ให้การสนับสนุนและใหค้ ำปรึกษาเมื่อโครงงานสำเร็จจึงส่งผล ทำให้มีถังขยะที่
มีสภาพพร้อมใช้งานและมีประสิทธิภาพ ทำให้เกิดสภาพแวดล้อมที่ดี สะอาดเป็น
ระเบยี บเรียบร้อย รวมไปถงึ การตอบสนองความต้องการของมนุษยใ์ นยุค ปจั จุบนั

ดังนั้น ผู้จัดทำจึงได้คิดค้นนวัตถกรรมจากสิ่งที่มีอยู่ คือ ตู้กดน้ำโดยใช้ระบบ
เซ็นเซอร์มาเป็นตัวช่วยในการเปิด-ปิด โดยมีแอพพลิเคชั่น blynk ในการดูปริมาณ
น้ำภายในตู้กดน้ำ เพื่อให้เรานั้นได้มีเทคโนโลยีที่ใช้ได้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ จึง
ใช้ระบบเซอร์มาติดตั้งกับตู้กดน้ำ เพื่อช่วยให้มีความสะดวกมากขึ้น และลดการ
สำผัสปลอดภยั จากเชื้อโรคตา่ งๆได้
6. วัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั
6.1 เพื่อสรา้ งตู้กดนำ้ อตั โนมัติ เพ่ือเพิ่มความสะดวกสะบายแก่ผูใ้ ช้งาน
6.2 เพ่อื ศึกษาความพงึ พอใจของนักเรียนระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชั้นปีที่ 3 ห้อง

2 สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกจิ ดจิ ทิ ลั วิทยาลัยเทคนิคระยอง ทมี่ ีต่อตู้กดน้ำ
อตั โนมตั ิ
6.3 เพื่อเผยแพร่ผ่านโครงการประกวดโครงการวิชาชพี ชมรมวชิ าเทคโนโลยีธรุ กจิ
ดจิ ทิ ัล วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง
7. ขอบเขตของการวจิ ัย
7.1 ขอบเขตด้านเนอื้ หา
7.1.1 ศึกษาการทำงาน ของระบบเซ็นเซอรว์ า่ สามารถทำงานควบคู่นวตั ถกรรม
กับ

โครงงานของเราได้หรือไม่
7.1.2 ศกึ ษาการทำงานของมอเตอร์ป้มั ลมวา่ ทำงานอย่างไร และนำมาใช้งานกบั

นวตั กรรม

7.2 ขอบเขตดา้ นประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง
นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ห้อง 2 สาขาวิชา

เทคโนโลยธี รุ กิจดิจทิ ัล วิทยาลัยเทคนคิ ระยอง เพื่อศกึ ษาความพึงพอใจของนักเรียน
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ห้อง 2 สาขาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล
วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง
7.3 ขอบเขตด้านเวลา

เดือนมถิ นุ ายน 2564 – เดือนกันยายน 2564
8. ทฤษฎี สมมตุ ิฐาน (ถ้าม)ี และกรอบแนวความคิดของการวจิ ัยหรอื แบบร่าง

ตัวแปรตน้ คอื ต้กู ดน้ำ
ตวั แปรตาม คือ ตกู้ ดนำ้ ที่ควบคุมระบบเซน็ เซอร์ ตรวจจับแก้ว เพื่อเปิด-ปิดการจ่าย

น้ำและดรู ะดับน้ำผา่ นแอพพลิเคชั่น blynk
ตวั แปรควบคมุ คือ แอพพลิเคชนั่ blynk
9. การทบทวนวรรณกรรม/สารสนเทศ (information) ท่เี ก่ยี วข้อง

โชติกา ประภากุลธวัช และคณะ (2563) ได้กล่าวว่าโครงงานสิ่งประดิษฐ์นี้เป็น
การศึกษาโครงการครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการทดสอบประสิทธิภาพของตู้กดน้ำ
อัตโนมัติด้วยระบบ IoT (Internet of Things) มีการออกแบบและพัฒนาตู้กดน้ำ
โดยใช้บอรด์ Node MCU ESP8266 Wi-Fi มาควบคมุ ระบบการใช้งานร่วมกับ RFID
และเซ็นเซอร์อินฟราเรด (Infrared Sensor) แทนการใช้สวิตช์เปิด-ปิด มีระบบ
แสดงสถานะอุณหภูมิและปริมาณของน้ำบนเวบ็ ไซต์ตู้กดน้ำอัตโนมัติด้วยระบบ IoT
(Internet of things) และทีห่ น้าตู้กดน้ำ ชว่ ยอำนวยความสะดวกในการใช้บริการตู้
กดน้ำของคนในองค์กร ลดการเกิดอุบัติเหตุน้ำร้อนลวก ตู้กดน้ำมีขนาด ความกว้าง
16.5 นิว้ , ความยาว 20 นิ้ว และความสูง 50 นว้ิ

อุทยั ศรษี ะนอก และคณะ (2561) ไดก้ ล่าววา่ โครงการนมี้ ีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1)
เพื่อศึกษาการสร้างตู้กดน้ำอัจฉริยะ 2) เพื่อสร้างตู้กดน้ำอัจฉริยะ 3) เพื่อศึกษา
ค ว า ม พ ึ ง พ อ ใ จ ข อ ง ก ล ุ ่ ม บ ุ ค ค ล ท ี ่ เ ป ็ น ผ ู ้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ข า ย ท ี ่ ใ ช ้ ง า น ต ู ้ ก ด น้ ำ
กลุ่มเป้าหมายเป็นบุคคลที่ประกอบอาชีพค้าขาย ในตำบลมหาชัย อำเภอเมือง
จังหวัดสมุทรสาคร จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้แบ่งออกเป็น 2 ด้าน คือ แบบ
ประเมินประสิทธิภาพของตู้กดน้ำอัจฉริยะและด้านการประเมินความพึงพอใจใช้
แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณ (Rating Scale) 5 ระดับ ผลการวิจัยพบว่า
กลุ่มผู้ประกอบการขายมีความพึงพอใจต่อ ตู้กดน้ำอัจฉริยะ โดยรวมอยู่ในระดับ
มาก มคี า่ เฉลยี่ = 4.48

หิรัญ เจตะภัย และคณะ (2560) ได้กล่าวว่าตู้น้ำอัตโนมัติ จากเดิมต้องกดปุ่ม
หรือ หมุนก๊อกน้ำจึงจะไหลออกกลุ่มผู้จัดทำโครงการได้คิดพัฒนาให้ตู้น้ำสามารถ
ปล่อยน้ำไหลออกโดยอัตโนมัติ โดยที่ไม่ต้องกดปุ่มใด ๆ เพียงแค่นำภาชนะที่เตรียม
ไว้ ให้แล้ววางไว้เท่านั้น น้ำจะไหลโดยอัตโนมัติ เพื่ออำนวยความสะดวกสำหรับผู้ท่ี
ถือสมั ภาระมากและพฒั นาใหด้ ขี ้นึ ทนั กบั ยุคสมยั ในปจั จุบนั

ชนน เพชรอาวุธ และคณะ (2563) ได้กล่าวว่าตู้น้ำดื่มระบบเซ็นเซอร์ มี
วตั ถุประสงค์ 1. เพอื่ พฒั นาตู้กดน้ำดื่มทวั่ ไปให้เป็นตนู้ ้ำด่ืมอัตโนมตั ิโดยระบบเซ็นเซอร์
เพื่ออำนวยความสะดวกให้บุคคลตามสถานที่ต่าง ๆ 2. เพื่อเพิ่มการทำงานให้ตู้กดน้ำ
ดื่มมีประสิทธิภาพได้ดีกว่าตู้กดน้ำดื่มที่พบเห็นทั่วไป 3. เพื่อหาความพึงพอใจของ
ผู้ใช้งานต่อตู้น้ำดื่มอัตโนมัติโดยระบบเซ็นเซอร์ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง คือ
ประชาชนในชุมชนบ้านทุ่งชน ตำบลควนกรด อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช
จำนวน 20 คน โดยเฉพาะเจาะจง เพื่อใช้ในการดำเนินโครงการ เครื่องมือที่ใช้ในการ
ทำโครงการ คือ ตู้น้ำดื่มอัตโนมัติโดยระบบเซ็นเซอร์ และแบบประเมินความพึงพอใจ
ต่อการใช้งานตู้น้ำดื่มอัตโนมัติโดยระบบเซ็นเซอร์ การวิเคราะห์ข้อมูลสถิติที่ใช้ คือ
ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) การวิเคราะห์ข้อมูลวิเคราะห์โดยคอมพิวเตอร์
สรุปผลความพงึ พอใจไดด้ งั นี้ ความพึงพอใจระดบั ดี (ค่าเฉล่ีย = 4.06, S.D = 0.85)

พีรพล แสนย่าง และคณะ (2560) ได้กล่าวว่า โดยตู้ดื่มน้ำของโรงเรียนของ
อาตมานั้น เป็นตู้ดืม่ นำ้ ธรรมดาทัว่ ไป เมื่อนักเรียนฉันเพลเสร็จแล้วตอ้ งล้างถาดและ
จานของตัวเองและ จะมากดน้ำดื่ม พวกเราเล็งเห็นว่ามือของพวกเราอาจจะไม่
สะอาด หลังจากล้างถาดและจานแล้วมากดตู้กดน้ำดื่มมือเรามีทั้งเหงื่อหรือเชื่อโรค
ต่างๆมากมาย ที่ติดอยู่กับมือของพวกเรา ตอนกดน้ำดื่มเชื่อโรคเหล่านั้นอาจจะไหล
ลงขณะที่เรากดตู้กดน้ำ เพื่อความสะดวกสบายและง่ายต่อการฉันน้ำจึงมีแนวคิด
อยากทำตู้กดน้ำอัจฉริยะเราจึงคิดว่าน่าจะเอา sensor ตรวจจับโลหะ มาแทนที่กด
เพอื่ ความสะดวกและปลอดภยั ต่อนักเรียนสามเณร และตู้ดมื่ น้ำอัจฉริยะของเรายังมี
การผสมสาร ไอโอดีนผสมอยู่ด้วยโดยสารไอโอดีนนั้นสำคัญต่อร่างกายของมนุษย์
เป็นอย่างมาก เช่น ช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตของร่างกาย หรือช่วยพัฒนาสมอง
ควบคมุ ระบบประสาท ทำให้คดิ ไว และอา่ นไวขน้ึ เนือ่ งจากสารไอโอดนี น้ันจะมีมาก
ในจำพวกสัตว์ทะเลต่างๆ แต่สามเณรไม่สามารถที่จะเลือกฉันอาหารเองได้ และ
เนื่องจากทาง ภาคเหนือซึ่ง ห่างไกลจากทะเล คนบางส่วนจึงมักจะขาดสารไอโอดีน
เด็กที่ขาดสารไอโอดีนจะมีการ เจริญเติบโตที่ไม่เต็มที่ และคนที่ขาดสารไอโอดีน
ภาวะร่างกายได้รับสารไอโอดีนไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกายเป็นประจำ

ซึ่งมีผลต่อการสร้างไทรอยด์ฮอร์โมนทำให้เกิดการเสียสมดุลในการควบคุมการ
ทำงานของต่อมไทรอยด์ ส่งผลกระทบ สุขภาพที่เรียกว่า ความผิดปกติของการขาด
สารไอโอดีน คือเกิดอาการคอพอก, ภาวะไทรอยด์ฮอร์โมนต่ำ, โรคเอ๋อ ซึ่งทำให้
ระดับสติปัญญาพัฒนาด้อยกว่าปกติ และมีพัฒนาการทางร่างกายต่ำกว่าเกณฑ์
ดงั นน้ั พวกกระผมจึงไดค้ ดิ ค้นนวตั กรรมนขี้ ้ึนมา เพ่ือความสะดวกสบายมากยง่ิ ขึน้ จงึ
เปน็ ท่ีมาของโครงงานนี้
10. การสืบคน้ ขอ้ มลู จากสทิ ธิบัตร
10.1 อตั โนมัติ
11. เอกสารอ้างอิงของการวิจัย
1. นางสาว โชตกิ า ประภากุลธวัช และคณะ(2563) ตูก้ ดนำ้ อตั โมัติด้วยระบบIoT

ประเภท สงิ่ ประดษิ ฐด์ า้ นนวัตกรรมซอฟตแ์ วรแ์ ละระบบสมองกลฝงั ตัว
(Software & Embedded System Innovation) สบื คน้ วันที่ 5 กรกฎาคม
2564, จาก
http://www.thaiinvention.net/
2. นายชนน เพชรอาวุธและคณะ(2563) ต้นู ำ้ ดมื่ ระบบเซน็ เซอรส์ ืบค้นวนั ที่ 6 กรกฎา
.คม 2564 จาก http://www.thaiinvention.net/
.3. สามเณรพีรพล แสนย่าง และคณะ(2560) ตกู้ ดน้ำอัตโนมัติสืบค้นวันที่6กรกฎาคม
2564 จาก https://www.princess-it-foundation.org/
4. นายหริ ัญ เจตะภยั และคณะ (2560) ตนู้ ำ้ อัตโนมตั ิ สืบค้นวันท่ี 6 กรกฎาคม 2564
จาก http://www.thaiinvention.net/
5. นายอทุ ยั ศรีษะนอก และคณะ ( 2561) ตู้กดนำ้ อัจฉรยิ ะ สืบคน้ วนั ที่ 5 กรกฎาคม
2564 จาก http://www.thaiinvention.net/
12. ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะได้รับ
12.1 ไดต้ ้กู ดน้ำอัตโนมตั ิ ทำงานโดยมอเตอร์ลมและมีระบบเซ็นเซอรใ์ นการเปดิ และ

ปิด
12.2 ไดค้ วามพึงพอใจของนักเรยี นระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชัน้ ปที ่ี 3 หอ้ ง 2

สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง ที่มีตอ่ ถังขยะอตั โนมัติ
เคลื่อนท่ีอยู่ในระดับดี
12.3 เพ่อื เผยแพร่ โครงการประกวดโครงการวชิ าชีพชมรมวชิ าเทคโนโลยธี รุ กจิ
ดจิ ิทัล ใหก้ ับวิทยาลยั เทคนิคระยอง