โครงงาน เครื่องดักยุง แบบ พอ เพียง

โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เครื่องดักจับยุง

      
ผู้จัดทำนางสาวเกศราภรณ์   มีเที่ยง

นางสาววราภรณ์     ผางดวงดี

                                      นายพีรพงษ์      แซ่ตั้ง

  อาจารย์ที่ปรึกษานางวิไลพร   ประเสริฐสิทธิโรงเรียนสักงามวิทยา     อำเภอคลองลาน   จังหวัดกำแพงเพชรสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่กำแพงเพชร  เขต 2รายงานนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย     กิตติกรรมประกาศ                 โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์  เรื่องเครื่องดักจับยุง  สำเร็จได้โดยได้รับความร่วมมือจากท่านผู้อำนวยการ นายชาญศักดิ์  กนกสิงห์  ที่เห็นความสำคัญของการพัฒนาและส่งเสริมด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยได้รับทั้งคำแนะนำ  และงบประมาณจนทำให้โครงงานลุล่วงไปด้วยดี                นอกจากนี้ผู้จัดทำได้รับการสนับสนุนและให้คำปรึกษาที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ชิ้นนี้  จากท่านอาจารย์สุรินทร์ เจดีย์  และนายอนันต์  บัวรมย์ ลูกจ้างประจำของโรงเรียนสักงามวิทยาที่มีความรู้ความสามารถด้านไฟฟ้า และให้คำปรึกษาเกี่ยวกับเครื่องดักจับยุง  จนกระทั่งถึงวิธีการศึกษาประสิทธิภาพของเครื่อง                ขอขอบคุณ อาจารย์วิไลพร  ประเสริฐสิทธิ์  ครูที่ปรึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์ที่กรุณาให้ความรู้และข้อเสนอแนะในการทำโครงงาน  เรื่องเครื่องดักจับยุง  สำเร็จลงได้ด้วยดี  คณะผู้จัดทำโครงงาน ฯจึงขอขอบคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้                                                                                                                                  คณะผู้จัดทำ                   ชื่อโครงงาน  เครื่องดักจับยุงระดับ             มัธยมศึกษาตอนปลายประเภท         สิ่งประดิษฐ์ผู้จัดทำ           1. นางสาวเกศราภรณ์   มีเที่ยง         2. นางสาววราภรณ์   ผางดวงดี         3. นายพีรพงษ์    แซ่ตั้งโรงเรียน        สักงามวิทยา   ตำบลสักงาม  อำเภอคลองลาน  จังหวัดกำแพงเพชร   62180ครูที่ปรึกษาโครงงาน     นางวิไลพร   ประเสริฐสิทธิ์ที่ปรึกษาพิเศษ    นายสุรินทร์  เจดีย์   นายอนันต์   บัวรมย์ààààààààààààààààààààà บทคัดย่อ                โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เครื่องดักจับยุง  ประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อใช้ดักจับยุงที่เป็นพาหะของโรค โรคที่มียุงเป็นพาหะและเป็นอันตราถึงแก่ชีวิตได้ ที่สามารถกำจัดยุงได้ปริมาณมาก กว่าอุปกรณ์ที่วางขายตามท้องตลาดที่เรียกว่า ไม้ตียุง และไม่เป็นอัตราเหมือนกับการใช้ยาจุดและยาฉีดกันยุง ซึ่งการประดิษฐ์อุปกรณ์ที่เรียกว่า  เครื่องดักจับยุงที่ประดิษฐ์ขึ้นมาเกิดจากการดัดแปลงมาจากไม้ตียุงที่มีขายตามท้องตลาด โดยนำหลอด แบล็คไลท์ (Black light) ที่มีคุณสมบัติเป็นแหล่งกำเนิดแสง ซึ่งให้แสงสีม่วงสำหรับล่อยุง และได้มีการศึกษา ดังนี้1.       ศึกษาการทำงานของไม้ตียุงที่มีขายในปัจจุบัน2.       ศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเครื่องดักจับยุงกับไม้ตียุงในปัจจุบัน               สารบัญเรื่อง                                                                                                                                                       หน้ากิตติกรรมประกาศ                                                                                                                               บทคัดย่อ                                                                                                                                                สารบัญ                                                                                                                                                  สารบัญตาราง                                                                                                                                       สารบัญรูปภาพ                                                                                                                                    บทที่ 1  บทนำ                ที่มาและความสำคัญของโครงการ                                                                                   1                จุดมุงหมายของการศึกษา                                                                                                   1                สมมติฐานของการศึกษา                                                                                                    1ขอบเขตของการศึกษา                                                                                                        2คำนิยามศัพท์เฉพาะ                                                                                                            2                สถานที่ทำการศึกษา                                                                                                            2บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง                                                                                                 3              บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีดำเนินการ                                                                                                                    วัสดุ อุปกรณ์                                                                                                                         7                วิธีดำเนินการทดลอง                                                                                                          7บทที่ 4  ผลการทดลอง                                                                                                                        8บทที่ 5 สรุปผลและอภิปรายผลการทดลอง                                                                                    9เอกสารอ้างอิงภาคผนวก            สารบัญตาราง                หน้าตารางที่ 1  แสดงเปรียบเทียบของเครื่องดักยุงกับไม้ตียุงที่ขายตามท้องตลาด                                                                8                               สารบัญรูปภาพ                                                                                                                                                                                หน้ารูปที่ 1 แสดงอุปกรณ์ต่าง ๆ                                                                                                                               10รูปที่ 2  แสดงอุปกรณ์และสารเคมีที่ใช้กำจัดยุง                                                                                             11รูปที่ 3  แสดงการทำฐานเครื่องดักจับยุง                                                                                                         12-13รูปที่ 4 แสดงอุปกรณ์การต่อวงจรไฟฟ้า                                                                                                          14รูปที่ 5 แสดงอุปกรณ์และขั้นตอนการประกอบตะแกรงลวด                                                                     15รูปที่ 6 แสดงอุปกรณ์ที่ประดิษฐ์พร้อมการใช้งาน                                                                                        16                                       บทที่1บทนำที่มาและความสำคัญของโครงงาน เนื่องจากสภาพดแวดล้อมบริเวณหมู่บ้านต่างๆ  ตำบล สักงาม  อำเภอคลองลาน    จังหวัดกำแพงเพชร  มีลักษณะเป็นพื้นที่ลาบลุ่มและมีป่าไม้มีความอุดมสมบูรณ์   คือ มีเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอุทยานแห่งชาติคลองลาน  จึงเป็นสาเหตุให้พบแมลงหลายชนิดทั้งในเวลากลางวันและกลางคืนและ หนึ่งในแมลงที่พบนั้นได้ชื่อว่าเป็นพาหะนำโรคร้ายที่คร่าชีวิตคนในหลายประเทศนั้นคือ  ยุง ในช่วงของฤดูฝนของทุกๆปีเป็นช่วงที่สัตว์หลายๆชนิดวางไข่และแพร่พันธุ์และเจริญเติบโตเป็นจำนวนมาก        แนวคิด            เครื่องดักยุงที่ประดิษฐ์ขึ้น  ได้แนวคิดมาจากไม้ตียุงที่มีวางขายตามท้องตลาด  แต่ไม้ตียุงที่วางขายนั้นส่วนใหญ่ประสบกับปัญหาว่าซื้อมาแล้ว ตียุงไม่ตาย อายุงานใช้งานน้อย  ราคาแพงแต่ประสิทธิภาพการทำงานต่ำ  ส่วนการประดิษฐ์โดยนำหลอดหลอดแบล็คไลท์ (Black light)       เป็นส่วนประกอบของเครื่องดักจับยุง โดยอาศัยความรู้จากการสังเกตที่ชาวบ้านนำหลอดแบล็คไลท์ (Black light ) มาล่อให้แมลงบินเข้ามาหาและตกลงไปในภาชนะรองรับ จุดมุ่งหมายของการมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า 1.  เพื่อศึกษาความชุกชุมของยุง 2.  เพื่อลดปริมาณยุงและแมลงร้ายให้ลดลง3.  เพื่อลดการใช้สารเคมีในการกำจัดยุงและแมลงต่างๆ4.   ศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเครื่องดักจับยุงกับไม้ตียุงในปัจจุบัน สมมติฐาน     เครื่องดักจับยุงสามารถดักจับยุงได้อย่างมีประสิทธิภาพ  และดีกว่าไม้ตียุงที่วางขายตามท้องตลาดทั่วไป     ขอบเขตของการศึกษา          ในการศึกษาครั้งนี้   ได้ทำการทดลองเครื่องดักจับยุงกับสถานที่ต่างๆ  บ้านผู้ประดิษฐ์และโรงเรียนสักงามวิทยา    จังหวัดกำแพงเพชร นิยามศัพท์เฉพาะ เครื่องดักจับยุง  หมายถึง  อุปกรณ์ที่ประดิษฐ์ขึ้นมาโดยที่ใช้แสงเพียงอย่างเดียวล่อให้ยุงบินเข้ามาหาและถูกช๊อตและตกลงไปในภาชนะรองรับ สถานที่ทำการศึกษา                 โรงเรียนสักงามวิทยา  และบ้านของผู้จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์ ประโยชน์ 1. ช่วยลดปริมาณของยุงภายในบ้านหรือสถานที่ต่างๆ2. ช่วยในการลดการใช้สารเคมี3. มีคุณภาพในการใช้งานทนทาน4. มีราคาถูก           บทที่2เอกสารที่เกี่ยวข้องยุงไข้เลือดออกชื่อพาหะนำโรค      ยุงพาหะนำโรคไข้เลือดออก
ชื่อวิทยาศาสตร์      Aedes aegypti   ( Scientific Name )      Aedes albopictus
ชื่อท้องถิ่น      ยุงลาย   Common Name      mosquito
ลักษณะสำคัญ

  • ชีววิทยาของพาหะนำโรค
  • นิเวศวิทยาของพาหะนำโรค
  •   อนุกรมวิธานของพาหนะนำโรค                                                                                                                    Aedes aegypti    เป็นยุงที่มีขนาดเล็กมีสีดำสลับขาว ตรงปล้องข้อต่อของขา มีลายขาวพาดขวาง ส่วนอกมีเกล็ดสีขาวลักษณะคล้ายเคียว
          
  •   ลักษณะคล้ายยุงลาย Ae. aegypti.   ต่างกันที่บนด้านหลังของส่วนอกมีเกล็ดสีขาวเป็นเส้นตรงอนุกรมวิธานของพาหะนำโรค

   ยุงพาหะนำโรคไข้สมองอักเสบ

  • อนุกรมวิธานของพาหะนำโรค

ยุงพาหะนำโรคไข้สมองอักเสบ