จริยธรรมมีความสำคัญต่อสิ่งแวดล้อมอย่างไร

เอกสารประกอบการสอนรายวชิ า จริยธรรมสิ่งแวดล้อม environmental ethics ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุพมิ ล ศรศักดา สาขาวชิ าสงั คมศึกษา วทิ ยาเขตอบุ ลราชธานี มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั

เอกสารประกอบการสอนรายวชิ า จริยธรรมสิ่งแวดล้อม environmental ethics ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุพมิ ล ศรศักดา พธ.บ.(สังคมศึกษา), กศ.ม.(บริหารการศึกษา) สาขาวชิ าสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตอบุ ลราชธานี

คำนำ เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ๒๐๓ ๓๑๓ จรยิ ธรรมส่ิงแวดล้อม (environmental ethics) ไดพ้ ัฒนาจากเลม่ เดิม เพื่อให้สอดคลอ้ งกับขอบข่ายท่ีได้กาหนดไวม้ คี วามสมบูรณด์ ้านเนื้อหา สาระทงั้ หมด ประกอบดว้ ย ปัญหาและการแกป้ ัญหาทส่ี ัมพนั ธก์ บั จรยิ ธรรมสิ่งแวดล้อม การวเิ คราะหแ์ ละการให้คณุ คา่ สง่ิ แวดลอ้ มโดยใชข้ นบธรรมเนยี มประเพณีและทฤษฎจี ริยธรรมส่ิงแวดล้อม แนวคดิ การพฒั นาท่ยี ั่งยืนท่ีมสี ่วน ร่วมของชุมชนท้องถิน่ เพื่อแก้ไขปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มและความขดั แย้งทางสงั คมอันเน่ืองมาจากการใชป้ ระโยชน์ จากทรพั ยากรธรรมชาติ สาระเหล่านมี้ คี วามสาคญั ต่อทุกคน ทุกเพศ ทุกวัย เพราะสิ่งแวดล้อมท่ีเปน็ ทรัพยากรธรรมชาตนิ ับวนั แตจ่ ะหมดส้ินไป คนยคุ ใหม่กาลังไดร้ บั ผลกระทบที่เกิดจากพัฒนาการทางเทคโนโลยี วิธกี ารหลักแหง่ คุณธรรม ในการท่ีจะกอ่ ให้เกิดความสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม สามารถศกึ ษาได้จาก เอกสารเลม่ น้ี คณุ ประโยชนอ์ นั เกิดจากการเผยแพร่ความรู้เก่ยี วกับสง่ิ แวดลอ้ มนี้ ขออุทิศใหแ้ ก่บรรพบรุ ุษ บูรพาจารย์ ผ้ปู ระสทิ ธิป์ ระสาทวิชาความร้ใู ห้ หวงั เปน็ อย่างยิ่งวา่ เอกสารเลม่ นี้ คงจะเป็นประโยชนเ์ พอ่ื การศกึ ษาค้นควา้ นาไปสูก่ ารพัฒนาที่ย่งั ยนื ต่อไปในอนาคต ผชู้ ่วยศำสตรำจำรย์สุพิมล ศรศกั ดำ มหำวทิ ยำลัยมหำจฬุ ำลงกรณรำชวทิ ยำลัย วิทยำเขตอบุ ลรำชธำนี

1 บทท่ี ๑ ความรพู้ น้ื ฐานเก่ียวกับจริยธรรมสิง่ แวดลอ้ ม ขอบข่ายการศึกษา ๑.ความหมายและประเภทของจริยธรรม ๒.ความหมายและประเภทของสงิ่ แวดลอ้ ม ๓.ความสมั พนั ธข์ องจรยิ ธรรมสิ่งแวดลอ้ ม ๔.แนวคดิ เก่ียวกับจรยิ ธรรมส่ิงแวดล้อม เมอ่ื ประชากรของโลกเกิดมามีชวี ิตอยบู่ นโลก ธรรมชาติไดส้ ร้างสิง่ แวดล้อมท่ีเหมาะสมที่สุดไวใ้ หแ้ ลว้ แต่โดยทเี่ รามสี มองแทนเขยี้ วเลบ็ ท่สี ตั ว์มีไว้เพ่อื การใช้ชวี ติ อยู่ได้ในโลก จึงทาให้มีการคดิ ค้นแสวงหาประโยชน์ จากธรรมชาติให้มากท่สี ดุ เทา่ ท่จี ะมากได้ ซ่ึงหากว่าประชากรของโลกจะมีจานวนเท่าเดิม หรอื อย่างน้อยก็น้อย กวา่ เทา่ ทม่ี ีอยู่ในปัจจุบนั สักเพียงครงึ่ เดยี วการจัดการกบั ธรรมชาติของประชากรโลกกค็ งไมก่ ระทบกระเทือน กับธรรมชาตมิ ากนัก แตท่ ี่เปน็ คนอยู่ในวนั นีก้ ็คือว่า ประชากรของโลกไดเ้ พ่ิมขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ และมากจนต้อง อย่กู นั อย่างแออดั ในที่ ๆ เหมาะสมต่อการดารงชวี ิตอยู่ และต่างไดจ้ ดั การกับธรรมชาตโิ ดยขาดความ ระมัดระวัง จนถงึ วนั นป้ี ระชากรโลกไม่อาจเลือกสง่ิ แวดลอ้ มท่ีดกี ว่าน้ีได้ เพราะความเจริญก้าวหน้าทาง เทคโนโลยยี งั คงก้าวไปอย่างไม่หยุดย้ังควบคู่กับการเพม่ิ ข้นึ ของประชากรโลก และนอกจากน้นั คา่ นิยมของ สังคมไดบ้ ีบบังคบั ใหป้ ระชากรต้องแข่งขนั กันในการดารงอยู่ จนกลายเปน็ ความฟุ่มเฟือย และเมอ่ื แตล่ ะคนแต่ ละครอบครวั ไดส้ ่งั สมคา่ นยิ มเหลา่ น้ใี หก้ บั ตวั เอง ผลก็คือทาให้ส่ิงแวดล้อมเสื่อมโทรมลงจนเห็นได้ชัด ๑. ความหมายและประเภทของจริยธรรม ความหมายของจริยธรรม คาว่าจรยิ ธรรมมีความหมายใกลเ้ คยี งกบั คาว่าจริยศาสตรน์ อกจากนี้ ยงั มคี าท่ีมีความหมายใกลเ้ คยี ง กันอีกหลายคา บางคร้งั ก็มกี ารนามาใช้แทนกนั ซ่งึ ให้ความหมายท้งั ทีเ่ หมือนกนั และแตกต่างกัน ดังนน้ั การทา ความเข้าใจความหมายและขอบขา่ ยของจรยิ ธรรมกับศัพท์เกย่ี วข้องในหลายมุมมอง ทาใหท้ ราบถึงทรรศนะ มุมมองของผู้รูต้ า่ ง ๆ ที่พยายามศึกษาแนวคิดจรยิ ธรรมในด้านท่แี ตกต่างกันออกไป1 โดยทว่ั ไปเม่ือกลา่ วถงึ คาวา่ จรยิ ธรรม ผอู้ า่ นมกั จะพิจารณาอยู่ในกรอบคดิ เกีย่ วกบั ศาสนา ทงั้ น้ี เพราะ คาสอนทางศาสนามีสว่ นสร้างระบบจริยธรรมใหส้ งั คม ท้งั นี้ จริยธรรมมาจากคาว่า จรยิ กบั ธรรมะ จริย หมายถงึ ความประพฤติ กริ ยิ าทคี่ วรประพฤติ ธรรมะหมายถึง คณุ ความดี คาสั่งสอนในศาสนา หลกั ประพฤติ ปฏิบัติในศาสนา ความจรงิ ความยุตธิ รรม ความถกู ต้อง กฎเกณฑ์ กฎหมาย ส่งิ ของทัง้ หลาย จริยธรรมหากวเิ คราะห์ตามทัศนของนักวิชาการ แบง่ ออกเป็นสองลักษณะ คือ จรยิ ธรรมทเ่ี ป็น หลักการท่ีเป็นคาสอนเรยี กได้ว่าเป็นตัวอักษร เพ่ือนาไปสกู่ ารปฏิบัติ และจริยธรรมที่เป็นพฤติกรรม ของคน และสัตว์ทีแ่ สดงออกในการดารงตน บนพนื้ ฐานแหง่ การไม่เบยี ดเบยี นกัน การมจี รยิ ธรรมของบุคคลทงั้ ในการดารงชวี ิตประจาวันและในการทางานหรอื การประกอบวิชาชพี จะ ส่งผลใหบ้ ุคคลมีความสุขในการอยู่ร่วมกนั ในสงั คม 1 จริยศาสตร์ สบื คน้ จาก https://www.baanjomyut.com/library/ethics/01.html

2 นอกจากน้ยี งั มีอกี ที่เกยี่ วข้องกนั คือคาว่า “จริยศาสตร์” เป็นคาศัพทส์ นั สกฤต แยกออกได้เปน็ 2 คา คือ จริยะ แปลว่า ความประพฤติ และคาวา่ ศาสตร์ แปลว่า ความรู้ หรือ วชิ า จรยิ ศาสตร์จงึ มคี วามหมายวา่ วชิ าทวี่ า่ ด้วยความประพฤติ แปลมาจากศพั ท์ภาษาอังกฤษว่า Ethics ซ่ึงมาจากคาในภาษากรีก ที่ว่า ว่า Peri ethikes โดยมีรากศัพท์มาจากคาว่า Ethos แปลวา่ ขนบธรรมเนยี ม ภาษาละติน ทับศัพทก์ รกี วา่ Ethica แปลวา่ จริยศาสตร์ คอื ศาสตร์ท่ีว่าดว้ ยหลักแห่งความประพฤติ ท่มี ุง่ เนน้ ไปในทางท่ีดีงาม หรือ พฤติกรรมทีเ่ ปน็ บวก นอกจากนย้ี ังมีคาท่ีเกย่ี วข้องเรียกตา่ งกันหลายอย่าง เชน่ Moral Philosophy ปรชั ญา ศลี ธรรม Ethical Philosophy ปรชั ญาจรยิ ะ เปน็ ต้น สว่ นคาวา่ Ethics มีความหมายวา่ ศาสตรแ์ ห่งศลี ธรรม (Science of Morals) ทง้ั นี้ ตามพจนานกุ รม ราชบณั ฑิตยสถาน พ .ศ.๒๕๒๕ ไดใ้ ห้ความหมายจรยิ ศาสตร์ว่า เป็นปรัชญาสาขาหนึ่งวา่ ด้วยความประพฤติ และการครองชวี ิต วา่ อะไรดี อะไรช่ัว อะไรถกู อะไรผิด หรอื อะไรควร อะไรไมค่ วร ดงั นัน้ จรยิ ศาสตรจ์ ึงหมายถึง ความรู้ หลกั การ หรอื ทฤษฎที ่ีใช้เหตผุ ลแยกความดีออกจากความชว่ั เปน็ สาขา หน่ึงของปรัชญา และเป็นศาสตร์ท่ีเป็นบรรทดั ฐานของความประพฤติของมนุษย์ ทาใหจ้ ริยศาสตรม์ คี วาม เดน่ ชัดแตกต่างไปจากศาสตร์ที่มีรปู แบบอ่ืน ๆ อาทิ คณติ ศาสตร์ ตรรกศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์เชงิ ผัสสะ ตา่ งๆ (Empirical Sciences) เชน่ เคมี และฟสิ ิกส์ และยงั คาท่ีมีความหมายใกล้เคียงกับคาว่าจริยธรรม ซ่ึงบาง กรณีอาจก่อใหเ้ กิดความสบั สน มกี ารนาไปใชใ้ นความหมายท่แี ตกตา่ งกนั และไม่ตรงกบั ความหมายที่แทจ้ รงิ อาทคิ าว่า จรรยา คุณธรรม ศีลธรรม จรรยาบรรณ มโนธรรม มารยาท ธรรมาภิบาล สรุปไดว้ า่ จริยศาสตร์ เป็นวิชาท่วี ่าดว้ ยความดี ความชั่ว ความถูก ความผดิ สิง่ ทีค่ วรเว้น สิ่งทค่ี วร ทา คอื ศาสตรท์ ี่วา่ ดว้ ยศลี ธรรม The science of morals ; หลกั ศลี ธรรม the principles of morality ; กฎท่ีวา่ ดว้ ยความประพฤติและพฤติกรรมrules of conduct and behaviour จรยิ ธรรม หมายถึง คุณสมบัติทางความประพฤติ ท่สี ังคมม่งุ หวงั ให้คนในสงั คมน้ันประพฤติ มคี วามถูก ต้องในความประพฤติ มเี สรีภาพภายในขอบเขตของมโนธรรม (Conscience) เป็นหน้าท่ีทส่ี มาชกิ ในสังคมพึง ประพฤติปฏิบัติต่อตนเอง ต่อผู้อื่น และต่อสังคม ทัง้ นีเ้ พื่อก่อใหเ้ กดิ ความเจริญรงุ่ เรืองข้ึนในสงั คม การทจ่ี ะ ปฏบิ ัตใิ หเ้ ปน็ ไปเชน่ นนั้ ได้ ผปู้ ฏิบัตจิ ะต้องรู้ว่าสง่ิ ใดถูกสิง่ ใดผดิ ศาสตราจารยเ์ กียรติคุณแสง จันทร์งาม เหน็ ว่า จรยิ ธรรมกับค่านยิ มมีความหมายแตกตา่ งกนั เฉพาะ ในทางทฤษฎี แต่ในทางปฏิบัตยิ ากทจ่ี ะช้ใี ห้เห็นความแตกต่างกนั อย่างชดั เจน กล่าวคือ2 จรยิ ธรรม หมายถงึ คณุ สมบัติทางความประพฤติ ที่สังคมมุ่งหวงั ใหค้ นในสงั คมนน้ั ประพฤติ มคี วามถูก ตอ้ งในความประพฤติ มเี สรภี าพภายในขอบเขตของมโนธรรม (Conscience) เปน็ หนา้ ที่ทส่ี มาชิกในสังคมพึง ประพฤติปฏบิ ตั ติ อ่ ตนเอง ต่อผูอ้ นื่ และต่อสังคม ทั้งนเ้ี พื่อก่อให้เกิดความเจริญรงุ่ เรืองขึ้นในสังคม การทจ่ี ะ ปฏบิ ัตใิ ห้เปน็ ไปเช่นน้นั ได้ ผปู้ ฏบิ ัตจิ ะต้องรูว้ า่ ส่งิ ใดถูกสงิ่ ใดผิด ค่านยิ ม หมายถึง ความโน้มเอียง หรอื แนวทางที่คนจะประพฤติตนไปในแนวทางใดแนวทางหน่ึงท่ี ตวั เองได้พจิ ารณาไตร่ตรองแล้วว่า เปน็ สงิ่ ทด่ี สี าหรับตนหรือสงั คมยอมรับนบั ถือและปฏิบตั ิตามแนวคิดน้นั ๆ อย่างสม่าเสมอ อย่างนอ้ ยกช็ ่วงระยะเวลาหนึ่ง คา่ นิยมมคี วามหมายถึงแนวคดิ เกีย่ วกับความดีงามในความ ประพฤติ โดยผา่ นการพจิ ารณาอย่างรอบคอบถงึ ผลทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ จากความประพฤตินนั้ ๆ ถา้ หากเปน็ เพียงเจต คติ (Attitude) ความเชอ่ื (Belief) ยังไม่อาจเรียกได้วา่ เปน็ ค่านิยมจนกวา่ จะได้พิจารณาถึงผลทจี่ ะตามมาจาก ความประพฤติหรือการกระทาน้ันๆ อย่างรอบคอบและมีการปฏิบัติตามอย่างสมา่ เสมอ 2 จรยิ ธรรม (สืบคน้ จาก( https://www.baanjomyut.com/library/ethics/.01html (๑๖ กันยายน ๖๓(

3 จริยธรรม คอื หลกั แงการประพฤติท่ีดีงาม การท่ีคนเราอยดู่ ้วยกัน ยอ่ มถือหลกั การปฏิบตั ิต่อการดว้ ย การไมเ่ บยี นเบียนกนั นัน่ คือการปฏบิ ตั ิตามหลักจรยิ ธรรม ย่อมก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อสังคมดังนี้3 1. มีความเพยี รพยายามประกอบความดี 2. เป็นผ้ทู มี่ ีความ ซ่ือสัตยส์ จุ รติ และเมตตากรณุ า 3. เป็นผมู้ ีสตปิ ัญญา ไม่ประมาท 4. เป็นผูใ้ ฝ่หาความรู้ ความสามารถในการประกอบอาชีพ 5. มคี วามอุตสาหะ 6. มคี วามเสยี สละไม่เห็นแก่ตัว 7. มคี วามสามัคคี 8. มีความรบั ผดิ ชอบ 9. มคี วามกตัญญูกตเวที ๑๐.มีความประหยดั ๑๑.มคี วามร้จู ักพอ ๑๒.มีความเป็นระเบยี บวนิ ัย ๑๓.มคี วามอดทนอดกลัน้ ๑๔. มคี วามถอ่ มตน ๑๕.เคารพตนเอง ๑๖.มีสตสิ มั ปชัญญะ กลา่ วโดยสรปุ ความหมายของจริยธรรมสิง่ แวดล้อม จรยิ ธรรมสง่ิ แวดล้อม (Environmental Ethics) หมายถึง หลักการที่ควรประพฤติ อย่างหนงึ่ ต่อสง่ิ แวดล้อม ซึ่งมีผลทาให้สงิ่ แวดลอ้ มดารงอยู่อย่างเป็น ปกติมดี ลุ ยภาพทางระบบนิเวศวทิ ยา และ เอ้ือประโยชน์ให้แกส่ รรพสงิ่ ท่ีอาศัยสงิ่ แวดลอ้ มเพื่อการดารงชพี อยู่ ได้ โดยไมส่ ญู เสียระบบสมั พันธภาพระหว่างตน กับส่ิงแวดล้อมอ่ืน ซ่ึงจริยธรรมสง่ิ แวดล้อมไมส่ ามารถแยกออก ได้จากจรยิ ธรรมชีวติ สังคม และชมุ ชน โดย ศกั ยภาพในตวั ของมนั เอง เป็นปจั จยั หลักในการเชือ่ มโยงชวี ติ ชมุ ชน สังคมและส่งิ แวดล้อมให้ดารงอยไู่ ด้ อยา่ งยั่งยนื และเปน็ บูรณาการ4 และจริยธรรมสิง่ แวดล้อม จึง เป็น หลักการปฏิบัติเกย่ี วกบั สิ่งแวดล้อมสาหรบั มนุษย์ที่ ยึดเอาความถูกต้องดีงาม ความถูกต้องตามหลัก คณุ ธรรม และความเมตตา ที่พงึ ปฏิบัตติ ่อสง่ิ แวดล้อม ซ่ึงจะมผี ลกระทบต่อชีวติ และต่อมนษุ ยด์ ้วยกัน ในการท่ี มนุษยพ์ ึงปฏิบตั ิตอ่ สิง่ แวดล้อมจงึ ประกอบไป ประเภทของจริยธรรม จริยธรรมเปน็ หลกั แหง่ ความปฏบิ ตั เิ พ่ือความดีงามในตนเอง และสงั คม นักวชิ าการไดแ้ บง่ จรยิ ธรรม แบง่ ออกเปน็ ๒ ประเภท คือ5 1 จริยธรรมภายนอก เปน็ จรยิ ธรรมทบี่ ุคคลแสดงออกทางพฤติกรรมภายนอกทีป่ รากฏใหเ้ ปน็ ท่สี ังเกตเหน็ ได้อยา่ งชดั เจน เช่น ความรบั ผดิ ชอบ ความเป็นระเบยี บเรียบรอ้ ยความมวี ินยั การตรงต่อเวลาเป็นตน้ 3 สืบคน้ จาก https://sites.google.com/site/geepajahey55/(๑๖ กันยายน ๖๓( 4 วนิ ัย วรี ะวฒั นานนท,์ คณะกรรมการบริหารวชิ าบรู ณาการหมวดวิชาศกึ ษาทั่วไป, 7452,54 : 5 http://plosanga.blogspot.com/2011/05/blog-post

4 7. จริยธรรมภายใน เปน็ จรยิ ธรรมทีเ่ ก่ยี วข้องกบั ความรู้สกึ นึกคิดหรอื ทศั นคติของบคุ คลิตามสภาพ ของจิตใจและสภาวะแวดล้อม เช่น ความงาม ความซ่ือสตั ย์ ความยุติธรรม ความเมตตากรุณา ความกตัญญู กตเวที เปน็ ตน้ ระดับของจรยิ ธรรม พทุ ธจริยธรรม เป็นหลักคาสอนทางพระพุทธศาสนาท่ีพระพทุ ธเจ้าทรงบัญญัติไว้ เพื่อเป็นมาตรฐานความ ประพฤตขิ องมนุษย์ โดยสรปุ ได้แบ่งออกเปน็ 3 ระดบั ได้แก่ 1. พุทธจรยิ ธรรม ระดบั ตน้ บัญญตั ไิ ว้เพื่อความสงบเรียบร้อยของสงั คม หลกั ธรรมทสี่ าคัญ ประกอบดว้ ย ศีล 5 ธรรม 5 ทศิ 6 เป็นตน้ 2. พุทธจรยิ ธรรม ระดับกลาง บัญญัตไิ ว้เพ่ือใหท้ ุกคนประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ ฝกึ ฝนอบรมขัดเกลาตนเองให้มี คุณธรรมสูงข้นึ หลักธรรมสาคัญประกอบด้วย ศีล 5 กศุ ลกรรมบถ 10 3. พทุ ธจริยธรรม ระดบั สูง เป็นจริยศาสตรเ์ พื่อการพัฒนาตนเป็นอรยิ บคุ คล หลักธรรมทีส่ าคัญ คือ มรรค 8 ด้วยรากฐานความเชื่อในเชิงคุณธรรมท่มี ีความแตกต่างกันในระดับท่ีกอ่ ให้เกิดผลกระทบต่อ สงิ่ แวดลอ้ มท่ี แตกต่างกันออกไป จริยธรรมส่งิ แวดลอ้ ม จงึ เปน็ หลักทม่ี นุษย์ควรประพฤติต่อธรรมชาติ โดยใช้ ระบบสงั คมวัฒนธรรมขับเคลื่อน เพ่ือให้ ธรรมชาติส่งิ แวดลอ้ มด ารงอยไู่ ด้ตามดุลยภาพของธรรมชาติ ส่งิ แวดลอ้ มท่เี ปน็ อยู่อยา่ งกลมกลนื และอยา่ ง ยนั่ ยืน ๒.ความหมายและประเภทของสิ่งแวดล้อม ความหมายของสงิ่ แวดล้อม สง่ิ แวดล้อมหมายถงึ สิ่งตา่ งๆท่ีเกดิ ขน้ึ โดยธรรมชาติ และท่ีมนุษย์สรา้ งข้ึนอยู่รอบๆ ตัวเราทัง้ ทมี่ ี ลกั ษณะกายภาพที่เห็นได้และไมส่ ามารถเห็นได้6 สิง่ แวดลอ้ ม หมายถึง สงิ่ ท่ีอยู่รอบตัวมนุษย์ ทั้งทมี่ ชี วี ิตและไมม่ ชี ีวติ ทงั้ ทเ่ี ป็นรูปธรรม จับต้อง( พลเก่ยี วโยงถึงกนั เปน็ ปัจจยั ในมีอทิ ธิ (วัฒนธรรม แบบแผน ประเพณี ความเชื่อ( และนามธรรม (มองเหน็ ได้ การเก้ือหนนุ กัน ผลกระทบจากปจั จยั หนงึ่ จะมีสว่ นเสรมิ สรา้ งหรอื ทาลาย อีกส่วนหน่ึงอยา่ งหลีกเลีย่ งไม่ได้ สง่ิ แวดลอ้ มเปน็ วงจรและเป็นวฏั จกั รท่ี เกีย่ วข้องกนั ไปทัง้ ระบบ7 สง่ิ แวดล้อม หมายถึง สิ่งท่ีอยู่รอบตวั เรา สิง่ แวดล้อมอาจเป็นส่ิงท่ีมชี ีวิตหรือไมม่ ชี ีวิต อาจเป็นส่งิ ท่ี เกดิ ข้ึนเองตามธรรมชาตหิ รอื สิง่ ท่มี นษุ ย์ สร้างข้ึน อาจเป็นสิง่ ท่ีเป็นรปู ธรรมหรือนามธรรม สิ่งแวดล้อมเหล่านี้มี อทิ ธิพลเก่ยี วโยงถงึ กัน เปน็ ปัจจัยใน การเกื้อกลู กันและกนั อย่างเปน็ ระบบ ดังน้ัน ผลกระทบท่ีเกิดจากปจั จยั หนึง่ จะมสี ว่ นเสรมิ สรา้ งหรือทาลาย สภาพแวดลอ้ มอกี ส่วนหน่งึ ได้ เนือ่ งจากสง่ิ แวดล้อมเป็นวงจรหรือวฏั จกั รท่ี เก่ียวข้องไปทั้งระบบ8 จากความหมายดงั กลา่ วสรปุ ไดว้ า่ มนุษย์ยอ่ มเก่ยี วข้องและสมั พนั ธก์ บั สง่ิ แวดลอ้ ม โดยท่ีสิง่ แวดลอ้ ม เป็นตวั กาหนดแบบแผนชวี ติ ความเปน็ อยู่ทแี่ ตกตา่ งกนั ในแต่ละพืน้ ท่ี แตข่ ณะเดยี วกนั มนุษย์ก็เปน็ ตัวการสาคัญ ที่ทาให้สงิ่ แวดล้อมเปลย่ี นแปลงไปโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ สาเหตุจากการเพม่ิ จานวนประชากรอยา่ งรวดเร็ว ทาใหม้ ี การขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมากมผี ลให้ความต้องการใชท้ รัพยากรเพิม่ อย่างรวดเรว็ ตามไปด้วย ประกอบ 6 https://sites.google.com/site/environmentbp02 7 https://www.tistr.or.th/tistrblog/?p=986 8 http://www.nkatc.ac.th/web/pictures

5 กบั ปัจจบุ นั ได้มีการนาเทคโนโลยเี ขา้ มาใชใ้ นกระบวนการผลติ และความก้าวหนา้ ของเทคโนโลยสี มยั ใหม่ ทาให้ ทรัพยากรส้นิ เปลืองอย่างรวดเร็วและยังสง่ ผลกระทบตอ่ สิง่ แวดล้อม ประเภทของสิ่งแวดลอ้ ม9 จากความหมายของสิ่งแวดล้อมดังกล่าวสามารถแบง่ ส่ิงแวดลอ้ มได้เปน็ 2 ประเภท คือ ส่งิ แวดลอ้ ม ทางธรรมชาติ (Natural environment) และสิง่ แวดลอ้ มที่มนษุ ย์สร้างขึ้น (Man-Mode Environment) 1. สง่ิ แวดล้อมทางธรรมชาติ ( Natural Environment) แบง่ ออกเป็น 2 ประเภทย่อย คอื สิ่งแวดลอ้ มทางกายภาพ และส่ิงแวดลอ้ มท่ีมชี วี ิต 1. 1 สิ่งแวดลอ้ มทางกายภาพ (Physical Environment) หรือสิ่งแวดลอ้ มท่ีไม่มชี วี ติ (Abiotic Environment) แบ่งไดด้ งั น้ี 1.1.1 บรรยากาศ (Atmosphere) หมายถงึ อากาศที่ห่อหุ้มโลก ประกอบด้วย ก๊าซ ๙ ชนดิ เชน่ โอโซน ไนโตรเจน ออกซเิ จน อารก์ อน คาร์บอนไดออกไซด์ ฝุ่นละออง และไอนา้ 1.1.2 อุทกภาค (Hydrosphere) หมายถึงส่วนที่เป็นน้าทง้ั หมดของพืน้ ผิวโลก ได้แก่ มหาสมุทร ทะเล แมน่ ้า 1.1.3 ธรณภี าค หรอื เปลือกโลก(Lithosphere) หมายถึง สว่ นของโลกที่เป็นของแข็งห่อหุ้ม อยู่รอบนอกสุดของโลกประกอบด้วยหนิ และดนิ ๑.2 สิ่งแวดลอ้ มทีม่ ชี วี ติ (Biotic Environment) ไดแ้ ก่ พืช สตั ว์ และมนษุ ย์ ๒. สิ่งแวดล้อมท่ีมนษุ ยส์ รา้ งขนึ้ (Man-Mode Environment) แบง่ ได้ 2 ประเภทดงั นี้ 2.1 สงิ่ แวดล้อมทเี่ ป็นรปู ธรรม (Concrete Environment) ได้แก่ บ้านเรือน ถนน สนามบนิ เขือ่ น โรงงาน วดั 2.2 ส่งิ แวดล้อมท่ีเป็นนามธรรม (Abstract Environment)ไดแ้ ก่ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วฒั นธรรม ศาสนา กฎหมายระบบเศรษฐกจิ การเมืองการปกครอง เปน็ ต้น คณุ ลักษณะของสงิ่ แวดล้อม สงิ่ แวดล้อม มีคณุ สมบัติเฉพาะตัวในแตล่ ะประเภท สิง่ แวดลอ้ มนน้ั ๆ อยู่ร่วมกบั สิ่งแวดล้อมอน่ื ๆมี ความเก่ียวเนือ่ งและสัมพนั ธ์ต่อกันเป็นลกู โซ่ เม่ือทาลายสง่ิ แวดล้อมหนึง่ ย่อมส่งผลกระทบตอ่ สิง่ แวดลอ้ มอื่นๆ เน่อื งจากสิง่ แวดล้อมจะมลี ักษณะที่ทนทานต่อการถกู กระทบแตกตา่ งกนั คณุ สมบตั เิ ฉพาะตัวของส่ิงแวดลอ้ ม10 ๑.สง่ิ แวดลอ้ มแตล่ ะประเภทมีเอกลักษณ์เฉพาะตวั มีกลไกควบคุมการเกดิ ข้ึน ๒.สงิ่ แวดล้อมน้นั จะไมอ่ ยู่โดดเด่ียวในธรรมชาติ ๓.สิ่งแวดลอ้ มหนึ่งมีความต้องการส่งิ แวดลอ้ มอ่ืนเสมอเชน่ ปลาตอ้ งการนา้ เพอื่ การอยู่รอดหรอื ต้องการ รักษาสภาพตนเอง หากขาดส่ิงแวดล้อมอนื่ ทจ่ี าเป็นอาจสูญสลายได้ ๔.สิ่งแวดลอ้ มจะอยู่กันเป็นกลุม่ เรยี กกลมุ่ ของสรรพสง่ิ มีองค์ประกอบเปน็ ระบบนิเวศน์ อยแู่ บบพง่ึ พงิ อาศัยกันและกนั ๕.ส่งิ แวดลอ้ มมคี วามเก่ียวเน่ืองเป็นลูกโซ่ ดังนั้นเมื่อทาลายส่งิ แวดล้อมหน่ึงย่อมส่งผลกระทบต่อ ส่งิ แวดลอ้ มอืน่ เป็นลูกโซ่เสมอ 9 https://sites.google.com/site/environmentbp02/khwam 10 https://sites.google.com/site/environmentbp

6 ๖.สิง่ แวดล้อมแตล่ ะประเภทมักมีลกั ษณะทนทาน และเปราะบางต่อการถกู กระทบต่างกนั ๗.ส่ิงแวดลอ้ มมีการเปลย่ี นแปลงตามกาลเวลาท่ีเปล่ียนไป ซงึ่ อาจเป็นการเปล่ยี นแปลงช่วยคราวหรือถาวร ก็ได้ ความสาคัญของส่ิงแวดล้อม มนุษย์มีความสัมพันธ์กับสิง่ แวดล้อมอย่างใกล้ชิดและพึ่งพาอาศัยกนั ตลอดเวลา สงิ่ แวดล้อม อานวย ประโยชนใ์ ห้แก่มนุษยอ์ ย่างมหาศาล เชน่ 1. เปน็ ปจั จยั สที่ ี่จาเป็นตอ่ การดารงชีวิต ได้แก่ แหล่งอาหาร ทอ่ี ยอู่ าศยั เครื่องนงุ่ หม่ และยา รักษา โรค 2. เป็นแหลง่ ทรพั ยากรธรรมชาติ ไดแ้ ก่ ดิน นา้ แร่ธาตุ ป่าไม้ พลงั งาน ฯลฯ ประเทศใดมี ทรพั ยากร มาก หรอื มีความสามารถในการผลติ สงู ก็ทาให้สามารถขยายตัวทางดา้ น อุตสาหกรรมจากการมีทรพั ยากรเป็น วตั ถดุ ิบ ๓.ความสัมพันธ์ของมนุษย์กับส่ิงแวดล้อม11 เนอื่ งจากมนษุ ย์เป็นสตั ว์สังคมชนดิ เดียวท่มี ศี ักยภาพสงู และพฒั นาการอยู่ตลอดเวลา และมนษุ ย์เองก็ ยังเปน็ ส่งิ แวดลอ้ มของสิง่ แวดล้อมอ่นื เชน่ กนั ภายใต้ศักยภาพท่สี ูงกวา่ ในบางคร้ังมนุษย์ก็มกั จะเอาเปรียบ ส่งิ แวดลอ้ มอื่นอยเู่ สมอ ในฐานะผู้บรโิ ภคและผู้รักษาภายใต้การดารงชพี ท่ีชาญฉลาด ดงั นั้นมนษุ ย์ในฐานะผ้มู ี จริยธรรม จงึ มคี วามเป็นอยู่ท่ีสมั พันธก์ บั สิ่งแวดลอ้ ม ดงั น้ี 1. เปน็ แหลง่ ปัจจัยพ้ืนฐานในการดารงชวี ติ มนษุ ยต์ ้องอาศยั ปัจจัยตา่ งๆท่มี ีอยู่ในสิ่งแวดล้อมเพ่ือ การดารงชีวติ ดังน้ี 1.1 อาหารการดารงชีวิตของมนษุ ย์ตอ้ งกนิ อาหารซึ่งมแี รธ่ าตแุ ละพลังงานต่างๆ จากพชื และ สตั ว์ อาศัยน้าที่หมุนเวียนอยู่ในธรรมชาติในการด่ืมและใช้ อาศัยดนิ เป็นแหล่งผลิตอาหารท้งั ที่เปน็ พืชและสัตว์ มนุษยบ์ างกลมุ่ อาจกินเฉพาะพชื หรอื เฉพาะสตั ว์ กินทัง้ อาหารสดและอาหารท่ีทาใหส้ ุกแล้ว การแสวงหาอาหาร ของมนษุ ย์ได้มีการพฒั นามาโดยลาดบั เร่มิ ตน้ แสวงหาอาหารจากแหล่งธรรมชาติ การนาอาหารมาเก็บสะสมไว้ ทบี่ ้าน จนถึงการรจู้ ักเพาะปลูก เลย้ี งสัตว์ และการผลติ อาหารจากทรพั ยากรธรรมชาติได้เอง 1.2 ทอ่ี ยู่อาศัย เดมิ ทมี นุษย์อาศยั อย่ตู ามแหล่งธรรมชาติ ต้องอาศัยหลับนอน พักผ่อนเล้ียง ดสู มาชิกครอบครวั ตามรม่ ไม้ หบุ เขาหรือถ้า ดัดแปลงธรรมชาติเพ่ือป้องกันภยั ท่เี ปน็ ปรากฏการณท์ าง ธรรมชาติ เช่น ฝนตก นา้ ทว่ ม แดดรอ้ น ฯลฯ ตลอดจนการสร้างทอ่ี ยู่อาศัย เพื่อป้องกันภัยจากธรรมชาติ สัตว์ อนื่ รวมท้ังการป้องกันภยั จากมนุษย์ดว้ ยกันเอง การเลือกที่อยู่อาศัยก็มักเลือกตามแหลง่ ท่สี ามารถหาอาหาร และนา้ ไดส้ ะดวกปลอดภยั ดังน้ันการเลอื กทาเลท่ีอยู่อาศัยเปน็ ความตัง้ ใจและเปน็ การกระทาท่ีต้องมีความรู้ เรอื่ งสิง่ แวดลอ้ มเกีย่ วกบั ปรากฏการณ์ทางธรรมชาตแิ ละทรพั ยากรธรรมชาติ 1.3 เครอ่ื งน่งุ หม่ เครอ่ื งนุ่งห่มในสมยั แรกนัน้ เปน็ การนาใบไม้ เย่อื ไม้และหนังสตั วท์ ่หี าได้มา หอ่ ห้มุ ร่างกายเพื่อให้ความอบอุน่ หรอื อาจนามาประดบั ร่างกายเพื่อแสดงความสามารถในการแสวงหา ทรัพยากรธรรมชาติ จากนั้นมีการผลติ เส้ือผ้าเคร่ืองนงุ่ หม่ จากวสั ดุทหี่ าไดใ้ นถิน่ ท่ีอยูอ่ าศยั สาหรบั สมาชกิ ใน ครอบครัว ต่อมาการเปลีย่ นแปลงทางสังคมของมนษุ ย์ทาใหเ้ กิดการผลติ เสอ้ื ผา้ เคร่ืองนงุ่ ห่มเพื่อการค้า 11 https://sites.google.com/site/mukenvironmentalscience/

7 1.4 ยารกั ษาโรค การสงั เกตสิ่งแวดล้อมมนุษย์เรม่ิ ใช้พืชสมนุ ไพรในการรกั ษาโรคภัยไขเจ็บ . โดยเอามาทั้งตน้ กง่ิ ก้าน เปลอื ก แก่น ดอก ราก ต้มกินหรือทาคร้ังละมากๆ ต่อมานักวทิ ยาศาสตรไ์ ดใ้ ช้ตวั ทา ละลายทีเ่ หมาะสม เช่น แอลกอฮอล์ อีเทอร์ สกดั เอาตัวยาแท้ ๆ จากส่วนต่างๆ ของตน้ ไม้ แลว้ ทาให้ตัวทา ละลายระเหยไป เหลือแตต่ ัวยาไวท้ าใหเ้ ป็นผงหรือผลึก ใช้กินแตน่ ้อย นอกจากการสกดั ตวั ยาจากสมนุ ไพร มนุษย์ยงั ใช้วิธีสงั เคราะหย์ าเลียนแบบตวั ยาในสมุนไพรโดยใช้วัตถุดบิ จากสิ่งแวดลอ้ ม 2. สงิ่ กาหนดการตงั้ ถ่ินฐานและชมุ ชน ความอุดมสมบูรณข์ องทรัพยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดล้อมเปน็ ปัจจัยที่เอื้อต่อการต้ังถ่ินฐานและชมุ ชนของมนษุ ย์ เพราะมนุษยต์ ้องอาศัยทรัพยากรธรรมชาติ เหล่าน้ันเป็นปจั จยั ในการดารงชวี ติ ในบรเิ วณพน้ื ทท่ี ี่อุดมสมบรู ณ์ เช่น ทีร่ าบลุม่ แมน่ ้า ทรี่ าบรอบๆ ทะเลสาบ ที่ ราบชายฝัง่ ทะเล จึงมักเปน็ แหลง่ ชมุ ชนโบราณท่ปี รากฏหลกั ฐานอยจู่ นปจั จุบัน เชน่ อียิปต์ กรีก โรมัน จนี อินเดียและได้กลายเปน็ บรเิ วณทีม่ ีประชากรหนาแนน่ ของโลก 3. ตวั กาหนดลักษณะอาชีพ มนุษย์ในแต่ละท้องถ่ินจะประกอบอาชีพแตกต่างกนั ไป ตามสภาพ ของพนื้ ทีแ่ ละลักษณะของทรัพยากรธรรมชาติ เช่น บริเวณที่ราบลุ่มมกั จะมีอาชพี ทาเกษตรกรรม บรเิ วณ ชายทะเลหรือเกาะตา่ งๆ กจ็ ะทาการประมง บรเิ วณที่เป็นแหลง่ แรก่ จ็ ะทาเหมืองแร่เปน็ อาชพี หลกั นอกจากน้ี สภาพของพน้ื ท่ีและลกั ษณะของทรัพยากรธรรมชาติยังมผี ลต่อการผลิตท้ังในดา้ นปรมิ าณและคุณภาพท่ี แตกตา่ งกันอีกดว้ ย 4. ตัวกาหนดรปู แบบของวัฒนธรรม รปู แบบวฒั นธรรมของมนษุ ย์แตล่ ะท้องถนิ่ มีความแตกต่าง กนั ไปตามลกั ษณะของการดาเนนิ ชวี ติ ท่เี ป็นไปตามสภาพแวดล้อมของท้องถนิ่ เชน่ การแตง่ กาย การกินอาหาร ขนบธรรมเนียมประเพณี ตลอดจนความเช่ือและค่านยิ มต่างๆ ลว้ นถกู กาหนดใหม้ รี ูปแบบทีส่ อดคล้องกับ สภาพแวดลอ้ มของท้องถิน่ ทงั้ สนิ้ นอกจากน้ีสภาพแวดล้อมยังมีอทิ ธิพลต่อลักษณะนสิ ัยใจคอของมนุษย์อกี ดว้ ย เชน่ ในเขตอบอุ่นผคู้ นมักมนี ิสัยสขุ มุ รอบคอบ ใจเยน็ กระต้ือรอื รน้ และขยนั แต่ในเขตร้อนผคู้ นมักจะมีนสิ ัยท่ี ตรงขา้ มกบั เขตอบอุ่น เชน่ เฉอ่ื ยชา เกยี จครา้ น ใจร้อน หงุดหงดิ อารมณเสียง่าย ขาดความรอยคอบ สว่ นคนท่ี อาศยั อยู่ในป่ามักมีนิสัยดรุ า้ ย ชอบการต่อสู้ และผจญภยั 5. กิจกรรมทางดา้ นการเมอื ง หนว่ ยการเมืองท่ีตง้ั กระจัดกระจายอยู่ในส่วนตา่ งๆ ของโลก จะ รวมตวั เป็นหน่วยเดยี วกันได้จะต้องมสี ภาพแวดล้อมทางภมู ิศาสตรค์ ล้ายคลึงกันมากทีส่ ดุ สว่ นการดาเนนิ กิจกรรมทางการเมืองจะเปน็ มิตรหรือศตั รูกันหรอื ไม่น้ัน ก็ขึ้นอยกู่ ับความกดดันทางดา้ นทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อมเปน็ ตน้ ว่าถา้ เกิดความไมส่ มดลุ ของทรัพยากรธรรมชาติกบั จานวนประชากรทเ่ี พิ่มมากข้ึน หรือ พรมแดนธรรมชาติที่เปน็ รอ่ งนา้ มกี ารเปล่ยี นแปลงอยู่เสมอ หรอื เกดิ ความแตกตา่ งในลัทธคิ วามเช่ือทางศาสนา ตวั อย่างเชน่ การที่กองทัพญ่ีปุ่นเขายึดครองเกาะไต้หวนั และแมนจูของจีนในชว่ งก่อนสงครามโลกครั้งท่ี 2 เป็นเพาะญป่ี นุ่ เกิดปัญหาเรอ่ื งอาหารไมพ่ อเพยี งสาหรับเลย้ี งประชากรทเ่ี พ่ิมขนึ้ อย่างรวดเรว็ และดนิ แดนของ จนี ท้งั สองแหง่ มคี วามอดุ มสมบรู ณไ์ ปดว้ ยพืชผลท่ีญป่ี ุ่นต้องการ หรอื กรณคี วามแตกต่างในเร่ืองลัทธิศาสนาจน เปน็ เหตุทาให้อนิ เดยี และปากีสถานต้องแยกหน่วยการเมอื งออกจากกนั และเปน็ ศัตรูต่อกันจนถงึ ปจั จบุ นั เปน็ ตน้ หลายต่อหลายครั้งทีพ่ บว่า ภัยพิบตั ิทางสิ่งแวดล้อมบางส่วนเน่ืองมาจากผลการพฒั นาทีม่ ิได้ คานึงถึงส่งิ แวดลอ้ ม ดังน้นั แนวความคิดทถ่ี ูกต้องในการพฒั นาก็คือ การพฒั นาทคี่ านงึ ถึงผลกระทบทาง ส่ิงแวดล้อม ทั้งน้ีกเ็ พ่ือให้ผลการพฒั นานนั้ ก่อให้เกดิ ผลดแี ก่ชีวติ มนุษย์ ในปัจจบุ นั รฐั บาลของหลายประเทศจึง หนั มาให้ความสาคัญในเร่ืองของการพัฒนาสิง่ แวดล้อม เพื่อพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ของประชาชนใหอ้ ย่ใู นระดับ มาตรฐาน น่ันคือการอยู่ดีกินดขี องประชาชนในสังคมให้ดีขึ้นภายในกรอบและขอบเขตความเปน็ จรงิ ซ่งึ จะต้อง สอดคล้องกบั เอกลักษณร์ ะดบั มาตรฐานสภาพความเปน็ อยู่ขนบธรรมเนยี มประเพณี วัฒนธรรม สังคม

8 การพฒั นาเพื่อคุณภาพแหง่ ชวี ติ น้นั ก็คือความพยายามรว่ มกันในอันที่จะใช้ทรพั ยากรอนั มีคา่ ของ ชาติให้ เกดิ ผลดี ทส่ี ดุ และสอดคล้องกับชีวิตจติ ใจความเป็นอย่แู ละวัฒนธรรมของชาตใิ ห้มากทส่ี ุดในความ พยายามรว่ มกันนจี้ าเป็นอย่างยิง่ ท่ีจะต้องเป็นไปในรปู แบบของสหวิทยาการ (วชิ าการหลายสาขาร่วมกนั ( เพอ่ื ใหแ้ น่ใจได้ว่าโครงการพัฒนาท้งั มวลจะต้องไม่มผี ลกระทบต่อสง่ิ แวดล้อมหรอื หากว่ามีก็จะต้องน้อยทส่ี ุด ๔.แนวคดิ เกยี่ วกับจริยธรรมสงิ่ แวดล้อม12 แนวคดิ พน้ื ฐานทางจรยิ ธรรมสิง่ แวดลอ้ ม แนวคิดจรยิ ธรรมสิง่ แวดล้อมเปน็ แนวคิดทางตะวนั ตก แนวแรกที่มุ่งเน้นไปที่ พฤติกรรมของมนษุ ยโ์ ดยตรง เพราะเป็นทย่ี อมรบั กันวา่ ปัญหาสิ่งแวดลอ้ มที่เกิดข้นึ ไม่ว่า จะมขี อบขา่ ย กวา้ งแคบมากน้อยเพยี งใดกต็ าม ลว้ นแล้วแตเ่ ปน็ ผลที่เกิดจากตวั มนุษยท์ ้ังสิ้นไม่วา่ จะเป็นวธิ ีคิด ความ เชอ่ื โลกทัศน์ พฤติกรรมและวิถีการดาเนินชวี ิตของมนุษย์ ดงั นน้ั จงึ พยายามที่จะกลับมาศึกษาทตี่ ัว มนุษย์วา่ วิธีคดิ และพฤติกรรมความเคยชนิ ของมนษุ ยใ์ ดท่ไี ด้ทาลายสิ่งแวดลอ้ ม ในขณะเดยี วกันก็ แสวงหาและ สรา้ งระบบจรยิ ธรรมของมนษุ ยท์ ่ีถกู ต้องในการสร้างสรรค์ความสัมพันธ์ท่ีดงี ามทีจ่ ะเก้ือกูล ต่อสง่ิ แวดลอ้ ม ปญั หาทางจริยธรรมเปน็ ปัญหาจดุ อ่อนท่สี าคญั ของมนุษย์และเป็นปญั หารากฐานทีส่ ร้าง ความเสียหายใหก้ ับ มนษุ ยแ์ ละสงิ่ แวดลอ้ มมากท่ีสดุ เป็นปัญหาท่แี กไ้ ด้ยากทสี่ ุด ใชเ้ วลายาวนานทีส่ ดุ และทสี่ าคัญตอ้ งอาศยั กระบวนการทางสังคมทเ่ี ขม้ แขง็ ในการสรา้ งระบบจรยิ ธรรมทด่ี ีงามในการ แก้ปัญหาสงิ่ แวดลอ้ มทั้งหลาย13 จริยธรรมสง่ิ แวดลอ้ มเปน็ วิธีการจดั การสิง่ แวดลอ้ มทม่ี นุษย์ได้หันมาจดั การกบั ตัวเอง หรือ เปน็ การกลับมา ปรบั ปรุงระบบการจดั การมนุษย์ เพราะการพัฒนาในช่วง 7 ศตวรรษท่ีผา่ น ตะวนั ตกซึ่งเปน็ แบบอย่างท่ีสาคญั ของการพัฒนาก็ได้เกดิ ความสานึกผดิ ว่า เปน็ การพฒั นาท่ีผิดพลาด ก่อใหเ้ กิดความเสียหายอย่างมากต่อ ส่ิงแวดล้อม อนั เปน็ การพัฒนาท่ไี ม่ย่ังยืน ซ่ึงมีลกั ษณะ 4 อย่าง คอื มองวา่ ทรัพยากรในโลกนีม้ อี ย่เู หลือลน้ มากมายไมต่ ้องกลัวหมด ถือว่ามนษุ ย์แยกออกจากธรรมชาติ และ มุ่งหมายวา่ มนุษย์จะตอ้ งพิชิตครอบครอง และจดั การกบั ธรรมชาตใิ ห้เป็นไปตามความปรารถนา จรยิ ธรรมสิง่ แวดลอ้ มมงุ่ ที่จะเข้าใจส่ิงแวดลอ้ ม และ สร้างระบบความสมั พันธ์ทีเ่ ป็นมิตร กบั สงิ่ แวดล้อมอยา่ งมคี วามเอื้ออาทรซ่ึงกันและกนั ซ่ึงมลี ักษณะดังนี้(6( 1. จริยธรรมสง่ิ แวดล้อมมุ่งปรับเปลย่ี นพฤติกรรมทเี่ คยครองงา ขดุ รดี ธรรมชาติ สิง่ แวดล้อมมาเป็น พฤติกรรมที่เต็มเป่ียมไปด้วยความเข้าใจ มคี วามรักความเมตตาตอ่ กนั 7. จริยธรรมส่งิ แวดลอ้ มยอมรับว่า มนษุ ยเ์ ปน็ เพียงส่วนหน่ึงในระบบธรรมชาติ ส่งิ แวดล้อม และมี หน้าทตี่ อ้ งปรบั ตัวเข้าส่รู ะบบธรรมชาติ ไม่ใชม่ ่งุ ปรบั ธรรมชาตสิ ง่ิ แวดลอ้ มมาเปน็ ทาส รบั ใช้มนุษย์ 4. จรยิ ธรรมส่งิ แวดลอ้ มสร้างระเบยี บวินยั ข้ึนมาเพื่อควบคุมบงั คับตนเองทเี่ ป็นไป เพื่อการไม่ เบียดเบียน รวมถงึ การใช้มาตรการทงั้ การศึกษา เศรษฐกิจ เพือ่ จงู ใจและปลูกฝังพฤตกิ รรมท่ดี ี งาม หลอ่ หลอม ความรกั ความเข้าใจระหว่างมนษุ ย์ด้วยกนั และมนษุ ย์กับสรรพส่งิ 5. จริยธรรมสิง่ แวดลอ้ มปลูกฝังจริยธรรมในการผลิตและการบริโภค ทม่ี ุ่งสนอง ความต้องการ ความ จาเปน็ แหง่ ชีวติ โดยไมใ่ ห้ลว่ งละเมิดขดี ความสามารถของธรรมชาติที่จะรอบรับได้ 4. จริยธรรมสิ่งแวดเป็นจรยิ ธรรมทีม่ ่งุ เน้นความสุขจากความเข้าใจการใหแ้ ละ เสยี สละมากกว่าการ เสพเสวยปรนเปรอความต้องการอย่างไม่มที ีส่ ิน้ สุด จะเหน็ ได้ว่า จรยิ ธรรมสง่ิ แวดล้อมเปน็ แนวคดิ ที่กาลังพูดถึงกันมาในวงวชิ าการดา้ น สง่ิ แวดล้อม มีการ หาแนวทางสร้างมโนทศั น์แบบแผนพฤติกรรมแบบใหม่สาหรับมนุษยท์ ี่มีต่อสิ่งแวดล้อม ถึงแม้วา่ จะมกี าร กลา่ วถึงกันมากและได้เสนอวิธกี ารต่าง ๆ มากมาย แตป่ ัญหาทสี่ าคัญอนั หน่ึงของการ เข้าถึงจริยธรรม 12 https://sites.google.com/site/mukenvironmentalscience/ 13 (พระส่งเสริม แสงทอง, โครงการยกย่องนกั ส่งิ แวดลอ้มทอ้ งถ่ินดเี ดน่ 7451: 42-48(

9 สง่ิ แวดลอ้ มก็คอื ความไมม่ ่นั ใจในวิถจี ริยธรรมแนวใหม่ เพราะมนษุ ย์เองก็เกดิ ความ สบั สนในทิศทางการพัฒนา ถึงแม้จะให้ความสาคญั ต่อส่ิงแวดล้อม แต่ก็ไม่อาจละทิ้งกระบวนการพัฒนา แบบเดมิ ได้ เพราะมนุษย์ไดต้ ิดยึด จนเกิดความเคยชินและเพลิดเพลินกบั ความม่งั คั่ง พรงั่ พรอ้ มของส่ิง ปรนเปรออนั เป็นผลมาจากการพัฒนา แนวคดิ เดมิ ทเ่ี ป็นศัตรตู ่อส่งิ แวดลอ้ ม ดังน้ันการสร้างจริยธรรม ส่ิงแวดลอ้ มแนวใหม่จึงขาดพลังในการนาไป ปฏิบัติจงึ ลงเอยด้วยความประณีประนอมยอมาความ ขาด ความชดั เจนในสงั คม จงึ กลายเป็นกระแสเล็กๆ แนว หนง่ึ ในสงั คมเท่าน้ันเอง อยา่ งไรก็ตาม รากฐานทางจริยธรรมสงิ่ แวดล้อมท่ีเริ่มจากสังคมตะวันตก ซ่ึงเคยมี ระบบจรยิ ธรรมท่ี เปน็ เทวบัญชา เป็นจรยิ ธรรมทแี่ ยกจากธรรมชาตแิ ละชวี ิตจรงิ เมอ่ื ได้เปลยี่ นรากฐาน ความคิด ความเชอ่ื ใหมก่ ็ เกดิ ความสบั สนว่า ระบบจริยธรรมแบบใหมจ่ ะมีเปา้ หมายและวธิ ีการเข้าถึง ความจรงิ แห่งชวี ิตและสิ่งแวดลอ้ ม อยา่ งเปน็ เอกภาพได้อยา่ งไร เมื่อเกิดปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มขนึ้ มา จริยธรรมสงิ่ แวดล้อมท่เี กี่ยวข้องกบั พฤตกิ รรม มนุษย์ ก็มักจะเกิดปญั หาคลมุ เครือและสบั สนวา่ จะเอากนั อย่างไรกันแน่ และทาให้จรยิ ธรรมสิ่งแวดลอ้ มขาด พลงั ในการขบั เคลื่อนส่วู ิถีชวี ิต แมว้ ่าจริยธรรมสงิ่ แวดลอ้ มจะมีปญั หาดังกลา่ วแลว้ เปน็ เร่อื งทจ่ี ะตอ้ ง ปรับปรงุ กนั ตอ่ ไป อาจนาเอาระบบจริยธรรมแบบตะวันออก ทีม่ ลี ักษณะเปน็ ชีวติ จรงิ และแนบแน่นกลมกลนื กับสิ่งแวดล้อม มาช่วยในการพฒั นาจริยธรรมสิ่งแวดล้อมให้มคี วามสมบูรณ์มากข้นึ แต่อยา่ งไรก็ตาม จริยธรรม สง่ิ แวดลอ้ มทเ่ี ป็นมานนั้ ก็ถอื ว่าเปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ ทีส่ าคัญยิ่ง ในการปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมของมนุษย์ อย่าง นอ้ ยก็ เปน็ เครอื่ งสรปุ และยอมรบั ว่าพฤติกรรมทีผ่ ่านมาของมนุษย์มคี วามผิดพลาดเสียหาย สง่ ผลกระทบ ต่อชวี ติ และ สิ่งแวดลอ้ ม ซง่ึ ถือว่าเปน็ ทางออกท่ีดีทสี่ ุดเทา่ ท่ีมอี ยู่ในปจั จบุ ันและเป็นแนวคดิ การจัดการ สิง่ แวดลอ้ มแนว เดยี วท่ีมงุ่ เน้นการแก้ปญั หาที่พฤติกรรมมนุษย์ทมี่ ีต่อสิ่งแวดลอ้ มโดยตรง ความสาคญั ของจรยิ ธรรมส่งิ แวดลอ้ ม แม้จะมีกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อน า ทรพั ยากรธรรมชาติไปใช้สนองความ ต้องการของมนุษย์ แต่ทรัพยากรธรรมชาติจะไมถ่ ูกทาลายหมดสิ้น คนท่ีมี จรยิ ธรรมสง่ิ แวดล้อม จะรจู้ ักใช้ทรพั ยากรธรรมชาติอย่างฉลาด และขณะเดยี วกันกร็ ู้จกั พัฒนาและอนุรักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติให้ดารง อยูอ่ ย่างยง่ั ยนื และนน่ั ก็คือการร้จู กั หลกั การพฒั นาแบบยง่ั ยืน ดงั นน้ั จริยธรรม สง่ิ แวดลอ้ มจึงมี ความสาคญั ดังตอ่ ไปน้ี14 1.1 จรยิ ธรรมสิง่ แวดล้อมช่วยทาใหร้ ะบบนเิ วศวทิ ยาของโลกไม่ถกู ทาลาย ชว่ ยให้ ชวี ติ ของสตั ว์โลก อยรู่ อด ช่วยให้ส่ิงแวดล้อมไม่เกิดมลพิษ และเหนือสง่ิ อื่นใดช่วยให้มนุษยอ์ ยรู่ ่วมกันกับ สิ่งมีชีวิตต่างๆ อยา่ ง เป็นมิตรต่อกัน 1.7 จริยธรรมสง่ิ แวดล้อมชว่ ยให้มนษุ ยร์ ู้จักเคารพในสทิ ธขิ องสัตวโ์ ลกเหลา่ อนื่ จะ ไมท่ าลายและ เบียดเบยี นสตั วอ์ ืน่ จะให้ความรกั ความเมตตาแก่บรรดาสรรพสัตว์ เพอื่ ใหส้ ัตว์โลกเหล่าอ่ืน มชี วี ติ อย่รู อด มนษุ ยท์ ม่ี จี รยิ ธรรมสง่ิ แวดล้อมจะไมท่ าลายแหล่งที่อยู่อาศัยของสตั วอ์ นื่ ท้ังป้องกนั ไมใ่ ห้ คนอนื่ ทาลายดว้ ย เมือ่ สัตวโ์ ลกทั้งหลายมีทีอ่ ยู่ปลอดภยั กจ็ ะไมส่ ูญพันธุ์ และโดยหลกั ทางนิเวศวิทยา ความสมดลุ ของสง่ิ แวดลอ้ ม จะถูกควบคมุ ด้วยกฎธรรมชาตเิ อง โดยที่มนุษยไ์ ม่ต้องไปแทรกแซงแต่ ประการใด 1.4 จรยิ ธรรมสง่ิ แวดล้อมชว่ ยใหม้ นษุ ย์สนองตอบต่อธรรมชาตสิ ่ิงแวดลอ้ มในเชงิ ไมตรีและเช้งพง่ึ พา อาศยั ซึงกันและกัน มนุษยท์ ่มี ีจรยิ ธรรมสง่ิ แวดลอ้ มย่อมมองเห็นว่าธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ มชว่ ยอานวยประโยชน์ แกม่ นุษย์นานัปการ ธรรมชาตใิ หอ้ าหารให้ยารักษาโรค ให้ท่อี ยู่อาศัย ให้เคร่อื งนุ่งห่ม ให้ความสบายใจ และ ความสขุ สงบเป็นสถานท่พี ักผ่อนหย่อนใจ ทาให้จติ ใจหายเครียด เมอ่ื มองเชน่ น้ี มนุษย์ก็จะพัฒนาวธิ ีการปฏิบัติ 14 (คณะกรรมการบริหารวชิ าบูรณาการหมวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป, 7452: 147(

10 ต่อสงิ่ แวดล้อมในเชิงสร้างสรรค์ ไมใ่ ช่ในเชงิ ทาลาย และ เอาประโยชนจ์ ากธรรมชาตเิ พียงอย่างเดยี ว มนุษย์จะ เกอื้ กลู ตอ่ ธรรมชาติ ชว่ ยพัฒนาธรรมชาติให้ดีขึ้น อนั เปน็ การแสดงออกถงึ ความกตญั ญูกตเวทตี ่อธรรมชาติ แนวคดิ จริยธรรมสง่ิ แวดล้อม แนวคิดพน้ื ฐานทางจริยธรรมสิง่ แวดล้อมในท่นี ข้ี อกล่าวแนวคิด พนื้ ฐานของแตล่ ะศาสนา อนั เกี่ยวขอ้ งกับการปฏิบตั ิต่อสิง่ แวดลอ้ ม 1( ศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดู (Brahmanism-Hinduism) หลกั คาสอนมีความมงุ่ หมายใน การค้นหา ความจรงิ สงู สดุ เพราะเบื่อหน่ายในเร่ืองการเนน้ หนกั ในพธิ ีกรรม แสวงหาความหลุดพน้ สจู่ ติ บรสิ ุทธเิ์ พ่ือเข้าถึง พรหมันซึ่งเป็นพระเจ้าอนั สงู สุดของพราหมณ์ เป็นส่งิ แท้จรงิ เปน็ ตวั ตนทเ่ี ท่ยี ง ไมม่ ี ขอบเขตจากัด ไม่มีรูปร่าง ปรากฏอยูใ่ นทุกสิ่งแวดล้อม (เดือน คาดี, 7451: 4-2( 7( ศาสนาเชน (Jainism) หลักคาสอนเน้นเร่ืองอหิงสา คือการไมท่ า รา้ ยสง่ิ มีชวี ิตทาง ร่างกาย ทาง วาจา และทางน้าใจ อยา่ ฆา่ สัตวท์ ั้งหลายเพอ่ื อาหารของตน อย่าลา่ สตั ว์ อย่ายงิ นกตกปลา อย่าฆา่ ริน้ ยุง แมว้ า่ มันจะกัดกินเลอื ดเนอื้ อยา่ ออกสงคราม อยา่ ต่อสูศ่ ัตรู อย่ายา่ เหยยี บพืชใดๆ เพราะ สง่ิ ทั้งหลายมีวญิ ญาณ ทง้ั สิ้น โดยสรปุ คือ ความไม่เบยี ดเบยี นเป็นธรรมะอยา่ งยง่ิ สภาพความเป็นจรงิ นริ นั ดรมี 7 คือ ชีวะและอชีวะ หรือ วญิ ญาณกับอวิญญาณ วญิ ญาณมีอยู่ในสรรพสิ่งทม่ี องเหน็ ได้ไมร่ จู้ บ สนิ้ 7 ประเภทคอื เคล่ือนที่ได้ และ เคล่ือนที่ไม่ได้ ข้นึ อยู่กับอนุภาคเลก็ ๆ ทนี่ ับจานวนไมถ่ ้วน ธาตุ 5 คือ ดนิ น้า ลม ไฟ ทัว่ ทั้งเอกภพเตม็ ไปด้วย วญิ ญาณของส่ิงมีชีวิตที่มีขนาดเล็กละเอียดนับไม่ถ้วน (เดอื น คาดี, 7451: 62-68( 4( ศาสนาสกิ ข์ (Sikhism) หลกั คาสอนเน้นการปฏบิ ตั ติ นเพื่อมงุ่ สู่พระเจ้าองค์เดยี วท่ี สงู สดุ คอื องค์ อกาลปุรษุ โดยมุ่งหมายว่าถา้ ไม่ต้องการตายกจ็ ะต้องทาให้ไม่เกดิ และการท าไม่ให้เกดิ กค็ ือ การทาตวั ให้อยู่กับ พระผเู้ ป็นเจา้ โดยทาจติ ใจของคนใหผ้ ่องแผว้ โดยการต่นื นอนแต่เชา้ บรกิ รรมภาวนา ชาระจิตใจให้สะอาด ท า การงานอาชพี ทบ่ี รสิ ุทธิ์ ละเว้นการพนัน ยาเสพติดและประพฤตผิ ิดในกาม (เดือน คาดี, 7451: 81-85( 5( ศาสนาเต๋า (Taoism) หลักคาสอนเนน้ ความเท่ียงแท้อันสงู สดุ ซึ่งเปน็ เอกภาพโดย มีรูปร่างไม่ อาจกาหนดได้โดยประสาทสัมผสั ทั้งหลาย เตา๋ แฝงอยู่ในทุกสิง่ ทุกอย่างในธรรมชาติทุกชนดิ เตา๋ แสดงตัวเองให้ เห็นเปน็ รูปรา่ ง กฎธรรมชาตทิ ี่ไม่เปลี่ยนแปลงและแสดงความหมายเป็นมรรควิธแี ห่ง ธรรมชาติ โดยเลา่ จ้ือ กลา่ วว่า เต๋าเป็นแหลง่ ทาให้เกิดพลงั พลังน้ไี ด้มาต่อเม่ือเขา้ ถงึ เต๋าด้วยความ พยายามสนใจในวถิ ีธรรมชาติ ซงึ่ ไมอ่ าจบรรยายไดด้ ว้ ยภาษามนุษย์ อานาจมนษุ ย์ทเี่ อากฎมาจากโลก โลกเอามาจากสวรรค์ สวรรค์มาจากเต๋า และเตา๋ เปน็ มาด้วยความสมัครใจของมนั เอง คือสิง่ ท่ีเกิดเองเปน็ เองยอมรบั ธรรมชาติโดยไม่ขัดขืนต่อธรรมชาติ เปน็ หนทางนาไปสูค่ วามสขุ บุคคลไม่สามารถทจ่ี ะทานา้ ข่นุ มัวด้วยโคลนตนให้ใสสะอาดได้ โดยการกวนน้านนั้ ไปมา จงท้ิงมนั ไวเ้ ฉยๆ ไม่ต้องไปทาอะไรมันทั้งน้ัน น้ากจ็ ะใสข้นึ เอง ควรเอาตวั ไปอยู่กบั ธรรมชาติ คนดที ่ีสุด เหมอื นนา้ นา้ ใหป้ ระโยชนแ์ ก่ทุกสรรพสิง่ และ ไม่พยายามแก่งแย่งกับสิง่ ใด น้ากกั ขงั อยู่ในทต่ี า่ ทีส่ ุด ปล่อยให้ เป็นไปตามวิวฒั นาการธรรมชาติ จุดมุ่งหมายสงู สุดของชีวิตคือดวงวิญญาณเปน็ อมตะ มีความพอใจเป็นอยู่ อย่างเรียบงา่ ย ตามวิถีทางแห่ง ธรรมชาติ โดยกลับไปสูธ่ รรมชาติ ล้มเลิกขนบธรรมเนยี มประเพณที ง้ั หลาย แมก้ ระทัง่ วฒั นธรรม และ อารยธรรมท้ังหลายทงั้ ปวงท่ขี ัดขวางธรรมชาติ (เดือน คาดี, 7451: 90-99( 4( ศาสนาขงจอื้ (Confucianism) หลกั คาสอนเนน้ เร่ืองความจรงิ ไม่อาจแยกออกจาก ธรรมชาติ ของมนุษย์ได้ ถา้ จะแยกออกก็ไมถ่ ือวา่ เปน็ ความจรงิ และมนษุ ย์ทุกคนยอ่ มปรากฏเพยี งเหมอื น เปน็ คนเดยี ว เท่านน้ั ควรมคี วามเมตตากรณุ า และกตญั ญูกตเวทีต่อผมู้ ีพระคุณ สอนเร่ืองการดาเนินชีวิต ในสังคม ไมห่ ลกี หนีสังคม จะต้องแกไ้ ขสังคมก่อนให้ทุกคนปฏบิ ตั ติ ่อกนั ดว้ ยความเมตตาธรรมบนพื้นฐาน แห่งความยุติธรรม แก่นของธรรมชาติน้ันมนุษย์มีมาแต่เดมิ นน้ั กค็ ือธรรมท่ีแสดงตวั ปรากฏออกมาใน ฐานะแหง่ มรรค การบาเพ็ญ มรรคหรอื ธรรมก็คอื การปฏิบัติตนให้สัมพันธก์ ับกฎธรรมชาติ กลมกลนื กับ ความบริสทุ ธ์ิสะอาด เพ่ือบรรลุ

11 เทียน หรือ สวรรคเ์ ปน็ ทีส่ ุดแหง่ วิญญาณ ชวี ติ บนโลกนมี้ เี พียงครัง้ เดียว แมต้ ายไปแล้วก็เชือ่ วา่ ยังมีชีวติ อยู่ใน ฐานะวิญญาณ (เดือน คาดี, 7451: 98-104( 6( ศาสนาชินโต (Shinto’s) หลักคาสอนผสมผสานระหว่างศาสนาขงจ้ือกับพุทธ ศาสนา เน้นความ ศรัทธาในเทพเจ้า จักรพรรดิ วญิ ญาณบรรพบรุ ุษเป็นสาคัญ บูชาธรรมชาติเพราะเปน็ พ้นื ฐานจติ ใจทส่ี ะอาดงม งาม บูชาผกู้ ล้าหาญ วิญญาณเป็นเรอ่ื งอมตะ คนตายเทา่ กับการเปลีย่ นเคร่ือง แต่งตวั ใหม่ (เดือน คาดี, 7451: 104-117( 2( ศาสนาโซโรอสั เตอร์ (Zoroastrianism) หลกั คาสอนแสดงว่า โซโรอัสเตอร์เป็นผ้ไู ถ่ บาป อาหุ รามสั ดาเปน็ ผ้สู รา้ งโลกและชีวิต กาหนดทางเดนิ ของดวงอาทิตย์และดวงดาวทั้งหลาย คอยค้า ฟา้ มใิ ห้ทะลาย มาทับมนุษย์ ทรงบนั ดาลให้ต้นไมแ้ ละพืชทงั้ หลายโตขึน้ ทรงสร้างโลกและมนุษย์โดยวธิ ี ลองเอาดินมาปั้นเปน็ รปู ดูก่อนจนเปน็ ที่พอใจอยา่ งมนษุ ย์ที่เป็นอยูเ่ วลาน้ี ทรงสร้างชายและหญงิ ซงึ่ กลายมาเป็นบรรพบุรุษของ มนษุ ยชาตติ อ่ มา เนน้ การทาดี 4 ประการ คอื การคดิ ดี การพดู ดี และการท า ดี หลักปฏิบตั ิทีส่ าคัญอกี คอื ความยุติธรรมและความเมตตากรณุ า ชวี ิตนมี้ เี พยี งคร้งั เดียว จุดหมายชีวติ คอื สวรรค์ (เดอื น คาดี, 7451: 117-116( 8( ศาสนายวิ หรือ ยดู าย (Judaism) หลักคาสอนเนน้ บญั ญัติ 10 ประการ ซึง่ ครอบคลุมไปทั้งด้าน ศาสนา การเมือง เศรษฐกจิ และสงั คม เป็นรากฐานของกฎหมาย ระเบยี บ ข้อบังคับ วนิ ัยและศีล ข้อห้ามต่าง ๆ ของศาสนายวิ ตอ่ มา คือ อยา่ ไดม้ ีพระเจา้ อน่ื ต่อหน้าเรา อย่าทารปู ปั้นสาหรับตน อย่างออกพระนามของ พระยะโฮวา จงละลึกถึงวันซะบาโตถอื เปน็ วันศักดิ์สิทธิ์ จงนับถอื บิดามารดาของเจา้ อยา่ ฆา่ คน อย่าล่วง ละเมิดผวั เมียเขา อยา่ ลักทรพั ย์ อย่าเปน็ พยานเทจ็ ต่อเพ่ือนบ้าน อย่าโลภเรือน ภริยา ทาสาทาสี และสงิ่ ใด ๆ ของเพอ่ื บา้ น โดยพระเจา้ เป็นผู้สรา้ งฟ้าและดนิ ดินน้นั ก็ วา่ งเปล่าอยมู่ ีความมดื อยเู่ หนือนา้ และพระวญิ ญาณ ของพระเจา้ ได้ปกคลุมอยูเ่ หนือนา้ นัน้ ให้มีแสงสวา่ ง ให้มเี วลาเย็น และเวลาเชา้ พรอ้ มกับเนรมิตโลก ส่งิ ต่าง ๆ ขึ้นบนโลก รวมทัง้ พชื พันธุ์ สัตว์ตา่ ง ๆ และ มนษุ ย์ข้ึนไว้ จดุ หมายสูงสดุ คอื การไดอ้ ยูร่ ว่ มกันกบั พระเจ้าใน สวรรค์ (เดอื น คาดี, 7451: 119-174( 9( ศาสนาคริสต์ (Christianity) หลักคาสอนมีวา่ พระเยซเู ป็นบตุ รพระเจา้ และพระเจ้า ก็ส่งพระเยซู มาเกดิ บนโลกเพือ่ ไถบ่ าปมนุษยท์ ้ัง ผ้เู ชือ่ พระเยซูจะไม่ถูกพิพากษาในวนั สิ้นโลก จงรักพระ เจา้ สดุ ใจ และรัก เพื่อนบา้ นเหมือนรักตนเอง จุดมงุ่ หมายของชวี ติ คือการไปร่วมอยูก่ บั พระเจ้า ชีวิตใน โลกนีม้ เี พียงครง้ั เดยี ว พระเจา้ เป็นวิญญาณโลก เป็นอมตะ เป็นผสู้ ร้างและรสู้ รรพสงิ่ ทรงมีเมตตาไม่ ส้นิ สดุ พระองค์อยเู่ หนือ ธรรมชาติ (เดอื น คาดี, 7451: 175-178( 10( ศาสนาอสิ ลาม (Islam) หลกั คาสอนกล่าว่า จกั รวาลน้ีถูกสรา้ งโดยองค์อลั เลาะห์ ทรงสรา้ งมนุษย์ และได้ทรงกาหนดระยะเวลาใหม้ นุษยไ์ ด้อยูบ่ นโลกนี้ มิไดแ้ ยกวัตถแุ ละจิตใจออกจากกัน ไม่สอนใหม้ นุษย์หนี จากโลกวัตถุ ไม่เชื่อเร่ืองการทรมานกาย จงศรัทธาพระอลั เลาะห์ มลาอิกะฮ์ พระ คมั ภรี ์ของพระเจา้ บรรดาศา สนทตู วันปรโลก ท าละหมาดวันละ 4 ครง้ั การถือศลี อดปลี ะ 1 เดอื น (เดือนรอมฎอน( บรจิ าคทรพั ย์เป็น ทาน ประกอบพิธีฮจั ญ์ มีขอ้ ห้ามมากมาย เชน่ ห้ามกราบไหว้ ธรรมชาติ หา้ มบริโภคอาหารตอ้ งหา้ ม ห้าม รับประทานเนื้อสุกร หา้ มท าอาชพี ไม่สุจรติ หา้ มคุมกาเนิด ห้ามทาแท้ง เปน็ ต้น จุดมุง่ หมายสูงสุด คอื มอบตัว ตอ่ พระเจา้ ชีวติ น้มี ีเพยี งครัง้ เดยี ว (เดอื น คาดี, 7451: 162-180( ท่าทีของแนวคดิ ต่อการอนุรักษ์สง่ิ แวดล้อม ในศาสนาเทวนิยม ปรากฎคาสอนว่า ธรรมชาตใิ น ลักษณะทีเ่ ปน็ ส่งิ ถูกสรา้ งมาเพื่อเปน็ สมบตั ขิ องมนุษย์ ดังนั้นมนุษยจ์ ึงมีความชอบธรรมท่ีจะมี อานาจเหนอื ธรรมชาติสามารถจัดการกบั ธรรมชาตไิ ด้อย่างเสรี ทรัพยากรในโลกมไี วเ้ พื่ออานวยความสุข สบายของมนษุ ย์ ดงั นน้ั มนษุ ยจ์ งึ ถอื ว่าเป็นนายธรรมชาติ เปน็ สมบตั ทิ ่พี ระบิดาทรงประทานใหต้ ัง้ แต่วนั สรา้ งโลกแล้ว แต่

12 เน่อื งจากมนุษย์ทาผดิ ตอ่ พระเจ้า ไมร่ ักษาเจตนารมณข์ องพระเจา้ และมีความโลภไมม่ ี ส้ินสุด จึงมบี าปตดิ ตัว มาเกิด มนุษย์จึงเบียดเบียนกันเอง เอาเปรยี บธรรมชาติ ไม่รกั ษาสมบัติทไ่ี ดร้ บั มอบหมายไว้ มนุษยท์ ้งั หลายจงึ ประสบความทุกข์เดือดร้อนตามมา สว่ นศาสนาอเทวนยิ ม สอนวา่ มนษุ ยม์ ิใช้เจา้ ของ หรือเปน็ นายธรรมชาติ มนษุ ยเ์ ปน็ องคป์ ระกอบอนั หน่งึ ในธรรมชาติ ความสัมพนั ธ์กนั จงึ ไปตามกฎธรรมชาติ ควรเคารพและรักษา ธรรมชาตสิ ิ่งแวดล้อม ดังนัน้ การทาให้มนุษย์ตระหนักใน บทบาทของตนจงึ สาคัญที่สุด15 สรปุ ศาสนาตา่ งๆ จงึ มีแนวคิดจริยธรรมส่ิงแวดลอ้ มในการอนรุ ักษส์ ิง่ แวดล้อม โดยเนน้ การมี มโนธรรม สานกึ ทางสิง่ แวดล้อม เรม่ิ ต้นจากการตงั้ จิตไวช้ อบ เพราะจิตเป็นตัวนาการกระทาทัง้ ปวง จติ ที่ ประกอบดว้ ย มโนสานึกชอบต่อสิ่งแวดล้อม คอื จติ ท่ีตั้งอย่บู นอหิงสธรรม ไม่เบียดเบียนผู้อนื่ สตั ว์ และ ธรรมชาตสิ งิ่ แวดลอ้ ม ทั้งหลาย มคี วามเช่อื ในศีล ข้อห้าม ค าสอนในการอนรุ ักษ์ส่ิงแวดลอ้ ม โดยถือ ปฏิบตั ิเพ่ือการพัฒนา สิ่งแวดล้อมอย่างบูรณาการทั้งการพฒั นารา่ งกาย จติ ใจ และปญั ญา อนั เปน็ การ เข้าใจถึงความจรงิ ของ ธรรมชาตสิ ่งิ แวดลอ้ ม ซง่ึ เปน็ ไปตามระบบความสมั พนั ธ์ธรรมชาติ เกือ้ กูลกันของ มนุษย์ สังคมและธรรมชาติ ส่งิ แวดลอ้ มอย่างสมดลุ การพฒั นาแนวความคดิ เกย่ี วกบั ส่ิงแวดล้อมของมนุษย์เก่ยี วข้องกับสง่ิ ทเ่ี ราเรียก จริยธรรม โลกทรรศน์ ซง่ึ มคี วามหลากหลาย ในทีน่ ีจ้ ะกลา่ วถึงเฉพาะโลกทรรศน์ และจรยิ ธรรมเกี่ยวกบั สิ่งแวดลอ้ มของ มนษุ ย์ทส่ี าคัญดงั น้ี โลกทรรศนแ์ บบอุตสาหกรรมนยิ ม E.F. Schumacher กลา่ วว่า ความเสื่อมโทรมทางส่งิ แวดลอ้ ม ไม่ได้เกิดจากความขาดแ\"คลน ข้อมลู กาลงั คนหรืองบประมาณเพ่ือการวิจัย ความเสื่อมโทรมนี้เกดิ จากวิถีการดารงชีวิตของโลกสมยั ใหม่ซึ่ง ตง้ั อยบู่ นพ้นื ฐานความเชื่อบางอย่าของโลก ในระบบเศรษฐกิจ คนในสงั คมอตุ สาหกรรมส่วนใหญ่มโี ลกทรรศน์ ทเ่ี รียกวา่ \"Throwaway worldview\" ซง่ึ ตง้ั อยบู่ นพน้ื ฐานความเชอ่ื หลายประการ ซึง่ บางครง้ั อาจจะดจู าก พฤติกรรมคือ - มนษุ ย์เราแยกออกจากธรรมชาติ - มนุษย์เราอยูเ่ หนอื สิง่ มชี ีวติ อื่นๆ - บทบาทของมนษุ ย์เรา คือพิชติ และบังคับให้ธรรมชาติอยู่ใต้อานาจของเรา และใช้ธรรมชาติ ให้เปน็ ประโยชนต์ ่อเรา - ทรพั ยากรมีมากมายไมม่ ีขีดจากัด ทรัพยากรสามารถเพิ่มปริมาณขนึ้ ได้เสมอ และถ้าเกดิ ขาด แคลนเรากส็ ามารถแสวงหาส่ิงใหม่ ๆ มาทดแทนได้ - ยง่ิ บรโิ ภคและผลิตมากข้นึ เรากย็ ิง่ สบายขึ้นการครอบครองวัตถมุ ากขนึ้ แบบไม่มีขอบเขตย่อม เปน็ ไปได้เสมอเพราะเรามคี วามเจริญทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยี ความเจริญเติบโตทั้งปวงเปน็ ส่ิงทด่ี ี มีความ เจรญิ มากข้ึนยิ่งดี - บคุ คลทส่ี าคัญหรือชาตทิ ส่ี าคญั คือบุคคลหรอื ชาตทิ ่ีสามารถควบคุมและใชท้ รัพยากรได้มาก ทีส่ ดุ โลกทรรศน์แบบนีไ้ ด้รบั การสนบั สนุนจากความเชื่ออีกอย่างหน่งึ ที่ว่าจะค้มุ ครอง และจะให้อานาจ แก่เรา การครอบครองข่าวสารจะเป็นเคร่ืองมือหลกั ที่สนบั สนุนให้มนุษย์สามารถครอบงาพภิ พได้เบด็ เสรจ็ การ ใชป้ ระโยชนจ์ ากธรรมชาติยง่ิ เปน็ ไปอยา่ งรวดเรว็ และมปี ระสทิ ธิภาพทส่ี ดุ \"โลกทรรศนแ์ บบอตุ สาหกรรมนยิ มนี้ 15 เดือน คาด,ี คณะกรรมการบริหารวิชาบรู ณาการ. 7451: 162-180

13 นา่ จะ เกดิ จากโลกทรรศนห์ ลักทีเ่ รยี กวา่ Technocentrism ซง่ึ ตง้ั อยบู่ นความเชอ่ื วา่ มนษุ ยม์ คี วามสามารถสูง ในการใชเ้ ทคนิควิทยาศาสตร์ และการจดั การเพ่ือแสวงหา ประโยชนจ์ ากธรรมชาตไิ ด้อย่างไม่มีขอบเขต การมี พลังอานาจทางเทคโนโลยีอนั มหาศาล ทาให้มนษุ ยส์ ามารถควบคุมจัดการทรพั ยากรธรรมชาตไิ ด้ จริยธรรมทางส่งิ แวดล้อมแบบใหม่ ตราบใดทเ่ี รามองโลกด้วยโลกทรรศนแ์ นว Technocentrism เราจะไมม่ วี นั หลดุ พ้นไปจากวิกฤต การณทางส่งิ แวดลอ้ มได้เลยจึงเป็นจุดเร่ิมตน้ ของการมองโลกด้วยวิถีทางใหมท่ ่ีเชอ่ื ว่า ท่ีมีโลกเปน็ ระบบ\" ชีวิต มนษุ ยเ์ ราเปน็ สิ่งมีชวี ิต ทไี่ ม่อาจแยกจากธรรมชาตไิ ด้มนุษย์เปน็ หน่งึ เดยี วกบั ธรรมชาติ เปน็ สมาชกิ ของ ประชาคมโลกธรรมชาตซิ ึง่ เต็มไปดว้ ยส่งิ มีชีวิตหลากหลายทีม่ ีความเชื่อมโยงกนั \" เราอาจเรียกแนวใหมน่ ี้ว่า \"Sustainable Earth worldview\" โดย สรุปสาระได้ 4 หวั ข้อ คือ 1. การเรยี นรูก้ ฎนเิ วศวทิ ยาอย่างเปน็ ระบบ เพอ่ื ทีจ่ ะเขา้ ใจปรากฏการณ์พ้นื ฐานทางธรรมชาตแิ ละ ใหม้ ีพฤตกิ รรมสอดคล้องกบั กฎธรรมชาตอิ ยา่ งกลมกลืน อนั เปน็ เง่ือนไขสาคัญท่ีสดุ ของการดารงอยู่ของ ธรรมชาตอิ ยา่ งหลากหลายและมเี สถียรภาพ กฎนเิ วศวทิ ยาท่ีสาคญั มดี ังนี้ 1.1 ทุกสงิ่ ทุกอย่างท่ีมนุษย์เราทาไป ย่อมมผี ลกระทบทเ่ี ราไมส่ ามารถพยากรณ์ได้ ตอ่ บุคคล ตอ่ สงั คม และตอ่ สิ่งมชี ีวิตท้งั หมดในโลกธรรมชาติ 1.2 มนษุ ย์เป็นสว่ นหนึ่งของธรรมชาติ ส่ิงมชี ีวติ ทั้งหมดเกยี่ วพนั กนั และอาศยั พงึ่ พาซึ่งกนั และกัน 1.3 ธรรมชาติมีลักษณะยุ่งยาก ซบั ซ้อนทีส่ ุด โดยทม่ี นษุ ย์ไมส่ ามารถเขา้ ใจไดอ้ ยา่ งลึกซง้ึ และรอบด้าน 1.4 โลกธรรมชาติไมไ่ ดเ้ ปน็ ของมนุษย์ หากแต่มนุษย์เป็นของธรรมชาติ มนุษยเ์ ป็นเพยี งสว่ น เล็กๆ ของสายใยแหง่ ชีวติ เป็นสมาชกิ หน่งึ ของโลกธรรมชาตนิ ่ันเอง 1.5 บทบาทของมนุษย์ คือทาความเขา้ ใจรว่ มมือทางานกับธรรมชาติ ไมใ่ ช่พชิ ติ ธรรมชาติ จะเหน็ ได้ว่า กฎนเิ วศวิทยาทัง้ 5 ขอ้ น้เี ปน็ พ้ืนฐานของการสรา้ งจริยธรรมทางสงิ่ แวดลอ้ มแบบ ใหม่ ซ่ึงจะเปน็ เครอ่ื งชี้นาใหเ้ รามวี ถิ ีชีวิตท่สี อดคล้องกบั ธรรมชาติ 2. การเคารพสิทธทิ างธรรมชาติของสรรพส่ิงมีชีวติ โลกทรรศน์ ให้ \"โลกธรรมชาตยิ ัง่ ยนื \" ความสาคัญเร่ืองสิทธแิ ละหน้าทข่ี องบุคคลในสังคม นอกจากนน้ั ยังขยายขอบเขตของสทิ ธมิ นษุ ยไ์ ปสู่สิง่ มชี ีวิต ท้งั หมดดว้ ย หลกั การสาคัญเก่ียวกบั สทิ ธหิ นา้ ทเี่ หลา่ น้ี คือ 2.1 สิง่ มชี วี ิตท้ังหลายมีสทิ ธิที่จะมีชวี ติ อยู่ หรอื อยา่ งน้อยท่ีสดุ มสี ทิ ธทิ ่ีจะต่อสูเ้ พื่อการมีชีวติ อยู่ ด้วย เหตผุ ลง่ายๆ ท่ีวา่ เมอื่ เกิดมาแล้วตอ้ งดารงอยู่ต่อไป 2.2 การกระทาใดๆ กต็ าม ถ้าทาไปเพือ่ รักษาเสถยี รภาพ ความยั่งยนื และความหลากหลายของ ระบบนิเวศ ถอื ได้ว่าเปน็ สิ่งถูกต้อง แต่ถา้ ทาไปเพื่อทาลายถือว่าผดิ 2.3 มนษุ ย์ ทกุ คนท่ี เกดิ มาต้องรับผดิ ชอบต่อการกระทาของตนเองในกรณี ท่ีกอ่ ให้เกิดมลพษิ และ สรา้ งความทรดุ โทรมให้กับธรรมชาติ การนาของเสยี ไปท้ิงในธรรมชาติ นบั เป็นความผิดที่ร้ายแรง 2.4 เราจะต้องมอบโลกธรรมชาติ ให้เป็นสมบตั ิ ของคนร่นุ หลงั ในสภาพทไี่ มท่ รุดโทรมหรือในสภาพท่ี ดีกว่าคนรนุ่ หลงั ในอนาคตก็มีสิทธทิ จี่ ะมคี ุณภาพทางสง่ิ แวดลอ้ ม เท่าเทียมกัน 3. การรักษ์และอนรุ ักษ์ธรรมชาติ โลกทรรศนแ์ บบใหมม่ ีแนวคดิ ว่า สิ่งท่ดี ที ่สี ุดในชวี ติ ไม่ใช่ส่ิงของ หากแตเ่ ปน็ ความรกั ความหว่ งใย ความเมตตา และความสุข จึงยดึ หลกั ทว่ี า่ 3.1 การกระทาท่ีก่อใหเ้ กิดการสญู พนั ธ์ุ และการทาลายถิ่นฐานของส่งิ มีชีวติ ในธรรมชาติเปน็ สิ่งทผี่ ิด 3.2 เราจะต้องให้การคมุ้ ครองพ้นื ทีธ่ รรมชาติ ท่ียังเหลืออยู่ไม่ให้มีการดาเนินกจิ กรรมใดๆทท่ี าลาย ธรรมชาติ และจะต้องทาการฟ้นื ฟรู ะบบธรรมชาติทเี่ ส่ือมโทรมธรรมชาติ คอื ถ่นิ ฐานทีเ่ ราเคยเร่มิ ต้นมา

14 3.3 ในการคุ้มครองธรรมชาติ เราจะต้องดาเนินการให้ไปไกลกวา่ ขอ้ บงั คับทางกฎหมาย 3.4 จงให้ความรัก ความหว่ งใย ความเอาใจใสส่ ่ิงแวดลอ้ มในชมุ ชนของเรา และดารงชวี ติ อย่าง สอดคล้องกับธรรมชาติ 3.5 มคี วามเมตตาและความรกั ต่อผ้ยู ากไร้ และส่ิงแวดลอ้ มของผ้ยู ากไร้มากที่สุด เหนือส่งิ อนื่ ใด สันติ สขุ และความยุติธรรมทางสง่ิ แวดลอ้ มไม่อาจมีข้นึ ได้ ตราบใดที่มวลชนส่วนใหญ่ในสังคมยังยากไร้อยู่ 3.6 รกั และช่นื ชมธรรมชาติโดยการสมั ผัสโดยตรง จะเปน็ วิถที างท่ีดีทสี่ ุดในการสอนใหเ้ ราอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ 4. การสร้างจรยิ ธรรมทางเศรษฐศาสตรส์ เี ขยี ว มหี ลักการท่ีสาคัญ คือ 4.1 ในการสนองความต้องการของมนุษยเ์ พ่อื การดารงอย่คู วรทจ่ี ะต้องใช้ ทรพั ยากรและสงิ่ แวดลอ้ ม อย่างระมัดระวังที่สุด ไม่ให้เกิดความเสยี หายอย่างมากหรือรุนแรง 4.2 เมอื่ มีการเปลยี่ นแปลงธรรมชาติ ก็ตอ้ งเปลี่ยนแปลงในลักษณะท่ยี ่ังยืน สอดคลอ้ งกับวิถีทาง ธรรมชาติ 4.3 ทรัพยากรมปี ริมาณจากัด จึงต้องใช้แบบประหยัดไมล่ ้างผลาญหรือฟุ่มเฟือย 4.4 ต้องใช้ทรัพยากรธรรมชาตขิ องโลกอยา่ งเหมาะสมพอดี 4.5 เปน็ สงิ่ ทผี่ ิด ถ้าเรามองว่า คนและส่ิงมชี วี ิตอื่นๆ คือปจั จัยการผลิต ซง่ึ วดั ค่าด้วยเงินตรา 4.6 ทกุ สง่ิ ทเี่ รามใี นระบบเศรษฐกจิ มีตนกาเนดิ จากโลกธรรมชาติ และแสงอาทติ ย์ ถ้าโลกธรรมชาติ ลม่ สลายเศรษฐกิจก็พงั ไปดว้ ย 4.7 อยา่ กระทาสิ่งใดทเี่ ปน็ การทาลายดลุ ยภาพในโลกธรรมชาติ อนั เป็นการ บั่นทอนดลุ ยภาพทาง ธรรมชาติ เศรษฐกิจ อนั เปน็ ระบบสนับสนนุ ทางธรรมชาติ คอื การขาดสมดลุ ที่ยงิ่ ใหญ่ และร้ายแรงที่สดุ Miller กล่าวว่า การทเี่ ราจะมีโลกทรรศน์แนวโลกธรรมชาติย่ังยนื ไดน้ ้ัน เราต้องผา่ นการยกระดับ Environmental awareness 4 ระดบั ด้วยกัน คือ ระดบั ที่ 1 เราเริ่มมองเห็นปรากฏการณ์และรับร้ปู ญั หา เราเริม่ รสู้ กึ วา่ กาลงั มีปัญหาบางอยา่ ง เกดิ ขน้ึ เช่น ปัญหามลพิษ เราคิดแต่เพียงวา่ เมื่อมปี ัญหามลพิษ เราต้องเข้าไปแก้ไข โดยการควบคุมหรือแก้ไข แต่ยงั มองไมเ่ ห็นระบบ ระดับท่ี 2 เริม่ มองเหน็ ความสัมพันธข์ องปัจจัยต่างๆ ท่ีเชอ่ื มโยงกันอย่างเปน็ ระบบ เชน่ เรมิ่ รสู้ กึ วา่ ปญั หามลพษิ ความเสอื่ มโทรมทางสิ่งแวดล้อม และการหมดสน้ิ ของทรัพยากรเป็นเรือ่ งที่เกีย่ วพนั กับปัญหา ประชากร การพัฒนาอุตสาหกรรม ลทั ธกิ ารบริโภคนยิ ม และความยากจนในสังคม การตื่นตวั มากขน้ึ ในระดับ นีเ้ รยี กร้องใหเ้ ราแก้ปัญหาอย่างเปน็ ระบบเช่นกัน แตเ่ รายังมองไมเ่ ห็นวา่ ปัญหาส่ิงแวดล้อมเข้าไปเก่ยี วข้องกับ ระบบเศรษฐกิจการเมอื งได้อย่างไร ระดับท่ี 3 การตื่นตวั ในระดับนี้ จะทาให้เรามองเห็นความเช่ือมโยงทางด้านส่ิงแวดล้อมอย่างเปน็ ระบบมากขน้ึ และมีการแสวงหาทางเลือกใหม่ ๆ ในการจัดระบบทางเศรษฐกจิ สงั คม เช่นมองหาแนวทางการ พฒั นาเศรษฐกจิ แบบใหม่ ทเี่ รียกกนั วา่ นขณะเดียวกนั ก็พัฒนาวธิ กี ารจัดการทางใ \"การพฒั นาแบบยงั่ ยืน\" สง่ิ แวดล้อมท่ีมีลักษณะสลับซับซอ้ นและมีประสทิ ธภิ าพยิ่งขึ้น ระดับที่ 4 เป็นการตืน่ ตวั ในระดับสูงสุด มนุษย์จะต้องนกึ ถึงหากขาดการคงอยู่ของ ทรัพยากรธรรมชาติ กท็ าให้ทุกชีวติ ขาดดลุ ยภาพในการดารงชวี ติ จงึ พยายามทีจ่ ะเขา้ ใจและสร้างแนวคดิ และ ความรสู้ กึ แบบใหม่ อันเกดิ จากการเข้าถึงธรรมชาติ ซึ่งหมายความว่า วถิ ชี ีวติ แบบใหมจ่ ะตอ้ งมีลักษณะเรยี บ งา่ ย ปฎิเสธบริโภคนยิ ม ไม่ล่มุ หลงในวตั ถุ และใช้ชวี ติ อย่างมคี วามหมาย

15 สรุปทา้ ยบท ประเทศไทยก็ไม่แตกตา่ งไปจากท่กี ลา่ วมา และสภาพของความเส่อื มโทรมของสง่ิ แวดล้อมไดเ้ พ่มิ ข้ึน อยา่ งรวดเรว็ ท้งั นเ้ี พราะการเร่งรดั พฒั นาเศรษฐกิจเพ่อื ให้ฐานะของประเทศกา้ วรุดไปข้างหนา้ การพฒั นาโดย อาศัยทรัพยากรธรรมชาตเิ ป็นพ้นื ฐาน โดยคานงึ ถึงประโยชนท์ จี่ ะได้รบั ด้านเดยี วนั้นได้ทาใหส้ ภาพแวดล้อมของ ชาตติ กอยู่ในสภาพเสอื่ มโทรมจนเหน็ ไดช้ ดั ไมว่ ่าจะเปน็ ปัญหาพื้นทป่ี า่ ไม้ ซงึ่ เหลืออย่เู พียง 25% ของพ้นื ที่ ประเทศ การลดลงอย่างรวดเร็วของพนื้ ท่ปี ่าไมน้ นั้ เกดิ จากการลกั ลอบตัดไม้ทาลายป่า ปัญหาทดี่ ิน ซ่ึงมีการใช้ ทีผ่ ิด ๆ อยเู่ สมอ ๆ ปจั จุบันพื้นที่กว่าครง่ึ หน่ึงของประเทศ ถูกใชเ้ พ่ือการเกษตรโดยขาดการวางแผน ซงึ่ ทาให้ ยากตอ่ การป้องกนั และแกไ้ ขความเส่ือมของดนิ หรอื การนาพื้นทด่ี ินทีเ่ หมาะสมต่อการเกษตรไปใชป้ ระโยชน์ใน การตัง้ ถิน่ ฐานที่อยู่อาศัยของชุมชน ตลอดจนความขัดแย้งในการใชป้ ระโยชนจ์ ากทรัพยากรธรรมชาติ เชน่ การ ทาเหมืองแรใ่ นปา่ สงวนหรือการสรา้ งเขอื่ นในเขตปา่ ไม้ ต้นน้าลาธาร ปัญหาน้าเสีย ซ่ึงเกิดจากการปล่อยของ เสียจากแหล่งชมุ ชน จากโรงงานอตุ สาหกรรม จนทาใหแ้ หล่งนา้ เสื่อมคณุ ภาพ ทาใหเ้ กิดการขาดแคลนน้าที่ สะอาด ปัญหามลพิษของอากาศ ที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม ยานพาหนะ ท่ีทวีความรุนแรงเพ่มิ มากขึ้นจน ทาให้ปริมาณของสารพิษ อาทิ คาร์บอนมานอกไซด์ ซัลเฟอรไ์ ดออกไซด์ ออกไซด์ของไนโตรเจน ตะกัว่ และฝุ่น ละอองปะปนอยู่ในอากาศมาก จนเปน็ อนั ตรายต่อสุขภาพและทรัพยส์ ิน ปัญหาเสยี งอึกทกึ ทีเ่ กิดจาก ยานพาหนะโรงงานอุตสาหกรรม ซึง่ สว่ นใหญจ่ ะเกิดอยูใ่ นชุมชนใหญ่ ๆ ทม่ี ีประชากรอยู่หนาแน่น อาทิ กรุงเทพฯ เป็นต้น ปญั หาขยะมูลฝอยท่เี กิดจากการท้ิงของเสยี จากชมุ ชนทม่ี อี ตั รามากเกินกว่าจะเกบ็ ทาลายได้ หมด นอกจากนกี้ ารทงิ้ ขยะมูลฝอยแบบมกั งา่ ยยงั ไดก้ ่อให้เกิดปญั หาข้ึนกับสงิ่ แวดลอ้ มอื่น ๆ อาทิ นา้ เนา่ เสยี อากาศเป็นพิษ ปัญหาสารเป็นพษิ ซึง่ เกดิ จากสารเคมที ี่ใชป้ ราบศตั รูพชื และสารพิษทเ่ี ป็นโลหะหนักจากโรงงาน อตุ สาหกรรมและรถยนต์ สารเคมีทใี่ ช้ในอาหาร ซง่ึ บางชนิดใช้เวลานานกว่าจะสลายตวั จากการสารวจได้พบ สารพิษตกคา้ งอยใู่ นผกั ในดินท่เี พาะปลูก ในแหลง่ น้า สัตว์น้า ซง่ึ ไดม้ ีการสะสมตัวเองเพ่ิมมากขึ้นจนส่วนใหญ่ อยใู่ นระดับสงู เกนิ ความปลอดภยั ตอ่ ชวี ิต16 ความเสือ่ มโทรมของสงิ่ แวดล้อมได้ปรากฎให้เห็นอยา่ งชัดเจนในวนั นี้ ซึง่ เปน็ ความจาเป็นท่ที ุกคน จะตอ้ งชว่ ยกันรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอ้ มให้อยูไ่ ด้ต่อไป เพราะความเส่ือมโทรมของส่ิงแวดล้อมมีผลโดยตรงต่อ ชาตบิ ้านเมอื ง ประเทศจะไมส่ ามารถทาการพัฒนาส่ิงใดไดอ้ ีก หากวา่ ไม่มที รัพยากรเหลืออยอู่ ีก ดงั นั้นรฐั จงึ จะตอ้ งดาเนนิ การจัดใช้ทรพั ยากรธรรมชาติให้ถูกตอ้ งและรอบคอบไปพร้อม ๆ กับการพัฒนาประเทศ โดย จะต้องคานึงวา่ ทรัพยากรของชาติทมี่ อี ยจู่ ากัดนัน้ เปรยี บเสมือนเป็นตน้ ทนุ ของชาติ เพราะฉะนั้นในการกาหนด แผนพัฒนาเศรษฐกิจ จึงควรคานึงในแง่ทว่ี า่ เปน็ การนาเอาทรพั ยากรธรรมชาตมิ าใช้จ่าย ซึ่งจะต้องจดั ให้ เหมาะสมกบั ตน้ ทุนเพื่อความอยูร่ อดของชาติ และเพ่อื ใหเ้ กิดปัญหากับสภาพแวดลอ้ มให้น้อยที่สุด ความสาคญั ประการหน่ึงในการที่จะรกั ษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมของชาตเิ อาไวใ้ ห้ไดก้ ็คือ การจะตอ้ ง เข้าใจวา่ ในการแก้ไขปญั หาส่ิงแวดลอ้ มนัน้ การใช้วิธีการแก้ไขเปน็ จุด ๆ ไปน้นั ไมเ่ ปน็ การช่วยใหป้ ัญหานน้ั ยุติ ลงได้ ซ่งึ สามารถให้ผลดไี ดเ้ พียงชว่ั คราว แต่อาจกลายเปน็ ปัญหาให้เกิดกับสง่ิ แวดลอ้ มอ่ืน ๆ ได้อีก การ แกป้ ัญหาที่ถูกต้องนั้นจะต้องใชห้ ลักวิชาของนิเวศวิทยามาช่วยในการจัดการกบั ทรัพยากรธรรมชาติ ศึกษาถึง ผลกระทบทจ่ี ะเกิดขนึ้ ทุกครง้ั เพอื่ ทจี่ ะใหส้ ิ่งแวดล้อมของชาติ ไมถ่ ูกทาลายใหเ้ ส่ือมโทรมไปมากกว่าที่เปน็ อยู่ใน ปจั จบุ นั และเพื่อทีจ่ ะรักษาคุณภาพสง่ิ แวดล้อมของชาติให้ดไี วต้ ลอดไป 16 หนงั สอื ความรเู้ รือ่ งสง่ิ แวดล้อม กรมส่งเสรมิ คุณภาพสิง่ แวดล้อม

16 คาถามท้ายบท ๑. จงอธิบายความหมายของจริยธรรม ๒. จรยิ ธรรมท่ีสาคัญต่อสิง่ แวดลอ้ มคืออย่างไร ๓. สิง่ แวดลอ้ มคืออะไรมีความสาคญั อย่างไร ๔. มนษุ ยม์ ีความเก่ียวขอ้ งอย่างไรกับส่งิ แวดลอ้ ม ๕. เพราะเหตุใดจงึ มีการเรียนรู้เกยี่ วกับจรยิ ธรรมสง่ิ แวดล้อม

17 บทที่ ๒ สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ขอบข่ายการศกึ ษา ๑.บอกความหมายของจรยิ ศาสตร์และจรยิ ธรรมได้ ๒.รู้และเขา้ ใจเก่ียวกบั ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม ๓.บอกประเภทของทรัพยากรและสง่ิ แวดล้อม ๔.อธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งมนษุ ย์กบั ทรัพยากรและสง่ิ แวดล้อม ความนา มนษุ ย์มีความสัมพันธก์ บั สง่ิ แวดล้อมอย่างแนบแนน่ ในอดีตปัญหาเรอื่ ง ความสมดุลของธรรมชาติ ตามระบบนิเวศยังไมเ่ กดิ ขึ้นมากนัก ทง้ั นเ้ี น่ืองจากผ้คู นในยุคต้น ๆ นั้น มชี วี ิตอยู่ใต้อทิ ธพิ ลของธรรมชาติ ความเปล่ียนแปลงทางดา้ นธรรมชาตแิ ละสภาวะ แวดล้อมเป็นไปอยา่ งค่อยเป็นค่อยไปจึงอยใู่ นวิสยั ที่ ธรรมชาติสามารถปรบั ดลุ ของตวั เองได้ กาลเวลาผ่านไป มนษุ ย์มีขีดความสามารถในการพัฒนาที่สงู ขึ้น มี การผลิตเทคโนโลยที ี่ทนั สมยั มากข้ึนและนามาใช้มากขึ้น ทาใหม้ นุษยเ์ ริม่ บรโิ ภคมากขนึ้ การนาเทคโนโลยี มาใช้ เป็นไปใน ๒ ลักษณะคือในแง่ของการพัฒนาทาใหก้ ารผลติ ได้ทลี ะมากขน้ึ และในแงข่ องการสูญเสยี เป็นการทาลายทรัพยากรธรรมได้อย่างรวดเร็วทาใหร้ ะบบนเิ วศน์ขาดความสมดุล สังคมปัจจบุ นั ทรพั ยากรธรรมชาติถูกทาลายไปมาก มนษุ ย์ก็ยังใช้ความสามารถที่เหนือกวา่ หาสงิ่ อน่ื มาทดแทนจนได้ จงึ เรียกวา่ ยุคกลายพันธ์ุ แต่เนอ่ื งจากทรัพยากรธรรมชาตทิ ่ีอย่แู วดล้อม เปน็ วฏั จกั รแหง่ ความสมดลุ คือการ พง่ึ พาอาศัยซ่งึ กนั และกัน เมื่อส่งิ หนง่ึ ถกู ทาลายสูญหายไป กย็ อ่ มกระทบกบั สิง่ อน่ื ๆ อีก ด้วยเหตุนเ้ี อง จงึ มี ปญั หารนุ แรงดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มเกิดขึน้ ไปทวั่ ทุกมมุ ของโลก ๑. ความหมายทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม คาว่าทรัพยากร ตามพจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ให้ความหมายของทรพั ยากร ว่าวา่ หมายถงึ ส่งิ ท้ังปวงอันเปน็ ทรพั ย์ สิง่ ทง้ั ปวงคืออะไรบ้าง จะตอ้ งหาคาศัพทม์ าต่อท้ายเชน่ ทรพั ยากร ธรณีคอื ทรัพย์อันอยใู่ ตแ้ ผน่ ดิน ทรพั ยากรมนุษย์ คือคุณคา่ ท่มี ีอยู่ในตัวมนุษย์ ทรัพยากรธรรมชาติคอื คุณคา่ ของสง่ิ ทเ่ี กดิ มเี กิดเปน็ โดยภาวะปกติ ทรัพยากรนนั ทนาการคือคุณคา่ ของการกระทาใด ๆ ทที่ าให้เกดิ ความสขุ ความพึงพอใจ เปน็ ตน้ ทรพั ยากรธรรมชาติ คือส่งิ ที่ปรากฏอย่ตู ามธรรมชาติที่เกดิ ข้ึนมาเองและมีพัฒนาการตามลาดับ ท่ี องิ อาศัยและเอื้อประโยชน์ต่อทรพั ยากรธรรมชาติอน่ื และมนุษย์ ส่งิ แวดล้อม หมายถึง สิ่งตา่ งๆ ทีอ่ ยู่ลอ้ มรอบตวั มนุษยแ์ ละสิ่งอ่นื สงิ่ แวดลอ้ มหนึ่งย่อมเป็น สง่ิ แวดลอ้ มอน่ื ๆอีก พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอ้ มแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ไดใ้ หค้ วามหมาย สิ่งแวดล้อมไว้วา่ “สง่ิ แวดล้อม” หมายถงึ สิ่งตา่ งๆทมี่ ลี ักษณะทางกายภาพและชวี ภาพ ที่อยรู่ อบ ตัวมนุษย์ ซึง่ เกดิ ขึน้ โดยธรรมชาติและส่ิงท่มี นษุ ย์ไดท้ าข้นึ

18 กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมไดใ้ ห้ความหมายส่ิงแวดล้อมไวว้ า่ “ส่ิงแวดลอ้ ม” หมายถึง ทุกสิ่ง ทุกอย่างที่อยู่รอบตวั มนุษย์ทัง้ ท่ีมีชีวิต และไม่มีชวี ติ รวมทงั้ ทีเ่ ป็นรปู ธรรม สามารถจับต้องและมองเห็นได้ และนามธรรม เช่นวัฒนธรรมแบบแผน ประเพณี ความเชื่อ มอี ทิ ธพิ ล เก่ยี วโยงถึงกนั เป็นปัจจัยในการ เก้อื หนุนซงึ่ กนั และกนั ผลกระทบจากปจั จัยหนงึ่ จะมสี ว่ นเสริมสร้างหรือทาลายอีกส่วนหนึ่ง อยา่ งหลกี เลย่ี ง มิได้ ส่ิงแวดล้อมเป็น วงจรและวฏั จักรท่เี กีย่ วข้องกนั ไปท้ังระบบ ๒. ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ดงั เปน็ ที่ทราบแลว้ วา่ ทรัพยากรธรรมชาตกิ ับสง่ิ แวดลอ้ มน้ันมีอทิ ธิพลเกย่ี วโยงถึงกนั เป็นปัจจยั ใน การเก้ือหนนุ ซึ่งกันและกนั ผลกระทบจากปัจจยั หนง่ึ จะมีส่วนเสริมสร้างหรือทาลายอกี สว่ นหนึง่ อย่าง หลีกเลย่ี งมิได้ สิ่งแวดล้อมเป็นวงจรและ วฏั จกั รสิ่งแวดล้อม คอื ทุกสง่ิ ทุกอยา่ งที่อยูร่ อบตัวมนษุ ย์ท้ังที่มีชีวติ และไม่มีชีวติ รวมทงั้ ทเี่ ป็นจักรทเ่ี กย่ี วข้องกันไปทัง้ ระบบ ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ ทรพั ยากรธรรมชาติ แบ่งตามลักษณะท่นี ามาใชไ้ ด้ ๒ ประเภทใหญ่ ๆ คอื ๑. ทรพั ยากรธรรมชาติประเภทใช้แล้วไมห่ มดส้นิ ได้แก่ ๑.๑ ประเภทที่คงอยู่ตามสภาพเดมิ ไม่มีการเปล่ียนแปลงใด ๆ เลย เชน่ พลังงาน จากดวง อาทติ ย์ ลม อากาศ ฝุ่น ใช้เท่าไรก็ไมม่ ีการเปล่ียนแปลงไม่รู้จกั หมด ๑.๒ ประเภทท่ีมีการเปล่ยี นแปลงได้ เนื่องจากถูกใชใ้ นทางทผี่ ดิ เชน่ ที่ดิน น้า ลกั ษณะภมู ิ ประเทศ ฯลฯ ถ้าใช้ไม่เป็นจะก่อให้เกิดปญั หาตามมา ได้แก่ การปลูกพืชชนดิ เดียวกนั ซา้ ๆ ซาก ๆ ในท่เี ดิม ย่อมทาใหด้ ินเสือ่ มคณุ ภาพ ไดผ้ ลผลิตนอ้ ยลงถา้ ต้องการให้ดนิ มีคุณภาพดีต้องใสป่ ยุ๋ หรอื ปลูกพชื สลบั และ หมนุ เวียน ๒. ทรัพยากรธรรมชาตปิ ระเภทใช้แล้วหมดสิน้ ไป ได้แก่ ๒.๑ ประเภททีใ่ ชแ้ ล้วหมดไป แตส่ ามารถรักษาให้คงสภาพเดิมไวไ้ ด้ เช่น ป่าไม้ สตั ว์ป่า ประชากรโลก ความอดุ มสมบูรณข์ องดนิ น้าเสยี จากโรงงาน นา้ ในดิน ปลาบางชนิด ทศั นียภาพอนั งดงาม ฯลฯ ซงึ่ อาจทาให้เกิดขึน้ ใหม่ได้ ๒.๒ ประเภททีไ่ ม่อาจทาให้มีใหมไ่ ด้ เช่น คุณสมบตั ธิ รรมชาตขิ องดนิ พร สวรรค์ของมนุษย์ สติปญั ญา เผา่ พนั ธขุ์ องมนุษย์ชาติ ไม้พุ่ม ต้นไม้ใหญ่ ดอกไมป้ ่า สตั วบ์ ก สัตว์น้า ๒.๓ ประเภทท่ีไม่อาจรกั ษาไวไ้ ด้ เมอื่ ใชแ้ ล้วหมดไป แตย่ ังสามารถนามายุบให้ กลบั เป็นวัตถเุ ชน่ เดมิ แล้วนากลับมาประดิษฐ์ข้นึ ใหม่ เช่น โลหะต่าง ๆ สงั กะสี ทองแดง เงิน ทองคา ฯลฯ ๒.๔ ประเภทที่ใชแ้ ลว้ หมดสน้ิ ไปนากลบั มาใชอ้ ีกไม่ได้ เช่น ถา่ นหิน นา้ มนั ก๊าซ อโลหะ ส่วนใหญ่ ฯลฯ ถกู นามาใชเ้ พียงคร้งั เดียวกเ็ ผาไหม้หมดไป ไม่สามารถนามาใช้ใหมไ่ ด้ ทรพั ยากรธรรมชาตหิ ลกั ทส่ี าคญั ของโลก และของประเทศไทยไดแ้ ก่ ดนิ ปา่ ไม้ สตั วป์ า่ นา้ แร่ธาตุ และ มนุษย์ ประเภทของสิ่งแวดล้อม สง่ิ แวดล้อมของมนุษยท์ ี่อยรู่ อบ ๆ ตัว ทงั้ สงิ่ ท่มี ชี วี ติ และไม่มชี วี ติ ซึง่ เกิดจาก การกระทาของมนษุ ย์ แบง่ ออกเป็น ๒ ประเภท คอื ๑. สงิ่ แวดล้อมทางธรรมชาติ คอื ส่งิ ทเ่ี ป็นอยู่โดยธรรมชาติ แบง่ ออกเปน็ ๒ ชนิดคือ ๒.๑ ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ อากาศ ดนิ ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ ลกั ษณะ

19 ภูมิอากาศ ทัศนยี ภาพตา่ ง ๆ ภูเขา หว้ ย หนอง คลอง บึง ทะเลสาบ ทะเล มหาสมุทรและ ทรพั ยากรธรรมชาติทุกชนิด มีลักษณะเคลื่อนที่ไม่ได้ ๒.๒ สง่ิ แวดล้อมทางชีวภาพหรือชีวภมู ิศาสตร์ ไดแ้ ก่ พชื พนั ธุ์ธรรมชาตติ ่าง ๆ สตั วป์ า่ ป่า ไม้ สิง่ มีชวี ติ อนื่ ๆ ท่ีอยรู่ อบตัวเราและมวลมนษุ ย์ มีลกั ษณะทีส่ ามารถเคล่ือนทไ่ี ด้ ๒. สิ่งแวดลอ้ มทางวฒั นธรรม หรือส่งิ แวดล้อมประดษิ ฐ์ หรือมนษุ ยเ์ สริมสร้างกาหนดขึน้ ไดแ้ ก่ ส่งิ แวดล้อมทางสังคมท่ีมนุษย์เสริมสรา้ งขึน้ โดยใช้กลวธิ ีสมัยใหม่ ตามความเหมาะสมของสังคม เศรษฐกจิ การเมือง ศาสนา และวัฒนธรรม เชน่ เคร่ืองจกั ร เครอ่ื งยนต์ รถยนต์ พดั ลม โทรทัศน์ วทิ ยุ ฝนเทียม เขือ่ น บา้ นเรอื น โบราณสถาน โบราณวตั ถุ อ่นื ๆ เช่น อาหาร เคร่ืองน่งุ ห่ม ทอี่ ยู่อาศัย ยารักษา โรค คา่ นยิ ม และสขุ ภาพอนามัย เป็นต้น ๓. การเปล่ียนแปลงของสง่ิ แวดล้อม สง่ิ แวดลอ้ มจะมีการเปลย่ี นแปลงอยเู่ สมอในอดตี การเปลี่ยนแปลงของส่งิ แวดล้อมเป็นไปคอ่ นข้าง นอ้ ยมาก เพราะมีความสมดลุ ทางทรัพยากรธรรมชาตสิ ูง ปัจจบุ นั มีการเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเรว็ และ รุนแรง ปจั จยั ทกี่ ่อให้เกดิ การเปลี่ยนแปลงเกดิ จากสาเหตุ ๒ ประการ คือ ๑. มนุษย์ มนุษย์ เป็นตัวการเปลยี่ นแปลงสงั คมเพอื่ ผลประโยชนข์ องตนเอง มากกว่าสงิ่ อน่ื เช่น ชอบจับปลา ในฤดูวางไข่ ใช้เครื่องมือถ่ีเกินไปทาใหป้ ลาเล็ก ๆ ติดมาด้วย ลกั ลอบตดั ไม้ทาลายปา่ เพื่อนามาสรา้ งที่อยู่ อาศัย สง่ เปน็ สนิ คา้ หรือเพ่ือใช้พน้ื ที่เพาะปลกู ปล่อยของเสียจากโรงงานและไอเสียจากรถยนตท์ าให้ สง่ิ แวดลอ้ มเป็นพษิ น้าเนา่ อากาศเสยี ๒. ธรรมชาตแิ วดลอ้ ม ธรรมชาตแิ วดลอ้ ม สว่ นใหญ่มกี ารเปลี่ยนแปลงอยา่ งชา้ ๆ เชน่ แม่นา้ ที่พัดพาตะกอนไปทบั ถม บรเิ วณนา้ ท่วม และปากแมน่ ้าต้องใชเ้ วลานานจึงจะมตี ะกอนมาก การกดั เซาะพงั ทลายของดินก็ เช่นเดยี วกัน สว่ นการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วน้ันเกดิ จากแรงภายในโลก เชน่ แผน่ ดนิ ไหว ภเู ขาไฟระเบิด อื่น ๆ ได้แก่ อุทกภัยและวาตภัย ไฟป่า เปน็ ตน้ ซึง่ ภัยธรรมชาติดังกลา่ วจะไม่เกดิ บ่อยครัง้ กลา่ วโดยสรุป มนุษย์เปน็ ตัวการสร้าง และทาลายส่งิ แวดล้อมมากกว่าธรรมชาติ ความสาคัญของทรัพยากร และสงิ่ แวดลอ้ ม ที่สุดธรรมชาตแิ วดล้อมก็กลบั มาทาลายมนุษย์อีก ๔. ความสาคัญของสง่ิ แวดลอ้ ม ส่งิ แวดลอ้ มท่ีอยูร่ อบตัวมนุษย์ สามารถแบ่งออกเปน็ สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ ไดแ้ ก่ ดนิ น้า ลม ไฟ อากาศ แสดงอาทติ ย์ แร่ธาตุ ภูเขา เป็นตน้ ซ้ึงลว้ นแตเ่ กิดมีเกิดเปน็ โดยธรรมชาติ และสง่ิ แวดล้อมท่ีมนุษย์ สร้างขึน้ เชน่ อาหาร ท่ีอย่อู าศัย เครอ่ื งนงุ่ ห่มสุขภาพอนามัย รวมทงั้ วฒั นธรรมประเพณี ค่านิยม และ พรสวรรค์ สิง่ แวดลอ้ มทั้งโดยธรรมชาตแิ ละท่มี นุษย์สรรสร้างข้นึ ยอ่ มมคี วามสาคญั ต่อส่ิงมีชีวิต ไมว่ า่ สิ่งแวดล้อมนน้ั จะมีชวี ติ หรือไม่มชี วี ิต ก็ล้วนกใ็ หเ้ กดิ ประโยชนแ์ ละโทษต่อส่ิงมชี วี ติ ได้ทงั้ ส้ิน ความสาคัญของสงิ่ แวดล้อม ท่ีมีต่อส่งิ มชี วี ิต สรุปไดด้ ังนี้ ๑. สง่ิ แวดลอ้ มทางกายภาพ หรอื สิ่งแวดล้อมท่ไี มม่ ชี ีวติ มคี วามสาคญั ตอ่ สิ่งมชี ีวิตทอี่ าศัยอยู่ใน ส่ิงแวดลอ้ มนน้ั เชน่ นา้ ใช้เพื่อการบริโภคและเปน็ ที่อยอู่ าศัยของสัตวน์ า้ อากาศ ใช้เพื่อการหายใจของ มนษุ ยแ์ ละสัตว์ ดนิ เป็นแหลง่ ที่อยู่อาศัยของสิง่ มีชีวิตบนบก แสงแดดใหค้ วามร้อนและช่วยในการสงั เคราะห์

20 แสงของพชื ๒. ส่ิงแวดลอ้ มทางชีวภาพ จะชว่ ยปรบั ใหส้ ง่ิ มชี ีวิตอาศัยอย่ใู นสภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมกับการ ดารงชีวติ ของมนั ได้ เชน่ ชว่ ยให้ปลาอาศยั อยใู่ นนา้ ทล่ี ึกมาก ๆ ได้ ชว่ ยให้ตน้ กระบองเพชรดารงชวี ิตอย่ใู น ทะเลทรายได้ ๓. ส่ิงมีชีวติ จะเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพแวดล้อม เช่น มีการปรบั ตวั ให้เขา้ กบั สภาพแวดลอ้ ม ใหม่ ๔. สง่ิ แวดล้อมจะเปลีย่ นแปลงไปตามการกระทาของสิ่งมชี ีวติ ท่อี ย่ใู นส่งิ แวดล้อมนนั้ เช่น เมื่อสัตว์ กินพชื มีจานวนมากเกินไปพชื จะลด จานวนลง อาหารและท่ีอยู่อาศยั จะขาดแคลน เกดิ การแก่งแยง่ กัน สูงขน้ึ ทาใหส้ ัตว์บางส่วนตายหรือลดจานวนลงระบบนเิ วศก็จะ กลบั เข้าส่ภู าวะสมดลุ อีกครง้ั หนึง่ ๕. ส่ิงแวดล้อมจะกาหนดรปู แบบความสมั พันธ์ของสงิ่ มชี วี ติ ที่อาศยั อยู่ในส่ิงแวดล้อม ในแงข่ องการ ถา่ ยทอพลงั งาน ระหว่างผ้ผู ลิต ผู้บรโิ ภค ผ้ยู อ่ ยสลาย ในแง่ของการอยรู่ ว่ มกนั เก้ือกูลกัน หรือเบียดเบียนกัน มนุษย์สามารถใช้ประโยชนจ์ ากส่งิ แวดล้อม ได้มากมาย ในลกั ษณะท่ีแตกต่างไปจากสง่ิ มชี ีวิตอื่น ๆ เชน่ ใช้ ประโยชนจ์ ากดนิ เพื่อการเพาะปลูก ใช้ประโยชนจ์ ากทงุ่ หญ้าเพอื่ การเลีย้ งสัตว์ ใช้ประโยชนจ์ ากเหมอื งแร่ เพื่อการอุตสาหกรรม ความสาคัญของสงิ่ แวดลอ้ มที่อยรู่ อบตัวเราน้ันมีคณุ ประโยชน์ต่อการดารงชีวิตในสงั คมอยา่ งย่ิง ถา้ มนษุ ย์ไม่ร้จู ักใชท้ รัพยากรและรักษาส่งิ แวดลอ้ มอยา่ งถูกวิธี จะกอ่ ใหเ้ กิดความเสียหาย เป็นบอ่ นทาลาย ส่ิงมีชีวติ มนษุ ย์ พชื สตั วแ์ ละทรัพยากรธรรมชาติ เชน่ ดิน นา้ ลม ไฟ แร่ธาตุ เปน็ ตน้ ๕. ประโยชนข์ องสง่ิ แวดล้อม สิง่ แวดล้อมทุกประเภทมผี ลการะทบต่อมนุษยท์ ัง้ ทางตรงและอ้อมเสมอ ถา้ หากส่ิงแวดล้อมนัน้ ดี สะอาด เหมาะสมต่อการดารงชวี ิตของมนุษย์ แล้วถือวา่ มปี ระโยชน์ แตถ่ า้ สิง่ แวดลอ้ มนั้นไมด่ ี ไมส่ ะอาด เปน็ อนั ตรายต่อการดารงชีวิต แล้ว ถอื ว่าเปน็ สิง่ แวดล้อมน้ันๆไมม่ ปี ระโยชน์ อย่างไรก็ตาม สิง่ แวดล้อมบนโลกของเรานับวา่ มีประโยชน์ต่อสง่ิ มีชีวติ ทกุ ชนดิ ทจ่ี ะต้องพง่ึ พาอาศยั กนั และกนั ในการดารงชวี ิต ท้งั ทางตรงและทางอ้อม โดยโลกมีปจั จัยพนื้ ฐานที่จาเป็นต่อการดารงชีวติ ของมนษุ ย์ คอื มีพลังงานจากดวงอาทิตย์ บรรยากาศหอ่ หุม้ โลก กา๊ ซต่างๆทจ่ี าเปน็ สนามแม่เหล็กโลก น้า ดนิ แรธ่ าตุ ป่าไม้ สัตวป์ ่า เราสามารถจาแนกประโยชน์ของสงิ่ แวดล้อมในลักษณะต่างๆได้ดงั น้ี ๑. เปน็ แหล่งอาหาร เช่น ในปา่ ในน้า หรือใชพ้ ้นื ดนิ ในการทาการเกษตร ฯลฯ ๒.เปน็ แหล่งท่ีอยูอ่ าศัย มนุษยส์ ร้างท่ีอยู่อาศยั อยูบ่ นพ้ืนดนิ ๓.เป็นแหล่งวตั ถุดิบในการผลิตเครือ่ งนุ่งห่ม เชน่ พชื สตั ว์ ๔.เปน็ แหล่งยารักษาโรค เชน่ พืชชนิดตา่ งๆ สตั ว์ แรธ่ าตุ ฯลฯ ๕.เป็นแหลง่ พักผอ่ นหย่อนใจ หรือท่องเทยี่ ว ๖.เปน็ แหล่งศกึ ษาหาความรู้ ด้านต่างๆ มนษุ ยร์ ู้ว่าสงิ่ แวดลอ้ มทั้งที่มีชีวติ และไม่มีชวี ิตมีคุณค่าให้คุณประโยชน์มากมายมหาศาล เชน่ นี้ หากยังขาด จิตสานึกทจี่ ะใหค้ วามสาคัญน้อยอยู่อีกไมน่ านธรรมชาติแวดลอ้ มน้ันก็กลับมาทาลายมนุษย์ อย่างหลีกเล่ียง ไดย้ าก

21 ๖. ทรัพยากร สง่ิ แวดล้อมมที ้ังส่ิงที่มชี ีวติ และไม่มีชีวติ เกิดจากการกระทาของมนุษยห์ รอื มีอยู่ตามธรรมชาติ เช่น อากาศ ดิน หนิ แรธ่ าตุ น้า ห้วย หนอง คลอง บงึ ทะเลสาบ ทะเล มหาสมทุ ร พืชพรรณสัตวต์ า่ ง ๆ ภาชนะ เครื่องใชต้ า่ ง ๆ ฯลฯ สงิ่ แวดลอ้ มดงั กล่าวจะมีการเปล่ียนแปลงอยเู่ สมอ โดยเฉพาะมนุษย์เปน็ ตัวการสาคัญ ยงิ่ ทีท่ าใหส้ ่งิ แวดล้อมเปลีย่ นแปลงทั้งในทางเสริมสรา้ งและทาลาย จะเหน็ ว่า ความหมายของทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม มีความสัมพนั ธ์กนั อย่างใกล้ชิด ต่างกนั ท่สี ิง่ แวดล้อมนั้นรวมทุกสิ่งทกุ อยา่ งท่ปี รากฎอย่รู อบตวั เรา ส่วนทรัพยากรธรรมชาติเน้นสง่ิ ทอี่ านวย ประโยชนแ์ กม่ นษุ ย์มากกวา่ สิ่งอ่ืน ดังนนั้ ทรัพยากรเราสามารถแบง่ ได้เปน็ ๒ อย่างคือ ทรัพยากรธรรมชาติ และทรัพยากรนันทนาการ ๖.๑ ทรพั ยากรธรรมชาติ ในอดีต ประเทศไทยเป็นดินแดนทอี่ ุดมสมบรู ณด์ ้วยทรัพยากรธรรมชาติทัง้ บนบกและในน้า การ เรง่ รดั พฒั นาประเทศท่เี รม่ิ ตน้ เม่ือกวา่ สามสิบปีทผ่ี ่านมาแล้ว โดยมไิ ดร้ ะมดั ระวงั และให้ความสาคัญตอ่ การ จดั การทรัพยากรธรรมชาตเิ ท่าทีค่ วร ทาใหม้ ีการตกั ตวง ประโยชน์จากทรพั ยากรธรรมชาติอย่างส้นิ เปลอื ง มไิ ดค้ านงึ ถึงอตั ราการเกดิ ทดแทนหรอื การฟนื้ ตวั ตามธรรมชาติ ดังนนั้ ในปัจบุ ันทรพั ยากรธรรมชาตขิ อง ประเทศจึงอยู่ในสภาพที่เสือ่ มโทรม สร้างข้อจากัดของการพัฒนาในระยะต่อไป ในขณะนี้จงึ จาเป็นอยา่ งย่ิง ท่ีทกุ ฝ่าย ทงั้ สว่ นราชการและเอกชนจะต้องหนั มาสนใจ และรว่ มมอื กนั เพ่ือจัดการทรัพยากรธรรมชาติอยา่ ง จริงจงั ใหส้ ามารถใชป้ ระโยชน์ทรพั ยากรธรรมชาติเพื่อเป็นปัจจัยพ้ืนฐานในการดารงชีวติ ของประชาชน ทง้ั ในเมืองและในชนบท และการพฒั นาประเทศท่ีย่ังยืนตลอดไปตามหลักวชิ าการ จดั ประเภท ทรพั ยากรธรรมชาติ ออกเปน็ ๓ ประเภท ทีส่ าคญั ดงั นี้ ๑. ทรัพยากรทีใ่ ชแ้ ลว้ ไม่หมด หรือสูญหายไป เราสามารถใชท้ รัพยากรประเภทนไี้ ดอ้ ยา่ งไม่จากัด เน่ืองจากธรรมชาตสิ รา้ งใหม้ ีใชอ้ ย่ตู ลอดเวลา ไดแ้ ก่ บรรยากาศนา้ ท่ีอยใู่ น วัฎจกั ร ซง่ึ เกิดจากการหมนุ เวยี น เปล่ยี นแปลงของนา้ กลา่ วคือ เม่ือน้าตามที่ต่างๆ ไดร้ ับความรอ้ นจากดวงอาทติ ย์ กจ็ ะระเหยกลายเป็นไอน้า ลอยขน้ึ ไปบนบรรยากาศเม่ือกระทบกับความเย็นก็จะ รวมตวั เปน็ ละอองนา้ เล็กๆ ลอยจับตวั กันเป็นกลมุ่ เมฆ เมื่อจบั ตวั กันมากขึน้ และกระทบกบั ความเยน็ ก็จะกลั่นตวั กลายเปน็ หยดนา้ ตกลงสู่พืน้ โลก แลว้ ไหลลง สแู่ ม่น้า ลาธาร และไหลออกสูท่ ะเล เปน็ ลกั ษณะของการเปล่ียนแปลงหมุนเวียนตอ่ เน่ืองกันตลอดเวลา ทา ใหม้ ีน้าเกดิ ขึ้นบนผิวโลกอยู่สมา่ เสมอทรพั ยากรประเภทนีร้ วมท้ังแสงแดด ลม และทัศนียภาพทสี่ วยงามตาม ธรรมชาติ อกี ดว้ ย ๒. ทรัพยากรทใี่ ช้แลว้ หมดแต่สร้างทดแทนได้ ตัวอย่างเช่น ป่าไม้ ดนิ ทีด่ ิน แหล่งน้า ทุ่งหญา้ และสัตว์ปา่ เป็นต้น ทรัพยากรประเภทนเี้ ม่ือใชแ้ ลว้ จะสามารถสรา้ งขน้ึ มาทดแทนไดต้ ามธรรมชาติของส่งิ น้นั ๆ อยา่ งไรกด็ กี ารใช้ประโยชนก์ ็ต้องเป็นไปอย่างเหมาะสม ไมค่ วรใช้มากเกินต้องการและเกินกวา่ ที่ ธรรมชาติ จะสรา้ งขนึ้ มาทดแทนได้ มิฉะน้ันทรัพยากรชนดิ นัน้ ก็จะร่อยหรอ เส่ือมโทรมลง และสญู สิน้ ไป การเสือ่ มโทรมและสูญสิ้นกอ่ ให้เกดิ ผลกระทบต่อทรพั ยากรชนดิ อืน่ ๆ ท่ีมคี วามสัมพนั ธ์ และอยู่ใน สภาพแวดลอ้ มเดยี วกัน ๓. ทรพั ยากรท่ีใช้แล้วหมดไป ไม่มกี ารสร้างทดแทนได้ เช่น แรน่ า้ มัน ท่ีดิน ในสภาพธรรมชาติ แหล่งทเ่ี หมาะสมสาหรบั ศึกษาธรรมชาติแหล่งธรรมชาติทีห่ าดูได้ยาก แหล่งท่องเทีย่ วธรรมชาติทม่ี ี เอกลักษณ์เฉพาะตัว รวมทง้ั สภาพธรรมชาติใดๆ ท่ถี ูกใชไ้ ปแลว้ ก็ไม่อาจเกิดข้ึนได้เหมอื นเดิมอีก เช่น แร่ธาตุ นา้ มัน เม่อื นามา ใชป้ ระโยชน์ก็จะหมดส้นิ ไป โดยธรรมชาตไิ ม่อาจจะสร้างขนึ้ ทดแทนได้ในชั่วอายุของคนรุ่น ปจั จุบนั ทรพั ยากรประเภทนี้ควรใช้โดยประหยดั ทสี่ ดุ ค้มุ ค่า และไม่ให้เกิดผลกระทบต่อสภาพแวดลอ้ ม

22 ทรัพยากรประเภทที่ดินสวยงามในสภาพธรรมชาติ เช่น แพะเมืองผี ที่จงั หวดั แพร่ เกิดจากการกัดกร่อนตาม ธรรมชาติ ทาใหม้ รี ูปรา่ งลกั ษณะที่เป็นเอกลักษณ์เปน็ ที่สนใจของนักท่องเทย่ี วผ้ไู ปเยยี่ มชมมากมาย เราจึง ควรช่วยกันดแู ลรักษาไว้ ให้คงสภาพตามธรรมชาตใิ ห้นานทีส่ ดุ ๖.๒ ทรพั ยากรนันทนาการ นนั ทนาการ หมายถงึ การกระทาใด ๆ ทีท่ าให้เกดิ ความสุข ความพึงพอใจ สนุกสนาน เกิดความ เล่ือมใสศรัทธา เสรมิ สรา้ งความรู้ และออกกาลงั กาย การนันทนาการเปรียบเสมือนอาหารใจทีท่ าให้คนเกดิ ความสมบรู ณท์ างดา้ นสมองและจิตใจ ดังนั้นการนนั ทนาการจงึ มีความสาคัญไมย่ ่ิงหย่อนไปกว่าอาหารท่ี มนุษยร์ บั ประทานเขา้ ไป จากการที่มนุษยต์ ้องตรากตราทางานหนักตลอดทัง้ วันหรือสปั ดาห์ จะทาใหร้ า่ งกายเหนด็ เหน่ือย เมอื่ ยลา้ สมองตงึ เครยี ด และเบ่อื หน่ายตอ่ งานท่ีทา จึงจาเป็นท่ตี อ้ งหาเวลาพกั ผ่อนเพ่ือเพ่ิมประสทิ ธิภาพใน การทางานในการทางานใหด้ ีย่ิงขึน้ ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากวนั สนิ้ สุดสัปดาห์หรอื วันหยุดเทศกาลตา่ ง ๆ ประชาชนชาวเมืองจะเดินทางออกไปพักผอ่ นในชนบททอ่ี ยู่หา่ งไกลออกไป ในขณะที่คนในชนบทจะ หลั่งไหลกันเข้าเมอื งเพ่ือพักผ่อนตามโรงภาพยนตร์ หรอื แหลง่ ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมและเลอื กซ้ือสนิ ค้า ตามศนู ยก์ ารคา้ ตา่ ง ๆ อย่างไรก็ตามการนันทนาการอาจจะทาได้หลายวิธีทัง้ นข้ี ้ึนอยูก่ บั รสนิยม ความถนดั และความต้องการ ปัจจบุ นั สถานทน่ี นั ทนาการจะเพ่ิมความสาคัญมากยงิ่ ขึน้ เพราะการเพ่ิมขน้ึ ของจานวนประชากร ความเจริญกา้ วหนา้ ทางดา้ นเทคโนโลยี และมีเวลาว่าง จึงทาให้การเดนิ ทางท่องเที่ยวเพื่อการพกั ผ่อน กระทาได้ไกลจากถ่ินที่อยมู่ าก ซงึ่ ทาใหส้ ถานท่นี นั ทนาการทงั้ ทางธรรมชาตแิ ละวฒั นธรรมทอี่ ยูห่ ่างไกล ออกไปจากยา่ นชมุ ชน มผี เู้ ขา้ ไปใช้บรกิ ารมากยิ่งข้นึ เอกชนบางแห่งได้หันมาลงทุนเพ่ือดาเนนิ การทาธรุ กจิ ทางด้านนนั ทนาการเป็นจานวนมาก เปน็ ตน้ ว่า การจัดสร้างสวนสนุก สวนสตั ว์ โรงภาพยนตร์ ศูนยก์ ารคา้ รีสอร์ต การบรกิ ารทางดา้ นการขนส่ง และสนามกีฬา ซึ่งธรุ กิจเหล่านนี้ อกจากจะทารายได้ให้กับ ผปู้ ระกอบการอยา่ งดีแล้วยงั ช่วยในการสร้างงานให้กบั ประชาชนโดยทั่วไปอีกด้วย การนนั ทนาการจะทาไดห้ ลายลกั ษณะ ขน้ึ อยู่กบั เพศ วยั และความสนใจของแต่ละบุคคล ถา้ หาก จะจัดชนิดของการนนั ทนาการตามหลกั สากลแลว้ อาจจะแบง่ ออกได้ ๔ กลุม่ ใหญ่ ๆ ดว้ ยกนั คอื การกีฬา การออกกาลังกาย เพ่ือศึกษาหาความรู้ และเปลยี่ นบรรยากาศ ความสาคญั ของสถานทน่ี นั ทนาการ

23 สถานท่ีนนั ทนาการ สามารถมหี ลายสถานทเี่ ช่น สนามกีฬา สนามเดก็ เล่น สวนสาธารณะ สวน สตั ว์ พิพิธภัณฑ์ โบราณสถาน โบราณวตั ถุ ศลิ ปวตั ถุ วดั โรงมหรสพ ศูนยก์ ารค้า เป็นตน้ สถานท่ดี งั กล่าว เป็นแหลง่ ความรู้ เปน็ สถานที่พกั ผอ่ นหย่อนใจ นอกจากนี้ยังเป็นการนาทรัพยากรมาใช้ใหเ้ กิด ประโยชน์ และช่วยในการสรา้ งงานในท้องถิน่ สถานที่นนั ทนาการเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่ายิง่ และเป็นสิ่งจาเป็นทต่ี ้องทาการบารงุ รกั ษาไว้ ทัง้ นเ้ี พราะ สถานท่นี ันทนาการจะเสื่อมสภาพไปตามกาลโดยเฉพาะอย่างย่ิงสถานที่นนั ทนาการทางวัฒนธรรม สถานที่ นันทนาการทางธรรมชาติ เช่น ทะเลสาบ ชายหาด ถา้ นา้ ตก ภผู า และอื่น ๆ เมื่อมผี ู้เข้าไปใชบ้ รกิ ารมาก ๆ จะทาใหเ้ ส่ือมโทรมและสกปรกได้หากไม่มีการบารงุ รกั ษาอยา่ งถกู ต้องตามหลักวชิ าการ ๖.๓ ทรพั ยากรมนษุ ย์ ทรัพยากรมนษุ ย์ ถือวา่ เป็นสิ่งแวดลอ้ มทม่ี ีความสาคัญ และเชอ่ื มโยงกบั ทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ ที่ค่อนข้างมีอิทธิพลด้วย เพราะเหตุว่ามนษุ ยน์ ้นั เป็นสตั ว์สงั คมท่มี ีศักยภาพสูง มขี ดี ความสามารถในการ พัฒนาตนเองให้อยู่เหนอื ทรัพยากรธรรมชาตอิ ่ืน พร้อมทจี่ ะพัฒนาและพร้อมที่จาทาลาย ความสมั พนั ธ์ของทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส่ิงแวดลอ้ มมที ้ังสง่ิ ท่ีมชี ีวิตและไม่มชี ีวิตเกิดจากการกระทาของมนุษย์หรอื มอี ยู่ตามธรรมชาติ เชน่ อากาศ ดนิ หิน แรธ่ าตุ นา้ ห้วย หนอง คลอง บงึ ทะเลสาบ ทะเล มหาสมทุ ร พืชพรรณสัตวต์ ่าง ๆ ภาชนะ เครือ่ งใชต้ ่าง ๆ ฯลฯ ส่ิงแวดลอ้ มดงั กล่าวจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ โดยเฉพาะมนษุ ย์เป็นตวั การสาคญั ยิ่งทที่ าใหส้ ่ิงแวดล้อมเปลย่ี นแปลงทั้งในทางเสริมสร้างและทาลาย1 จะเห็นว่า ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม มคี วามสมั พันธ์กันอยา่ งใกล้ชิด ต่างกนั ท่ีสิง่ แวดล้อมนน้ั รวมทุกสง่ิ ทกุ อยา่ งทป่ี รากฎอยรู่ อบตัวเรา ส่วนทรพั ยากรธรรมชาตเิ น้นส่ิงทีอ่ านวย ประโยชน์แกม่ นุษย์มากกว่าสิ่งอื่น ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม ทรพั ยากรธรรมชาติ แบ่งตามลักษณะทนี่ ามาใช้ได้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คอื 1. ทรัพยากรธรรมชาติประเภทใชแ้ ล้วไม่หมดสนิ้ ไดแ้ ก่ 1) ประเภททค่ี งอยูต่ ามสภาพเดิมไม่มีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ เลย เช่น พลงั งาน จากดวง อาทิตย์ ลม อากาศ ฝ่นุ ใชเ้ ท่าไรก็ไมม่ ีการเปลยี่ นแปลงไมร่ ู้จักหมด 2) ประเภททมี่ ีการเปลี่ยนแปลงได้ เนือ่ งจากถูกใช้ในทางท่ีผิด เช่น ท่ดี ิน นา้ ลกั ษณะภมู ิ ประเทศ ฯลฯ ถ้าใชไ้ ม่เป็นจะกอ่ ใหเ้ กิดปญั หาตามมา ได้แก่ การปลกู พืชชนดิ เดียวกันซา้ ๆ ซาก ๆ ในทีเ่ ดิม ย่อมทาใหด้ นิ เสือ่ มคุณภาพ ได้ผลผลติ นอ้ ยลงถา้ ตอ้ งการให้ดินมคี ณุ ภาพดีต้องใสป่ ุ๋ยหรือปลูกพืชสลบั และ หมนุ เวยี น 2. ทรัพยากรธรรมชาตปิ ระเภทใช้แลว้ หมดส้นิ ไป ได้แก่ 1) ประเภทท่ีใช้แล้วหมดไป แตส่ ามารถรกั ษาให้คงสภาพเดิมไว้ได้ เชน่ ป่าไม้ สัตว์ป่า ประชากรโลก ความอดุ มสมบูรณ์ของดนิ นา้ เสียจากโรงงาน นา้ ในดิน ปลาบางชนิด ทัศนียภาพอันงดงาม ฯลฯ ซง่ึ อาจทาให้เกดิ ข้นึ ใหม่ได้ 2) ประเภทท่ีไม่อาจทาให้มีใหมไ่ ด้ เช่น คณุ สมบัตธิ รรมชาติของดนิ พร สวรรคข์ องมนษุ ย์ สตปิ ัญญา เผ่าพนั ธ์ุของมนุษย์ชาติ ไม้พุ่ม ตน้ ไม้ใหญ่ ดอกไมป้ ่า สตั ว์บก สตั วน์ ้า ฯลฯ 1 https://sites.google.com/site/jayprueknut/hnwy

24 3) ประเภทที่ไม่อาจรักษาไว้ได้ เม่อื ใช้แลว้ หมดไป แต่ยงั สามารถนามายบุ ให้ กลบั เป็นวตั ถุ เช่นเดิม แล้วนากลับมาประดิษฐข์ นึ้ ใหม่ เช่น โลหะตา่ ง ๆ สงั กะสี ทองแดง เงนิ ทองคา ฯลฯ 4) ประเภททใี่ ชแ้ ล้วหมดสิ้นไปนากลับมาใช้อกี ไม่ได้ เชน่ ถา่ นหนิ นา้ มันกา๊ ซ อโลหะส่วน ใหญ่ ฯลฯ ถูกนามาใช้เพยี งครั้งเดียวก็เผาไหมห้ มดไป ไมส่ ามารถนามาใช้ใหมไ่ ด้ ทรัพยากรธรรมชาตหิ ลักทสี่ าคัญของโลก และของประเทศไทยไดแ้ ก่ ดิน ปา่ ไม้ สตั ว์ปา่ นา้ แร่ธาตุ และประชากร (มนุษย์) ข. สิง่ แวดล้อม สิ่งแวดลอ้ มของมนุษยท์ ี่อยูร่ อบ ๆ ตวั ท้งั สิง่ ทีม่ ชี ีวติ และไม่มชี ีวิต ซงึ่ เกดิ จาก การกระทาของมนษุ ย์ แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท คอื สิ่งแวดลอ้ มทางธรรมชาติ 2. สง่ิ แวดลอ้ มทางวัฒนธรรม หรือสงิ่ แวดลอ้ มประดิษฐ์ หรือมนุษย์เสรมิ สรา้ งกาหนดข้ึน สงิ่ แวดล้อมธรรมชาติ จาแนกได้ 2 ชนิด คอื 1) สง่ิ แวดลอ้ มทางกายภาพ ได้แก่ อากาศ ดิน ลักษณะภมู ิประเทศ ลกั ษณะ ภมู ิอากาศ ทัศนยี ภาพตา่ ง ๆ ภเู ขา หว้ ย หนอง คลอง บงึ ทะเลสาบ ทะเล มหาสมทุ รและทรัพยากรธรรมชาติทุกชนิด 2) ส่งิ แวดล้อมทางชวี ภาพหรือชีวภูมิศาสตร์ ได้แก่ พชื พันธธุ์ รรมชาติตา่ ง ๆ สัตวป์ ่า ป่า ไม้ สิ่งมีชวี ติ อ่ืน ๆ ที่อย่รู อบตัวเราและมวลมนษุ ย์ สง่ิ แวดล้อมทางวฒั นธรรม หรือสง่ิ แวดลอ้ มประดิษฐ์ หรือมนษุ ยเ์ สรมิ สรา้ งขน้ึ ได้แก่ สง่ิ แวดลอ้ ม ทางสงั คมท่ีมนุษยเ์ สริมสรา้ งข้ึนโดยใช้กลวิธีสมยั ใหม่ ตามความเหมาะสมของสงั คม เศรษฐกิจ การเมือง ศาสนา และวฒั นธรรม เช่น เคร่ืองจักร เครื่องยนต์ รถยนต์ พัดลม โทรทศั น์ วิทยุ ฝนเทียม เข่อื น บา้ นเรือน โบราณสถาน โบราณวัตถทุ อ่ืน ๆ ไดแ้ ก่ อาหาร เคร่ืองน่งุ ห่ม ที่อยู่อาศยั ค่านิยม และสุขภาพอนามัย สิ่งแวดล้อมมีการเปลย่ี นแปลงอยู่เสมอ ซ่ึงเกิดจากสาเหตุ 2 ประการ คือ 1) มนษุ ย์ 2) ธรรมชาติแวดลอ้ ม มนษุ ย์ เป็นตัวการเปล่ียนแปลงสงั คมเพ่ือผลประโยชนข์ องตนเอง มากกวา่ ส่งิ อืน่ เช่น ชอบจับปลา ในฤดวู างไข่ ใชเ้ ครื่องมือถีเ่ กนิ ไปทาใหป้ ลาเล็ก ๆ ตดิ มาดว้ ย ลกั ลอบตัดไมท้ าลายป่า เพือ่ นามาสรา้ งที่อยู่ อาศัย สง่ เปน็ สินคา้ หรือเพื่อใชพ้ ื้นทเี่ พาะปลกู ปล่อยของเสียจากโรงงานและไอเสยี จากรถยนต์ทาให้ สง่ิ แวดลอ้ มเป็นพิษ (น้าเนา่ อากาศเสยี ) ธรรมชาตแิ วดล้อม ส่วนใหญม่ ีการเปลีย่ นแปลงอย่างชา้ ๆ เชน่ แม่น้าที่พัดพาตะกอนไปทบั ถม บรเิ วณน้าท่วม และปากแมน่ ้าต้องใช้เวลานานจงึ จะมตี ะกอนมาก การกัดเซาะพังทลายของดนิ ก็ เช่นเดยี วกนั สว่ นการเปล่ยี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ นั้นเกิดจากแรงภายในโลก เช่น แผน่ ดินไหว ภเู ขาไฟระเบดิ อืน่ ๆ ได้แก่ อุทกภัยและวาตภัย ไฟป่า เปน็ ต้น ซ่ึงภยั ธรรมชาติดงั กลา่ วจะไม่เกดิ บอ่ ยครั้งนัก สรุป มนุษย์เปน็ ตัวการสรา้ ง และทาลายส่งิ แวดล้อมมากกว่าธรรมชาติ ความสาคัญของทรัพยากร และส่งิ แวดลอ้ มสหรฐั อเมริกา ไดส้ ง่ ดาวเทยี มสารวจทรัพยากรโลก (Earth Resources Technology Satellite หรอื ERTS) ดวงแรกของโลกเมื่อวนั ท่ี 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 ดาวเทียมน้ีจะโคจรรอบโลก จากขัว้ โลกเหนอื ไปทางข้วั โลกใตร้ วม 14 รอบต่อวันและจะโคจรกลบั มาจุดเดมิ อีกทุก ๆ 18 วัน ข้อมูลทีไ่ ด้ จากดาวเทยี มจะมีท้ังรูปภาพและเทปสมองกลบนั ทกึ ไว้ ซ่ึงมีประโยชนอ์ ยา่ งยง่ิ ในการช่วยแกป้ ญั หาเกี่ยวกับ ทรพั ยากรธรรมชาติของโลก ส่วนประเทศไทยก็ไดร้ บั ข้อมูล และภาพที่เปน็ ประโยชนใ์ นด้านการเกษตร การ สารวจทางธรณวี ทิ ยา ป่าไม้ การชลประทาน การประมง หลงั จากทีส่ หรัฐส่งดาวเทยี มดวงแรกได้ 1 ปีแล้ว

25 ได้ส่งสกายแล็บ และดาวเทียมตามโครงการดงั กลา่ วอีก 2 ดวง ในปี พ.ศ. 2520 และ พ.ศ. 2522 นับวา่ มี ส่วนชว่ ยสง่ เสรมิ พฒั นาความรู้ในเรื่องทรัพยากรธรรมชาติและการวางโครงการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ทุกชนิดบนพ้นื โลก ทรัพยากรธรรมชาตทิ สี่ าคญั ได้แก่ ป่าไม้ สัตวป์ า่ และปลา นา้ ดนิ อากาศ แร่ธาตุ มนษุ ย์ และท่งุ หญา้ มนุษย์ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อมมคี วามสมั พนั ธเ์ กยี่ วเนอื่ งกนั อยา่ งใกลช้ ิด ท้ังนี้เพราะ ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมเป็นสง่ิ ท่ีเอื้ออานวยประโยชนใ์ หม้ นุษยไ์ ด้รบั ปัจจยั ส่ซี ่ึงไดแ้ ก่ อาหาร เคร่อื งนุ่งห่ม ยารักษาโรคและทีอ่ ยู่อาศัย แต่ขณะเดียวกนั การกระทาของมนุษยเ์ องไดส้ ง่ ผลกระทบต่อสภาพ ของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมและเนอื่ งจากความจากัดของทรัพยากรธรรมชาติรวมท้ังการเพิม่ ขนึ้ อย่างรวดเรว็ ของจานวนประชากรได้มผี ลทาให้เกดิ การแก่งแย่งในการใช้ทรพั ยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดลอ้ มทีม่ ีอย่ยู ่ิงไปกวา่ นั้นมนษุ ยย์ ังได้ใชท้ รัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมอย่างฟุ่มเฟือยและไมม่ ี แผนการจัดการโดยมุ่งหวงั ผลกาไรสูงสุดแตเ่ พยี งอย่างเดยี วจึงมีผลทาใหเ้ กดิ ปัญหาความเสอื่ มโทรมและการ ขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ รวมทงั้ กอ่ ให้เกดิ ปัญหาส่ิงแวดลอ้ มหรอื การแพร่กระจายของภาวะมลพษิ จาก ขบวนการใชท้ รพั ยากรธรรมชาตินั้น ๆ สรปุ ท้ายบท ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม มีความสัมพันธ์กันอยา่ งใกล้ชิด ต่างกนั ที่ส่ิงแวดล้อมนน้ั รวม ทกุ สิ่งทุกอยา่ งที่ปรากฎอยู่รอบตัวเรา สว่ นทรัพยากรธรรมชาติเนน้ สิ่งทอี่ านวยประโยชน์แก่มนษุ ย์มากกวา่ ส่งิ อนื่ มนษุ ย์รวู้ ่าสิง่ แวดล้อมทั้งที่มีชีวิตและไม่มชี วี ิตมคี ุณคา่ ให้คุณประโยชนม์ ากมายมหาศาล เช่นนี้ หากยัง ขาดจติ สานกึ ท่ีจะให้ความสาคัญน้อยอยู่อีกไม่นานธรรมชาตแิ วดลอ้ มนน้ั ก็กลบั มาทาลายมนุษย์ อย่าง หลีกเล่ียงได้ยาก อย่างไรกต็ าม ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมท่ีมีอยู่นับวนั แต่จะหมดและหายไป นอกจากการ อนุรักษ์แลว้ เรายังสามารถเสรมิ สร้างทรัพยากรธรรมชาติอื่นมาทดแทนคือ ทรพั ยากรนันทนาการซึง่ สถานท่ี นันทนาการ สามารถมหี ลายสถานท่ีเช่น สนามกีฬา สนามเด็กเล่น สวนสาธารณะ สวนสตั ว์ พพิ ิธภณั ฑ์ โบราณสถาน โบราณวตั ถุ ศลิ ปวตั ถุ วดั โรงมหรสพ ศูนย์การคา้ เป็นต้น สถานทด่ี ังกลา่ ว เป็นแหล่งความรู้ เปน็ สถานท่ีพักผอ่ นหย่อนใจ นอกจากน้ยี งั เป็นการนาทรัพยากรมาใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ คาถามทา้ ยบท ๑. จรยิ ศาสตรค์ อื อะไร ตา่ งจากจรยิ ธรรมหรือไมเ่ พราะเหตุใด ๒. ทรพั ยากรธรรมชาติคืออะไร ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติได้แกอ่ ะไรบ้าง ๓. ทรัพยากรธรรมชาตปิ ระเภทใดท่ีกาลงั จะหมดในประเทศไทย ๔. ทรพั ยากรมนษุ ย์เปน็ สง่ิ แวดลอ้ ม ทม่ี ีอทิ ธิพลต่อสงิ่ แวดล้อมอ่ืนอย่างไร ๕. มนษุ ยม์ คี วามสัมพนั ธก์ บั ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอยา่ งไร

26 บทที่ ๓ สถานการณส์ ่งิ แวดล้อมในประเทศไทย ขอบข่ายการศึกษา ๑. ความหมายของสถานการณ์ส่ิงแวดล้อม ๒. สภาพของสถานการณ์สง่ิ แวดลอ้ ม ๓. สถานการณ์ส่งิ แวดล้อมปัจจบุ ัน ๔. วกิ ฤตการณ์ส่งิ แวดล้อม คาว่า สถานการณ์ หมายถงึ เหตุและเร่อื งราวทีก่ าลงั เป็นอยู่, หรอื เหตกุ ารณท์ ่ีกาลังเป็นไป เป็น คานาม เป็นคากลางๆทม่ี กั จะต่อดว้ ยคาอน่ื เสมอ เชน่ สถานการนาท่วม สถานการณ์ดินถลม่ สถานการณ์ การประทว้ ง เปน็ ต้น ดังนนั เหตหุ รอื เร่อื งราวของสิ่งนนั เปน็ เรื่องราวทเ่ี กิดขนึ และกาลังดาเนินการอยู่ จะ รุนแรง มากหรือนอ้ ย เลก็ หรือใหญ่ ช้าหรอื เรว็ น่นั คือความหมายของคาวา่ สถานการณ์ และมักจะถูก นามาใช้เพื่อการขา่ วสารกรณเี กดิ ภัยพิบัตทิ างธรรมชาติ เช่นภเู ขาถลม่ ไฟปา่ นาละลัก เป็นตน้ เปน็ การ รายงานเพ่ือใหส้ งั คมได้รบั ทราบ สถานการณ์ส่งิ แวดลอ้ ม คือ คือเร่ืองราวของส่ิงแวดลอ้ มที่ปรากฏ ทงั ที่เกิดขึนเองโดยธรรมชาติและ ถกู สร้างขนึ โดยมนุษย์ ท่ีมีการดาเนินไปหรือเปล่ยี นแปลงไป มีลกั ษณะค่อยๆเปล่ยี นไปหรอื เกดิ การ เปลีย่ นแปลงไปอย่างรวดเรว็ ก็ได้ กรณสี งิ่ แวดล้อมที่เป็นไปโดยปกตกิ ็มักจะไม่ถูกเรยี กวา่ สถานการณ์ ต่อเม่ือไมป่ กตหิ รือเปน็ ปญั หาต่อสังคมจึงมักจะเรยี กว่าสถานการณ์ เช่น กรณี ความเตบิ โตทางเศรษฐกิจ อยา่ งรวดเร็วของประเทศไทย กอ่ ให้เกิดปญั หาทางส่งิ แวดล้อมมากมาย เช่นปัญหาเรื่องอากาศเป็นพิษ การ ลดลงของประชากรสตั วป์ า่ และสตั วน์ า การทาลายป่า การพังทะลายของดนิ การขาดแคลนนาเพื่อ การเกษตรและบริโภค ตลอดทงั ปญั หาขยะ ปญั หามลพษิ และสารพิษ ดงั นนั การเติบโตทางเศรษฐกิจของ ประเทศไทยจงึ ก่อให้เกดิ ความเสยี หายอย่างมากต่อผู้คนและสิ่งแวดลอ้ ม1 สง่ิ แวดล้อมท่ีปรากฏขึนในหลายพืนทีไ่ ดส้ ง่ ผลกระทบต่อสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและ คุณภาพสงิ่ แวดล้อม การสูญเสยี แหลง่ ทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทางชวี ภาพหรอื ฐานทรัพยากร เพอื่ การผลิต นามาซ่งึ ความเสียหายตอ่ ชวี ติ ทรพั ย์สนิ และคุณภาพชวี ิตของประชาชน โดยเฉพาะอย่างย่งิ กลมุ่ ประชาชนทม่ี ีรายได้น้อยทต่ี อ้ งพงึ่ พาทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมเปน็ ปัจจยั สาคัญในการดารง ชพี กล่มุ นีจึงมีความเส่ียงสูงต่อการได้รับผลกระทบจากมลพิษ การเขา้ ถึงและการใชท้ รัพยากรธรรมชาติ ภยั พิบตั ทิ างธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม และผลกระทบต่อเน่ืองไปสูส่ งั คมและเศรษฐกิจของประเทศ แตท่ ่สี าคัญ ทีส่ ุดคือ ผลกระทบต่อสขุ ภาพ เช่น โรคระบบทางเดนิ หายใจทเ่ี กดิ จากมลพิษทางอากาศ โรคระบบทางเดิน อาหารทเี่ กดิ จากมลพษิ ทางนา โรคขาดสารอาหาร โรคท่เี กิดจากการปนเปื้อนของสารพิษในสิ่งแวดลอ้ มและ ในห่วงโซอ่ าหาร ส่ิงแวดลอ้ มมีความสาคัญต่อชีวติ มนษุ ย์ เพราะสงิ่ แวดล้อมเอ้ืออานวยประโยชนใ์ ห้มนุษย์ได้รบั ปัจจัยสีใ่ นการดารงชีวิต ดังนั้นเม่ือจานวนประชากรเพิ่มมากขนึ้ ก็จะส่งผลให้สิง่ แวดลอ้ มเสือ่ มโทรมและ เกิด มลพิษเป็นใหม้ นุษย์ในด้านสขุ ภาพอนามัย ปัญหาสงั คม ปัญหาการขาดแคลนปัจจยั ในการดารงชีวิต 1 https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%

27 ในปัจจุบันสิ่งแวดล้อมท่ีเป็นธรรมชาติ ทังภายในประเทศและในท้องถิน่ มแี นวโน้ม ถกู ทาลายเพม่ิ มากขึน ในขณะเดียวกัน สิ่งแวดล้อมทางวฒั นธรรม (ที่มนุษย์สรา้ งขึน) กลับเพม่ิ มาแทนมากขนึ เป็นลาดับ ทังนเี น่ืองจาก ในปจั จุบนั จานวนประชากรมนุษย์เพม่ิ ขึนอย่างรวดเร็ว มกี ารประดิษฐแ์ ละพัฒนาเทคโนโลยี มาใช้อานวยประโยชน์ต่อมนุษย์ เพ่มิ มากขึน ผลจากการทาลายสง่ิ แวดล้อม ทางธรรมชาติ ส่งผลกระทบต่อ มนุษย์หลายประการ เชน่ ปญั หาการแปรปรวนของภูมอิ ากาศโลกการร่อยหรอ ของทรัพยากรธรรม ชาตภิ ยั พิบตั มิ แี นวโนม้ รุนแรงมากขนึ มลพษิ สิ่งแวดลอ้ มขยายขอบเขต กว้างขวางมากขนึ ซ่ึงส่งผลกระทบโดยตรง ตอ่ การดารงอยู่และการมีคุณภาพชีวติ ที่ดขี องมนุษย์ สาเหุตสาคญั ท่ีทาใหเ้ กิดปัญหาดงั กลา่ วมีดังนี 1. การเพิ่มของประชากร 2. การขยายตัวทางเศรษฐกิจและความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยี 3. ภัยธรรมชาติ ๒. สภาพของสถานการณ์สงิ่ แวดล้อม สงิ่ แวดล้อมในปัจจุบนั มีอตั ราความเส่ยี งสงู ต่อส่ิงมีชีวติ มาก ทังเร่อื งนา อากาศ เสียง ความรอ้ น ขยะ เป็นต้น สิง่ แวดล้อมเหล่านีหากไม่อย่ใู นระดับทีไ่ ด้มาตรฐานก็ถอื ไดว้ ่าเปลี่ยนสภาพไปสคู่ วามเป็น มลภาวะ ซึ่งจะเป็นอนั ตรายต่อไป เช่น ๑.๑ คณุ ภาพนา สถานการณ์คุณภาพนาโดยภาพรวมของแหลง่ นาและนาทะเลชายฝ่งั ดขี ึนเม่อื เปรยี บเทียบกับปีท่ผี า่ นมา โดยแหล่งนาทม่ี คี ุณภาพนาอยู่ในเกณฑ์ดแี ละพอใช้มีจานวนเพ่มิ ขึน แหลง่ นาทเี่ สอื่ มโทรมและเส่ือมโทรม มากมีจานวนลดลง สาหรับคณุ ภาพนาทะเลชายฝ่ังทว่ั ประเทศในปี พ.ศ.๒๕๔๙ ประเมนิ จากดัชนีคุณภาพนาทะเล จากสถานี ตรวจวัดคุณภาพนา ๒๔๐ แห่ง ครอบคลุม ๒๓ จงั หวัดที่มีพืนทต่ี ิดแนวชายฝ่ังทะเล พบวา่ ครง่ึ หนง่ึ มี คณุ ภาพนาอยู่ในเกณฑ์ดี โดยทสี่ ถานที ่มี ีคุณภาพนาทะเลชายฝ่งั เสอื่ มโทรมมากอยู่บริเวณอา่ วไทยตอนใน ๑.๒ คณุ ภาพอากาศ คุณภาพอากาศโดยรวมดขี นึ เมอ่ื เปรียบเทียบกับปีที่ผา่ นมา ยกเว้นฝุ่นขนาดเลก็ กว่า ๑๐ ไมครอน ยังเป็นปัญหาสาคัญในเขตชมุ ชนขนาดใหญ่และพนื ที่พัฒนาของประเทศ โดยพนื ท่ีท่ีมปี ญั หาฝนุ่ ขนาดเล็ก กว่า ๑๐ ไมครอน มากท่ีสุด คือ จังหวดั สมุทรปราการ รองลงมาได้แก่ จงั หวัดสระบุรแี ละกรุงเทพมหานคร ตามลาดับ และจากคา่ ดัชนีคุณภาพอากาศรายวนั ในปี พ.ศ.๒๕๔๙ ของพนื ท่ีจงั หวดั สมทุ รปราการ สระบรุ ี และกรงุ เทพมหานคร พบวา่ มคี ุณภาพอากาศอยูใ่ นเกณฑ์ทีม่ ผี ลกระทบตอ่ สุขภาพ คิดเปน็ ร้อยละ ๔๔.๙ ๔๓.๒ และ ๓๑.๘ ของจานวนวนั ท่ีตรวจวัดทงั หมดในรอบปี ตามลาดับ โดยแหลง่ กาเนิดมลพษิ ทางอากาศ ในพนื ทจี่ ังหวดั สมุทรปราการ มาจากโรงงานอตุ สาหกรรม ยานพาหนะ และการเผาในที่โล่ง มลพษิ ทาง อากาศในจังหวดั สระบุรีมีสาเหตุมาจากอุตสาหกรรมโรงโม่ บดและยอ่ ยหนิ และอุตสาหกรรมปนู ซีเมนต์ ส่วนมลพษิ ทางอากาศในกรงุ เทพมหานครส่วนใหญ่มาจากกิจกรรมการขนส่งและการจราจร ๑.๓ คณุ ภาพเสยี ง คณุ ภาพเสยี ง ในปี พ.ศ.๒๕๔๙ บรเิ วณริมถนนในกรงุ เทพมหานครและปริมณฑล สว่ นใหญ่มีค่าระดับเสียง เฉลย่ี เกนิ มาตรฐาน แตเ่ ม่อื เทียบกับปีท่ผี า่ นมา พบว่า ระดับเสียงเฉล่ียลดลงเล็กนอ้ ย และจานวนวนั ที่มี ระดบั เสียงเกินมาตรฐานเท่ากับร้อยละ ๗๔ ของจานวนวันที่ตรวจวัดทังหมด สว่ นในพืนท่ตี ่างจังหวดั พบวา่ ระดบั เสียงมีคา่ ต่ากว่าคา่ มาตรฐานทังในบรเิ วณริมถนนและพนื ทีท่ ั่วไป

28 ๑.๔ คณุ ภาพดนิ ทรพั ยากรดนิ เป็นปจั จยั สาคญั ต่อการเกษตร ปัญหาความอดุ มสมบูรณข์ องดนิ ยังคงมีความรุนแรงขนึ โดย พบว่าในปี พ.ศ.๒๕๔๙ มหี มู่บ้านท่ีมีปัญหาเรื่องคุณภาพดิน จานวน ๕๐,๗๓๙ หมบู่ า้ น คิดเปน็ รอ้ ยละ ๗๒.๕๐ ของหมูบ่ ้านทังหมด โดยมีปญั หาดินจืดหรือดินทขี่ าดธาตอุ าหารไม่เพียงพอต่อการตอ้ งการของพืช มากทีส่ ุด นอกจากนันเปน็ ปัญหาดินมีกรวดและทราย ดนิ เปรยี ว ดินเคม็ และหนา้ ดินถูกชะล้างพังทลาย นอกจากนปี ัญหาการขาดเเคลนทีด่ นิ ทากนิ เปน็ ปญั หาท่ีส่งผลใหเ้ กิดการบุกรุกพืนที่ป่า เพ่ิมขนึ และเปน็ ปญั หาท่เี กย่ี วข้องโดยตรงกับคุณภาพชีวิตของประชาชน จากข้อมูลพนื ฐานระดบั หมู่บ้านโดยกรมพัฒนา ชุมชน กระทรวงมหาดไทย เมื่อปี พ.ศ.๒๕๔๘ พบว่า ครัวเรือนในชนบทจานวน ๔๕๑,๓๑๒ ครัวเรือนไมม่ ี ทดี่ ินทากิน ในขณะท่ีการสารวจและวเิ คราะห์ข้อมูลโดยระบบภมู ศิ าสตร์สารสนเทศของ กรมพฒั นาทีด่ นิ ใน ปี พ.ศ.๒๕๔๙ พบว่า มีพืนท่ีทงิ ร้างท่ีไมม่ ีการใช้ประโยชนจ์ านวน ๗,๔๕๕,๗๒๕ ไร่ คดิ เป็นรอ้ ยละ ๒.๓๒ ของพนื ทป่ี ระเทศทังหมด ประกอบด้วย นารา้ ง ไร่ร้าง ทงุ่ หญ้าธรรมชาติ ไมล้ ะเมาะ ท่ลี มุ่ นาขงั ตลอดปี และ เหมืองแร่ร้าง ตาราง แสดงพนื ทีท่ งิ รา้ งของประเทศไทย รายภาค ปี พ.ศ.๒๕๔๙ หน่วย:ไร่ ประเภท ไรร่ า้ ง ทุ่งหญา้ ปา่ ละเมาะ ท่ีลมุ่ เหมืองแร่ รวม ภาค นาร้าง ๑๔,๑๘๒ ๓,๔๒๘ ร้าง ๕๕๗ ๑๑,๘๘๕ เหนอื ๑๓,๕๙๙ ๑,๓๘๔ ๑,๓๔๑ ๑,๗๐๔,๔๑๓ ๒๑๔,๑๗๗ - ๑,๙๔๙,๗๙๙ ๑,๘๗๙ ๒๘,๓๖๔ ตะวันออกเฉี ๕,๔๖๒ ๓,๖๓๕,๐๔๙ ๕๑๓,๐๓๔ ๖๙ ๔,๑๖๖,๐๕๖ ยงเหนอื กลาง ๒๓,๔๔๙ ๔๘๓,๗๗๐ ๕๒,๑๒๓ - ๕๖๒,๐๖๗ ๑๑๑,๑๘๘ ๖๔,๘๖๒ ๑๙,๗๗๓ ๓๐๑,๓๘๘ ตะวันออก ๗๕,๓๒๒ ใต้ ๘๑,๐๒๗ - ๖,๐๙๙ ๒๐๔,๓๒๓ ๑๘๑,๐๔๐ ๓,๙๒๖ ๔๗๖,๔๑๕ รวม ๑๙๘,๘๕๙ ๑๘,๐๐๒ ๕๑,๑๑๗ ๖,๑๓๘,๗๔๓ ๑,๐๒๕,๒๓๖ ๒๓,๗๖๘ ๗,๔๕๕,๗๒๕ ทมี่ า: กรมพฒั นาทดี่ นิ ๒๕๕๐ ๓. สภาพของทรัพยากรธรรมชาติ ๒.๑ ทรพั ยากรนา ในชว่ งปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ทรพั ยากรนามีความสมบรู ณ์ดี โดยพบวา่ ปริมาณฝนเฉล่ยี เทา่ กบั ๑,๖๗๗.๑ มลิ ลิลิตรตอ่ ปี มากกว่าปีท่ผี ่านมา แตต่ ่ากวา่ ค่าปกติ (คา่ เฉลย่ี ๔๐ ปี) สาหรบั ปรมิ าตรการเก็บกัก นาในอ่างเก็บนา ณ วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๐ มปี ริมาตรนาเกบ็ กักมากกว่าปีท่ผี ่านมา โดยมี ปริมาตร นาที่สามารถนาไปใชง้ านได้ ๖๑,๐๗๑ ลูกบาศกเ์ มตร

29 ตาราง แสดงค่าเฉลี่ยปรมิ าณนาฝน รายภาค ปี พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๔๙ ภาค ค่าปกติ(มิลลิลิตร) ค่าเฉลี่ยปรมิ าณนาฝน(มลิ ลเิ มตร) ปี พ.ศ.๒๕๔๘ ปี พ.ศ.๒๕๔๙ เหนอื ๑,๒๔๐.๕ ๑,๒๙๕.๐ ๑,๕๓๖.๖ ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ๑,๓๗๑.๗ ๑,๔๐๒.๑ ๑,๓๘๙.๐ กลาง ๑,๒๖๔.๓ ๑,๓๗๕.๙ ๑,๓๕๗.๒ ตะวันออก ๑,๘๐๗.๐ ๑,๖๔๓.๒ ๒,๐๒๙.๓ ใตฝ้ ง่ั ตะวันออก ๑,๘๑๙.๐ ๑,๙๐๙.๓ ๑,๖๒๑.๑ ใตฝ้ ่งั ตะวนั ตก ๒,๖๖๙.๓ ๒,๓๔๗.๕ ๒,๗๐๑.๑ คา่ เฉล่ยี ทังประเทศ ๑,๖๙๕.๓ ๑,๕๘๗.๒ ๑,๖๗๗.๑ ทม่ี า: กรมอตุ นุ ยิ มวิทยา ๒๕๔๙ ๒.๒ ทรัพยากรปา่ ไม้ สตั วป์ ่า และความหลากหลายทางชวี ภาพ ทรัพยากรป่าไม้ สัตวป์ า่ และความหลากหลายทางชีวภาพยังเปน็ ปญั หาและยังตอ้ งไดร้ บั การจดั การอย่าง เรง่ ดว่ น เเละตอ่ เนื่อง การสญู เสียทรัพยากรป่าไม้ท่ีเกิดขนึ จากการบุกรุกพนื ท่ีปา่ ไฟปา่ ความถ่ีทเ่ี กดิ ไฟป่า และพืนทเ่ี สยี หายจากการเกดิ ไฟปา่ มากขึนเม่ือเปรียบเทียบกับปีท่ผี า่ นมา โดยในช่วงเดอื นตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๔๙ ถึงเดือนเมษายน พ.ศ.๒๕๕๐ เกิดไฟป่ารวม ๗,๕๗๕ ครงั มพี นื ที่เสียหาย ๑๑๕,๒๖๑ ไร่ สว่ นใหญ่ เกดิ ขนึ ในภาคเหนือ สาเหตมุ าจากมนุษย์และสภาวะอากาศท่ีแหง้ และร้อนกวา่ ปกติจากทุกปีท่ีผา่ นมา และ ยงั ส่งผลเกดิ หมอกควันในภาคเหนอื สง่ ผลกระทบตอ่ สุขภาพของประชาชน ตาราง แสดงการเกดิ ไฟปา่ ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๔๙-๒๕๕๐ พืนท่ีภาค (๑ ต.ค. ๒๕๔๘-๓๐ ก.ย.๒๕๔๙) (๑ ต.ค. ๒๕๔๙-๒๒ เม.ย. ๒๕๕๐) ความถ(่ี ครัง) พนื ท่ีเสยี หาย(ไร)่ ความถ(่ี ครงั ) พืนท่เี สียหาย(ไร่) เหนอื ๓,๑๒๙ ๒๓,๔๐๗.๙๕ ๔,๗๗๑ ๕๔,๕๘๐.๓๐ ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ๑,๑๘๗ ๒๐,๘๘๒.๐๐ ๑,๘๙๗ ๓๘,๐๐๘.๐๐ กลาง ๓๓๐ ๗,๖๖๘.๐๐ ๘๑๕ ๑๘,๗๖๙.๐๐ ใต้ ๖๕ ๑,๙๒๗.๐๐ ๙๒ ๓,๙๐๓.๕๐ รวม ๔,๗๑๑ ๕๓,๘๘๔.๙๕ ๗,๕๗๕ ๑๑๕,๒๖๐.๘๐ ท่ีมา: ส่วนควบคมุ ไฟป่า กรมอุทยานแห่งชาติ สัตวป์ ่าและพันธ์ุพืช ๒๕๕๐ นอกจากนี ยงั พบว่าชนิดพันธ์สุ ัตว์มกี ระดูกสันหลังท่ีใกลส้ ญู พันธ์ุอยา่ งยิง่ มีจานวนเพิ่มมากขนึ จาก ๕๘ ชนดิ พันธ์ุ ในปี พ.ศ.๒๕๓๙ เป็น ๘๔ ชนิดพันธ์ุ ในปี พ.ศ.๒๕๔๘ อาทิ นกเงือกดา ไกน่ วล นกปรอดดาปีกขาว จระเข้นาเค็ม เตา่ กระ ตะพาบหัวกบ ฉนากจะงอยแคบ ปลาหมูอนิ ทรีย์ ปลาบกึ

30 ๒.๓ ทรพั ยากรทะเล และชายฝงั่ ความอุดมสมบูรณ์ของสตั ว์ทะเลในฝั่งอ่าวไทยมีแนวโนม้ ดีขึนเล็กนอ้ ยโดยพิจารณาจากข้อมลู อตั รา การจบั สัตวน์ าต่อหน่วยการลงแรงประมงโดยเครื่องมืออวนลากแผน่ ตะเฆข่ นาดตาอวน ๒.๕ เซนตเิ มตร ซ่งึ เพิ่มขึนจาก ๒๑.๔ กิโลกรมั ต่อช่วั โมง ในปี พ.ศ.๒๕๔๖ เป็น ๒๔.๗ กโิ ลกรมั ตอ่ ชว่ั โมง ในปี พ.ศ.๒๕๔๙ ในขณะท่ีความอดุ มสมบูรณ์ของสตั ว์ทะเลในฝ่ังอันดามนั มแี นวโนม้ ลดลงจาก ๓๙.๕ กโิ ลกรมั ต่อชว่ั โมง ในปี พ.ศ.๒๕๔๖ เป็น ๓๒.๓ กิโลกรมั ต่อช่ัวโมง ในปี พ.ศ.๒๕๔๙ รูป แสดงอัตราการจบั สตั วน์ าของประเทศไทย ปี พ.ศ.๒๕๔๖-๒๕๔๙ ท่ีมา:สานักวิจยั และพฒั นาประมงทะเล กรมประมง จากการสารวจและติดตามสภาพแนวปะการัง พบว่า ในปี พ.ศ.๒๕๔๙ แนวปะการงั บริเวณฝัง่ อา่ ว ไทยโดยภาพรวมอยู่ในสภาพสมบูรณ์ดปี านกลาง บริเวณฝั่งอนั ดามนั พบวา่ แนวปะการังอยู่ในสภาพ สมบูรณด์ ีและมกี ารฟืน้ ตัวอยา่ งต่อเนื่อง ปญั หาการกดั เซาะชายฝัง่ ทะเลเกิดขึนตลอดเเนวชายฝัง่ และมีแนวโน้มรนุ แรงมากขนึ ชายฝงั่ ทะเลดา้ นอ่าวไทยถกู กัดเซาะประมาณร้อยละ ๒๒.๑๑ ของพนื ทช่ี ายฝ่ังทงั หมด หรอื ระยะทาง ประมาณ ๓๗๖.๑๖ กโิ ลเมตร สว่ นชายฝัง่ อันดามนั ถูกกัดเซาะประมาณร้อยละ ๑๑.๗๗ ของพืนท่ชี ายฝ่งั ทงั หมด หรอื ระยะทางประมาณ ๑๑๔.๒๐ กโิ ลเมตร โดยรวมคิดเป็นอตั ราสญู เสยี พนื ทช่ี ายฝั่งเทา่ กบั ๒ ตารางกิโลเมตรต่อปี หรือคิดเป็นมลู คา่ ความเสียหายประมาณ ๖,๐๐๐ ล้านบาทตอ่ ปี

31 รูป การกดั เซาะชายฝ่งั จากคลื่นลมประจาปแี ละจากเหตุการณซ์ ัดชายฝ่งั ในเดอื น ธันวาคม ๒๕๔๙ ทม่ี า:กรมทรัพยากรธรณี ๒๕๕๐ข ๒.๔ ทรพั ยากรแร่ และพลงั งาน ในชว่ งปี พ.ศ.๒๕๔๑-๒๕๔๙ มูลคา่ การผลติ การใช้ การสง่ ออกและการนาเขา้ แรม่ ีแนวโน้ม เพม่ิ มากขึนมาอย่างต่อเนือ่ ง กลุม่ แร่ท่มี ีมลู ค่าการใช้มากท่ีสุดคอื กลุ่มแร่โลหะพนื ฐานร้อยละ ๓๒ รองลงมา เปน็ กลมุ่ แร่เชือเพลงิ และพลงั งาน ร้อยละ ๒๔ กลุ่มแร่อตุ สาหกรรมก่อสรา้ ง ร้อยละ ๑๙ และกลุ่มแร่ อตุ สาหกรรมซีเมนต์ ร้อยละ ๑๘ ของมูลคา่ การใช้ทังหมด โครงสรา้ งการผลติ แรข่ องประเทศ สว่ นใหญ่เป็น การผลติ กล่มุ แร่อตุ สาหกรรม รอ้ ยละ ๗๙ (แรอ่ ตุ สาหกรรมซีเมนต์ และเเร่เชือเพลงิ และพลังงาน) การผลิต กล่มุ แรโ่ ลหะมสี ัดสว่ นเพยี งร้อยละ ๒๑ เท่านัน

32 รูป มลู ค่าการผลติ การใช้ การสง่ ออกและการนาเข้าแร่ของประเทศไทย ระหวา่ งปี พ.ศ.๒๕๓๗-๒๕๔๙ ทีม่ า:กรมอุตสาหกรรมพืนฐานและการเหมอื งแร่ ๒๕๔๙ ความต้องการใช้พลงั งานเชงิ พาณชิ ย์ขนั ต้นหรือพลงั งานทีย่ งั ไมผ่ ่านกระบวนการแปรรปู ไปเปน็ พลังงานอกี รปู แบบหนึ่ง (สานักงานนโยบายและแผนพลงั งาน ๒๕๕๐ก) อยู่ที่ระดบั ๑,๕๔๘ เทยี บเทา่ พนั บาร์เรลนามนั ดบิ ต่อวนั เพ่ิมขึนจากปี พ.ศ.๒๕๔๘ รอ้ ยละ ๑๘ โดยความต้องการใชน้ ามันสาเร็จรูปลดลง รอ้ ยละ ๒.๔ เมื่อเทียบกับปที ่ีแลว้ เนอ่ื งจากราคานามนั ทรงตัวอย่ใู นระดบั สูง ทาใหค้ วามต้องการก๊าซ ธรรมชาตเิ พม่ิ ขึน ร้อยละ ๒.๓ ตาราง แสดงการใช้ การผลิต และการนาเขา้ พลงั งานเชงิ พาณิชย์ขันต้น ปี พ.ศ.๒๕๔๘-๒๕๔๙ หน่วย:เทยี บเทา่ พันบารเ์ รล นามันดบิ /วนั พลังงานเชงิ พาณชิ ย์ ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ ๒๕๔๙ การใช้ ๑,๕๒๐(๔.๕) ๑,๕๔๗.๗(๑.๘) การผลิต ๗๔๒.๘(๙.๖) ๗๖๔.๙(๓.๐) การนาเข้า(สุทธิ) ๙๗๙.๙(-๑.๑) ๙๗๘.๑(-๐.๒) การเปลี่ยนแปลงปรมิ าณสารอง -๑๕.๕ -๑๘.๖ การใชท้ ่ไี มเ่ ปน็ พลังงาน(non-energy use) ๒๑๘.๔(-๓.๗) ๒๑๔.๑(-๒.๐) การนาเขา้ /การใช(้ ร้อยละ) ๖๔ ๖๓ หมายเหตุ: ตวั เลขในวงเล็บเป็นอัตราการเปล่ียนแปลง(ร้อยละ)ท่ีมา:สานักงานนโยบายและแผนพลงั งาน ๒๕๕๐ก

33 ในสว่ นของการใช้พลังงานเชงิ พาณชิ ยข์ ันสุดท้ายหรือพลงั งานขันสุดท้ายทผี่ บู้ รโิ ภคใช้ โดยไมร่ วมถงึ เชือเพลิง ท่นี าไปใช้ในการผลติ พลงั งานทตุ ิยภมู ิซงึ่ หมายถงึ การนาพลังงานปฐมภมู ิมาผา่ นการแปรรปู เช่น นามนั สาเร็จรูปและไฟฟาา(สานกั งานนโยบายและแผนพลังงาน ๒๕๕๐ก) ในปี พ.ศ.๒๕๔๙ อยู่ที่ ๑,๐๔๙ เทียบเทา่ พนั บารเ์ รลนามันดบิ ต่อวัน เพ่มิ ขนึ จากปี พ.ศ.๒๕๔๘ ร้อยละ ๐.๓ ตาราง แสดงการใช้พลังงานเชงิ พาณชิ ย์ขันสดุ ท้าย ปี พ.ศ.๒๕๔๕-๒๕๔๙ หนว่ ย:เทียบเทา่ พนั บารเ์ รล นามันดบิ /วัน พลงั งานเชงิ พาณิชย์ขัน ปี พ.ศ. สดุ ทา้ ย ๒๕๔๕ ๒๕๔๖ ๒๕๔๗ ๒๕๔๘ ๒๕๔๙ นามันสาเร็จรปู ๕๗๙(๕.๙) ๖๑๒.(๕.๗) ๖๖๑(๘.๑) ๖๕๔(-๑.๒) ๖๓๗(-๒.๖) กา๊ ซธรรมชาติ ๔๓(๑๕.๙) ๔๖(๗.๙) ๕๔(๑๗.๕) ๕๕(๒.๒) ๕๙(๗.๑) ถา่ นหนิ นาเขา้ ๔๐(๒๒.๘) ๖๑(๕๒.๘) ๖๗(๙.๓) ๘๑(๒๑.๖) ๑๐๐(๒๒.๙) ลกิ ไนต์ ๔๓(๗.๕) ๒๔(-๔๓.๖) ๓๗(๕๔) ๔๒(๑๓.๕) ๓๐(-๒๙.๔) ไฟฟาา ๑๗๕(๖.๘) ๑๘๗(๖.๙) ๒๐๒(๗.๑) ๒๑๔(๕.๙) ๒๒๓(๔.๕) รวม ๘๘๐(๗.๓) ๙๓๑(๕.๘) ๑,๐๒๑(๙.๘) ๑,๐๔๖(๒.๕) ๑,๐๔๙(๐.๓) หมายเหต:ุ ตวั เลขในวงเล็บเป็นอัตราการเปล่ยี นแปลง(ร้อยละ) ท่ีมา:สานักงานนโยบายและแผนพลังงาน ๒๕๕๐ก จากข้อมลู พบวา่ มแี นวโน้มความตอ้ งการใชเ้ พ่ิมมากขึน ในขณะท่ีอัตราการเปล่ยี นแปลงการใช้ ลดลงตังแตป่ ี พ.ศ.๒๕๔๗ จนถึงปจั จุบนั ในขณะเดียวกนั ภาครฐั ไดส้ ่งเสรมิ ให้มกี ารผลติ และการใชพ้ ลังงาน ทดแทนในรูปแบบตา่ งๆ เพ่ือลดปริมาณการใชพ้ ลังงานประเภทฟอสซิลและลดปัญหามลพษิ ทางอากาศ ๔. การเปล่ียนแปลงของส่ิงแวดลอ้ ม เนื่องจากสง่ิ แวดล้อมไดถ้ ูกนามาใช้อย่างมากทงั ก่อใหเ้ กดิ คุณคา่ และการใช้จนเกนิ ความจาเป็นจน เปน็ การทาลายสิ่งแวดล้อม จนทาใหส้ ิง่ แวดล้อมที่เป็นทรัพยากรธรรมชาติหลายอยา่ งลดน้อยลงดังเป็นท่ี ทราบกัน แตม่ นุษยก์ ็ไม่ละความพยายามในการท่ีจะสรา้ งสรรค์สิ่งอน่ื ขึนมาทดแทน เช่น ๓.๑ พลังงานทางเลอื ก(Alternative Energy) ประเทศไทยเปน็ ประเทศท่ีพึ่งพาการนาเข้าพลงั งานจากต่างประเทศประมาณร้อยละ ๖๐ ของ การพลงั งานทงั หมด เพื่อตอบสนองความต้องการใชพ้ ลังงานในภาคเศรษฐกจิ ตา่ งๆ ภาวการณ์พึง่ พา พลังงานจากตา่ งประเทศจึงมีปจั จยั เสี่ยงจากภายนอกที่เกิดจากภาวะเศรษฐกจิ โลกและภาวะความผันผวน ของราคาพลงั งาน โดยเฉพาะนามันเชือเพลงิ ท่ีมแี นวโน้มเพิ่มสงู ขนึ อย่างตอ่ เน่ืองในปัจจบุ ัน ประกอบกบั ภาคพลังงานมสี ดั สว่ นของการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากทสี่ ดุ และปญั หามลพิษทางอากาศ จากปจั จยั ดงั กลา่ ว ภาครฐั มีนโยบายลดการพ่ึงพาพลงั งานจากต่างประเทศเพ่ือสร้างความมน่ั คงในการจดั หา พลงั งานให้กับประเทศ ลดปัญหามลพิษทางอากาศ และการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจก จึงไดม้ ีการพัฒนาดา้ น เทคโนโลยีพลงั งานเปล่ยี นการใช้เชือเพลงิ ท่ีมีประสิทธิภาพมากขึนและสง่ ผลกระทบต่อส่ิงแวดลอ้ มนอ้ ยทสี่ ุด โดยพฒั นาหาพลงั งานอืน่ ทดแทน ได้แก่ ก๊าซธรรมชาติ ถา่ นหิน การพัฒนาพลังงานหมุนเวียนในด้านการ ศึกษาวิจยั เพื่อพัฒนาเทคโนโลยี การสง่ เสริมและสนับสนุนการใชพ้ ลังงานทดแทนในการผลติ ไฟฟาา การผลติ

34 พลงั งานความร้อน และการผลิตเชอื เพลงิ จากพลังงานทดแทน เชน่ พลงั งานแสงอาทิตย์ ชีวมวล ก๊าซ ชีวภาพ ขยะ พลังนา พลงั งานลม พลงั งานคล่ืนทะเล พลงั งานความร้อนใต้พภิ พ ไฮโดรเจน/เซลล์เชือเพลงิ และเชือเพลงิ ชวี ภาพ ๓.๒ การผลิตอาหารตัดแต่งพันธุกรรม (GMOs) พชื ดดั แปลงพนั ธกุ รรม (จีเอ็มโอ) มกี ารปลกู อย่างแพรห่ ลายในประเทศตา่ งๆ เปน็ ผลให้มกี าร ผลิตอาหารทม่ี าจากพืชผลิตตัดแต่ง พันธกุ รรมรวมทังประเทศไทยก็ให้ความสาคญั ในเรื่องนี ซง่ึ พืชตัดแตง่ พันธุกรรมนมี ี \"ศักยภาพ\" ในการผลติ อาหารทังในเชงิ ปริมาณและคุณภาพ แต่ก็ไม่มีความแน่นอนว่าอาหาร ตัดแต่งพันธุกรรมอาจสร้าง \"ผลกระทบภายนอก\" ซงึ่ ผผู้ ลิตมิไดร้ บั ภาระ เช่น ความเสียงต่อสขุ ภาพผ้บู รโิ ภค ความเส่ยี งต่อสิ่งแวดลอ้ ม เกดิ เป็นความกังวลของสาธารณะและมาตรการในการประเมินและปอา งกนั ความ เส่ียงซ่งึ เพิม่ ตน้ ทุนในการผลิตอาหารตดั แต่งพนั ธกุ รรม และยงั ไม่สามารถตอบไดว้ ่า หากมีพืชตดั แต่ง พันธกุ รรมแลว้ จะมี \"ความมนั่ คงทางอาหาร\" และ \"ความม่ันคงของแหลง่ อาหารได้\" ภาพทีแ่ สดง การเติบโตของพืชตัดแต่งพนั ธกุ รรม ๑๙๙๖-๒๐๐๗ ท่ีมา: Brookes and Barfoot via ISAAA ๒๐๐๕ and EarthTrends Update May ๒๐๐๘ จากภาพแสดงใหเ้ ห็นว่า ในชว่ ง ๑๐ ปที ีผ่ ่านมา การปลูกพชื ตดั แตง่ พนั ธุกรรมไดข้ ยายตวั อยา่ ง รวดเร็วทังในแง่พนื ทีป่ ลูกและจานวนประเทศทมี่ กี ารปลูกพืชตดั แต่งพนั ธุกรรม สาหรบั สถานการณ์พืชตดั แตง่ พันธุกรรมในประเทศไทยนันมบี รบิ ททีต่ ่างจากประเทศอน่ื ๆ กล่าวคือ ไทยเป็นประเทศผูส้ ง่ ออกอาหาร หากประเทศต่างๆ มีผลิตภาพ (Productivity) ในการผลติ สูงขนึ และตน้ ทุนตา่ ลงเพราะใช้พืชตัดแต่ง พันธุกรรม ประเทศไทยก็อาจเสียเปรียบหากเรามีต้นทนุ การผลิตทสี่ งู กว่า สาหรบั ความกงั วลในประเด็นเร่อื งความเส่ยี งกับความปลอดภัยต่อสุขภาพและสง่ิ แวดล้อมนนั ประเทศไทยยังมีความกงั วลวา่ การปลกู พชื จีเอ็มโออาจทาใหเ้ กดิ การพงึ่ พาการนาเข้าเมล็ดพนั ธจ์ุ าก ตา่ งประเทศและผลกระทบต่อระบบการผลติ พชื อนิ ทรีย์ อาหารตดั แต่งพันธกุ รรมของไทยจงึ ถูกกาหนดโดย กฎหมาย กล่าวคอื ในปัจจบุ ันไมม่ ีการปลูกพชื จเี อ็มโอเป็นการคา้ กฎหมายไทยห้ามการทดลองพชื จีเอม็ โอ ทกุ ชนิดในไรน่ า เพ่ือใหป้ ระเทศเปน็ แหล่งผลิตอาหารขันต้นที่ปราศจากจีเอ็มโอ แต่ไม่มกี ารห้ามการนาเข้า

35 อาหารจีเอ็มโอ และยังอนญุ าตให้นาเขา้ วัตถุดิบเมล็ดพืชบางชนิดทเ่ี ปน็ จเี อม็ โอ กล่าวได้ว่า ไทยปลอดจีเอม็ โอในด้านการปลูก แตอ่ าหารท่ผี ลติ นนั อาจมีจีเอม็ โอและต้องมีการแสดงฉลาก (หากเป็นอาหารจเี อ็มโอ) โดยสว่ นประกอบหลกั สามรายการแรกของอาหารทมี่ จี เี อ็มโอ เกินกว่าร้อยละ ๕ จะต้องแสดงฉลากว่ามี จเี อ็มโอ ๕. สถานการสงิ่ แวดลอ้ มปัจจุบนั 2 1. ฝุ่นพษิ PM2.5 ในช่วงต้นปี 2562 ทผี่ า่ นมา สถานการณ์ฝุ่นละออง PM2.5 ในเขตกรงุ เทพฯและปรมิ ณฑล โดยรวม อยู่ในเกณฑ์เปน็ อันตรายส่งผลกระทบต่อสขุ ภาพของประชาชน พบฝนุ่ ละออง PM2.5 ใน บรรยากาศทวั่ ไปเฉล่ยี 24 ช่วั โมง เกินค่ามาตรฐาน (50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) 24 พืนทท่ี ่ัว กรุงเทพฯ และปริมณฑล สว่ นภมู ิภาคอนื่ ๆ ของประเทศไทยก็ประสบปญั หามลพิษทางอากาศเช่นเดยี วกัน ทีเ่ หน็ ได้ชดั เจนคือพืนท่ที างภาคเหนือ ชว่ งเดอื นมิถุนายน-กนั ยายน 2562 ภาคใต้ยงั ได้รับผลกระทบหมอก ควันจากการเผาป่าพรใุ นประเทศอินโดนีเซีย เน่ืองจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้พดั ผ่านประเทศไทยใน ชว่ งเวลาขา้ งตน้ ก็ได้พัดเอาหมอกควนั จากเกาะสมุ าตราเข้าสู่ภาคใต้ฝ่ังตะวันตกของประเทศไทยด้วย สว่ น มาตรการของรฐั ในการจัดการกับปญั หา PM2.5 ทใี่ ช้อยปู่ จั จบุ นั เป็นไปตาม แผนปฏิบตั ิการขับเคลือ่ นวาระ แห่งชาติ “การแกไ้ ขปัญหามลพษิ ดา้ นฝุ่นละออง” ทผ่ี า่ นความเห็นชอบมติคณะรฐั มนตรีเมือ่ วนั ที่ 1 ตุลาคม 2562 โดยมีกรมควบคุมมลพษิ เป็นหนว่ ยงานหลกั ในการประสานและติดตามการดาเนินการตามแผน แต่ ยังมเี สียงทกั ท้วงจากหลายฝ่ายวา่ แผนปฏบิ ัติการนียังขาดรูปธรรมทช่ี ดั เจนและมจี ดุ อ่อนอยอู่ ีกมาก สถานการณฝ์ ่นุ ละออง PM2.5 ตลอดปี 2563 จงึ เป็นหนง่ึ ในปัญหาทเี่ ราจะต้องติดตามกันอยา่ งใกล้ชดิ วา่ แผนปฏบิ ัตกิ ารนจี ะแกป้ ญั หาได้อย่างทันทว่ งทีหรอื ไม่ รฐั จะเขา้ มาดูแลสขุ ภาพของประชาชนอย่างไร ประชาชนจะตอ้ งดแู ลตวั เองและปรบั ตวั เพ่ือชว่ ยกันบรรเทาปัญหาอย่างไรบ้าง ทม่ี าภาพ ประชาไท 2. การแบน 3 สารเคมี สุขภาพของประชาชนและผลกระทบของเกษตรกรที่รฐั ต้องเรง่ จดั การยดื เยือกนั มากว่า 2 ปี ในการ เรียกร้องให้ยกเลกิ การใช้ 3 สารเคมกี ารเกษตร พาราควอต ไกลโฟเซต และคลอรไ์ พรฟิ อส ในวันท่ี 27 พฤศจิกายน 2562 คณะกรรมการวตั ถุอันตรายได้ประชุมหารอื เกยี่ วกบั การยกระดบั การควบคมุ 3 สารเคมีการเกษตรขา้ งต้น ให้เปน็ วัตถุอนั ตรายชนิดที่ 4 ซง่ึ จะมผี ลเปน็ การห้ามผลิต นาเขา้ สง่ ออก หรือมี ไว้ในครอบครอง อย่างไรกต็ าม คณะกรรมการฯ ใหเ้ หตผุ ลว่ายังไมม่ ีมาตรการรองรับทีเ่ หมาะสมสาหรบั ผลกระทบทจี่ ะเกิดขึนต่อเกษตรกร และอุตสาหกรรมต่อเนื่อง รวมถงึ ผลกระทบด้านการค้าระหวา่ งประเทศ และภาระท่ีจะเกิดขนึ กับภาครฐั จงึ มีมติ ดังนี 1. ใหอ้ อกประกาศกาหนดวัตถุอันตรายพาราควอต และคลอร์ไพริฟอสเปน็ วตั ถุอันตรายชนิดที่ 4 นบั ตังแตว่ ันท่ี 1 มิถุนายน 2563 แต่สาหรับสารไกลโฟเซตไม่ยกเลกิ แตใ่ หจ้ ากัดการใช้แทน 2. มอบหมายให้กรมวิชาการเกษตรและกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จดั ทามาตรการรองรับในการ หาสารทดแทน หรอื วิธีการอืน่ ทเี่ หมาะสมสาหรบั วตั ถุอนั ตรายพาราควอตและคลอร์ไพริฟอส รวมถึง มาตรการในการลดผลระทบที่จะเกิดขนึ ต่อภาคส่วนทเ่ี กยี่ วข้อง รวมทังผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน 2 https://enlawfoundation.org/newweb/?p=4943

36 และให้นาเสนอคณะกรรมการวัตถอุ นั ตรายพจิ ารณาภายในระยะเวลา 4 เดอื นนับจากวันท่ีมีมติ (ภายใน เดอื นมีนาคม 2563) จงึ ต้องติดตามกนั วา่ มาตรการรองรบั ทที่ จี่ ะออกมานนั จะช่วยใหส้ ังคมไทยเดนิ หน้าไปสวู่ ิถี การเกษตรปลอดภัยแบบไมท่ อดทิงใหฝ้ า่ ยหน่ึงฝ่ายใดต้องแบกรบั ภาระเพยี งฝ่ายเดยี ว เพ่ือใหม้ ัน่ ใจว่า มาตรการนีจะ ไม่ใชก่ ารสร้างปัญหาใหม่ขึนมาอีกเปน็ ทอดๆ และทีส่ าคัญคือต้องไม่กลายเปน็ ขอ้ อา้ งในการ เลื่อนการแบนสารเคมีอนั ตรายออกไปอกี เรื่อย ๆ อย่างไมม่ ีกาหนด 3. การลักลอบท้ิงขยะอุตสาหกรรมปนเปื้อนมลพิษ อีกหนง่ึ ปัญหาใหญ่อาการเรือรังนอกจากปญั หาการนาเขา้ ขยะพลาสติกท่ีเป็นกระแสร้อนแรงอยู่ ในช่วงตน้ ปีนแี ล้วนัน การลักลอบทิงขยะและของเสยี อุตสาหกรรมปนเปอ้ื นมลพิษยงั เป็นปญั หาอีกหน่ึงอยา่ ง ทีค่ ้างคามาหลายปแี ละเป็นอีกปญั หาทจ่ี ะต้องเฝาา ระวงั กนั ในปีนี หลังจากมีการออกคาส่ังหวั หน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 4/2559 เม่อื ต้นปี 2559 ปลด ลอ็ คให้โรงงานผลิตกา๊ ซชวี ภาพ โรงบาบัดนาเสีย เตาเผาขยะ โรงงานคัดแยกและฝงั กลบสง่ิ ปฏิกลู หรอื หลมุ ฝงั กลบขยะ สามารถดาเนนิ กิจการไดท้ ุกพนื ท่ีโดยไม่ตอ้ งอยู่ในบังคับข้อกาหนดการใช้ประโยชน์ทีด่ นิ ตาม กฎหมายผังเมืองทปี่ ระกาศใช้ในพืนทน่ี นั ๆ อยู่ก่อน หนว่ ยงานสามารถออกใบอนญุ าตตังโรงงานได้แมว้ ่า พืนที่นันจะถูกกาหนดเปน็ เขตพนื ทส่ี เี ขยี ว เปน็ พนื ทเี่ กษตรกรรมหรือแหล่งชุมชน เปน็ ผลใหม้ ีการขออนุญาต และอนุมตั กิ ารตังโรงไฟฟาาขยะหรือกจิ การโรงงานจัดการขยะเพ่ิมขึนอกี จานวนมาก อยา่ งไรก็ตาม หลายปีท่ีผา่ นมาพบวา่ มีปญั หาการรว่ั ไหลปนเปอ้ื นมลพิษจากโรงงานจัดการขยะและ การลกั ลอบทงิ ขยะและของเสียอุตสาหกรรมในพนื ทภ่ี ายนอกโรงงานหลายกรณีทังในพืนท่จี ังหวัด ฉะเชงิ เทรา ปราจีนบุรี สมทุ รสาคร สระบรุ ี และอีกหลายจังหวัด โดยพบว่าส่วนใหญอ่ ย่ใู นภาคตะวนั ออกซ่ึง เปน็ พืนทท่ี ่ีมีโรงงานอุตสาหกรรมกระจุกตัวอยู่มาก โดยแรงจูงใจสาคญั ที่ทาใหผ้ ูป้ ระกอบการเลอื กฝา่ ฝนื ไม่ ทาตามกฎหมายและมาตรการสง่ิ แวดล้อมคือ เพื่อลดตน้ ทุนค่าใช้จ่ายการบาบัดกาจดั ของเสียอุตสาหกรรมท่ี เมอ่ื ประเมินเปรยี บเทียบกับความเสี่ยงจะถูกลงโทษแล้วก็ยังคุม้ คา่ เพราะปจั จุบนั กฎหมายโรงงานบญั ญัติ บทลงโทษสูงสดุ ไวเ้ พยี งปรับไมเ่ กนิ 2 แสนบาท และหลายกรณกี ารปนเป้อื นและลกั ลอบทิงทีเ่ คยเกดิ ขนึ ผู้กระทาผิดกห็ ลดุ ลอยนวล หาตวั ผ้กู อ่ มลพิษมาลงโทษและรบั ผิดชอบไม่ได้ ปญั หานสี ะท้อนถึงการไม่มีมาตรการการกบั ควบคุมดูแลท่ดี ีพอท่จี ะจัดการกบั ขยะทเ่ี พิ่มขึนอยา่ ง รวดเร็ว นาไปสปู่ ัญหาการกาจดั ขยะอย่างมักง่ายของผปู้ ระกอบการทสี่ ร้างปญั หาให้กบั ชาวบ้านในพนื ที่และ ส่งผลกระทบต่อส่งิ แวดลอ้ มเป็นลกู โซต่ ามมา โดยเฉพาะนโยบายทร่ี ฐั กาลงั เรง่ ผลกั ดันนโยบายเขตพฒั นา พิเศษภาคตะวันออก (EEC) ย่ิงต้องช่วยกนั จับตาเปน็ พเิ ศษ 4. การส่งเสียงเพ่ือสิ่งแวดล้อมและสทิ ธิมนุษยชน สทิ ธิท่ียงั ถกู จากดั และคกุ คามในขณะที่รฐั เร่งผลกั ดนั นโยบายสง่ เสรมิ การลงทนุ ในภาคอุตสาหกรรม และโครงการพฒั นาขนาดใหญ่ที่อาจก่อใหเ้ กิดการแย่งชงิ และสูญเสียทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม รวมถึงผลกระทบตอ่ สุขภาพและวิถชี วี ิตของประชาชนอย่างกวา้ งขวาง ทังโครงการเหมืองแร่ โรงไฟฟาา เขต เศรษฐกิจพิเศษ เข่อื นและโครงการผนั นาต่าง ๆ แต่การใชส้ ิทธติ ามระบอบประชาธิปไตยเพอ่ื มสี ว่ นรว่ ม แสดงความคิดเห็น ตดั สนิ ใจ และเรยี กร้องการแก้ไขปญั หา กลับทาได้อย่างจากัดด้วยเง่ือนไขข้ออา้ งทาง กฎหมายต่าง ๆ ที่รฐั สรา้ งขนึ โดยเฉพาะพระราชบัญญตั ิการชุมนมุ สาธารณะ พ.ศ.2558 ท่ีเปน็ อปุ สรรคทา

37 ให้การออกมารวมตวั รวมกลมุ่ ของประชาชนกล่มุ ตา่ งๆ เพ่ือเคลื่อนไหวเรียกร้องทังเรื่องสงิ่ แวดลอ้ มและ ประเด็นสาธารณะอ่นื ๆ ทาได้อย่างยากลาบาก หลายกรณีมกี ารกดดันขม่ ขู่ผเู้ ขา้ ร่วม หลายกรณตี ามมาดว้ ย การถกู ดาเนินคดี นอกจากนยี ังมคี วามพยายามใช้กระบวนการยตุ ิธรรมเพอ่ื ปิดกันการแสดงความคดิ เห็นต่อ สาธารณะด้วยการฟอา งคดีปดิ ปาก (SLAPP) ทงั ข้อหาหมน่ิ ประมาทและ พ.ร.บ.คอมพวิ เตอรฯ์ อยู่อย่าง ต่อเนื่อง ปี 2563 นที มี่ ีแนวโน้มของการออกมาเรียกรอ้ งแสดงออกของประชาชนท่ีไดร้ บั ผลกระทบจาก นโยบายและโครงการพัฒนาอุตสาหกรรมตา่ ง ๆ มากขนึ จึงเปน็ ช่วงเวลาท่ตี อ้ งจบั ตาดสู ถานการณ์การจากัด และคุกคามการใช้สทิ ธเิ สรีภาพตามรัฐธรรมนูญของประชาชนกล่มุ ต่าง ๆ วา่ จะลดลงหรือเพ่ิมมากขึน อย่างไรภายใตร้ ฐั บาลทมี่ าจากการเลอื กตัง 5. กฎหมายใหม่ และผลกระทบตอ่ สิ่งแวดล้อม นอกจากปญั หาดา้ นส่งิ แวดล้อมในทางตรงแลว้ การออกและแก้ไขกฎหมายใหม่ๆ หลายฉบบั กเ็ อือ ให้การลงทุนในภาคอตุ สาหกรรมทาได้ง่ายขึน จนบางทีแทบจะไม่เหน็ มมุ มองของการระวังไม่ใหเ้ กดิ ผลกระทบต่อสง่ิ แวดล้อมและสขุ ภาพ ตวั อยา่ งเหลา่ นเี ป็นส่วนหนงึ่ กฎหมายที่ถูกแก้ไขเปล่ียนแปลงจนทาให้ การรักษาสิ่งแวดล้อมเป็นแค่ส่วนประกอบทไี่ มถ่ ูกใหค้ วามสาคญั 5.1 พระราชบญั ญัติโรงงาน (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2562 ทม่ี ผี ลบงั คบั ใช้เม่ือวันท่ี 27 ตุลาคม 2562 ทผ่ี ่านมา มปี ระเด็นสาคัญทถี่ ูกวพิ ากษค์ ือการแกไ้ ข นิยามของคาว่า “โรงงาน” ให้ตอ้ งมเี ครื่องจักรขนาด 50 แรงมา้ หรือใชค้ นงานตังแต่ 50 คนขนึ ไป จงึ จะ ถอื เป็นโรงงานท่ีอยใู่ นบังคับต้องปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัติโรงงาน ทาใหม้ ีกิจการขนาดเลก็ จานวนมากหลดุ ออกจากการควบคุมกากับดแู ลตามกฎหมายโรงงาน ซึง่ อาจรวมถึงกจิ การคัดแยกและจัดการขยะ อุตสาหกรรมที่แมจ้ ะมีขนาดเครอื่ งจักรหรือจานวนคนงานต่ากว่ากฎหมายแตส่ ามารถก่อให้เกิดผลกระทบ มลพิษร้ายแรงต่อส่ิงแวดล้อม นอกจากนียงั มีการแก้ไขกฎหมายยกเลกิ อายุและการขอต่ออายุใบอนุญาต ประกอบกจิ การโรงงาน ซงึ่ เคยเปน็ มาตรการสาคญั ในการตรวจสอบทบทวนมาตรฐานสิ่งแวดล้อมและความ ปลอดภัยของโรงงาน รวมถงึ ผลกระทบทย่ี งั ไม่ไดร้ ับการแก้ไขดว้ ย ๖. วิกฤตการณ์ส่ิงแวดล้อม ปญั หาท่หี ลายประเทศทัว่ โลกประสบอยู่ในช่วงระยะ ๒๐ กวา่ ปที ่ผี า่ นมา คือปัญหาวกิ ฤตการณ์ ทางสิ่งแวดล้อม ซง่ึ เปน็ ปัญหาท่ีแต่ละประเทศตอ้ งใชค้ วามพยายามอย่างยงิ่ ในการปาองกันและแก้ไขปัญหา วิกฤตการณท์ างสงิ่ แวดลอ้ มนี ส่วนใหญเ่ กิดจากการกระทะของมนุษย์เอง เนื่องจากจานวนประขากรทกี่ บั ปริมาณทรัพยย์ ากรธรรมชาติที่มีอยู่อย่างจากัด อีกประการหน่งึ มนุษยไ์ ด้ใช้ทรพั ย์ยากรธรรมชาตติ า่ งๆ กัน อยา่ งฟ่มุ เฟอื ยกันจนเคยชิน มนษุ ย์จึงพยายามต่อสดู้ นิ รนโดยการคดิ ค้นวทิ ยาการและเทคโนโลยสี มยั ใหม่ เพือ่ ช่วยเร่งผลผลติ ทใ่ี ช้เป็นเครอ่ื งอุปโภคบรโิ ภค ปัญหามลพษิ ทางสง่ิ แวดล้อมทเี่ กิดขึนจนทาให้ทว่ั โลก ต่นื ตวั รบี เรง่ ปอา งกันและแกไ้ ขปัญหาดว้ ยกนั เช่น เมื่อเดือนธนั วาคม พ.ศ. ๒๔๗๓ เกดิ มลพษิ ทางอากาศ ขนึ ท่หี ุบเขาเมยสุ (Meuse valley) ประเทศเบลเยย่ี ม โดยโรงงานผลิตเหล็กกล้าและสงั กะสีปลอ่ ยก๊าซ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ กรดอนินทรยี ์ ออกไซด์ของโลหะ แลเถา้ ถา่ นทส่ี ะสมอยู่ในหุบเขา เป็นเหตใุ ห้มี ผ้เู สียชวี ติ ๖๓ คน และเจ็บป่วยถงึ ๖,๐๐๐ คน และเมอ่ื เดือนธนั วาคม พ.ศ. ๒๔๙๕ ก็เกิดมลพษิ ทางอากาศขึนท่ีกรงุ ลอนดอน ประเทศอังกฤษสาเหตเุ กิดจากอุตสาหกรรมหลาย ประเภทปลอ่ ยฝ่นุ ละออง เขม่า เถ้าถา่ น รวมกับควนั ไฟและก๊าซซลั เฟอรไ์ ดออกไซดจ์ ากการเผาถ่านหิน

38 เพือ่ ใหค้ วามร้อนในบา้ นเรือนช่วงฤดูหนาว ทาให้มีชวี ิตถึง ๔,๐๐๐ คน และเจบ็ ปว่ ยอกี เปน็ จานวนมาก ส่วนทป่ี ระเทศญ่ีปุน่ โรงงานอุตสาหกรรมไดป้ ล่อยนาทงิ ที่มีสารปรอทเจือปนลงสู่แม่นาและไหลลงสอู่ า่ วมิ นามาตะประชาชนที่บรโิ ภคอาหารทะเลทนี่ ามาจาคบรเิ วณนนั เกดิ เจบ็ ป่วยและล้มตายดว้ ยโรคพิษจากสาร ปรอท จึงเรยี กชอ่ื โรคนวี ่า โรคมนิ ามาตะ (Minamata disease) ๔.๑ ส่งิ แวดล้อมเปน็ มลพษิ คาวา่ “มลพิษ” ตรงกับคาว่า “pollution ” บางแห่งอาจใช้คาวา่ “มลภาวะ” ซึ่งมคี วามหมาย เช่นเดยี วกนั มลพิษเปน็ คาที่ประกอบขึนจากคา ๒ คา คือ “มล”รวมกับ“พิษ” แตล่ ะคาตา่ งกม็ ีความหมาย ในตัวเอง กลา่ วคือ คาว่า“มล” ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ หมายถึงความมวั หมอง หรอื ความสกปรก ส่วนคาว่า “พิษ” หมายถึง สิง่ ทเี่ ป็นโทษ เปน็ อนั ตรายหรือใหค้ วามเดือดร้อน แกร่ า่ งกาย จิตใจ ดังนนั คาว่า “มลพษิ ” ตามรปู ศัพท์อาจแปลได้วา่ สง่ิ ท่เี ป็นโทษ เป็นอนั ตรายซ่ึง เกดิ ขึนจากความมวั หมองหรือความสกปรก นักวิชาการทางด้านสิ่งแวดล้อมหลายทา่ นได้ใหค้ วามหมายของคาว่า “มลพษิ ” ไว้ตา่ งๆ กันดังนี มลพษิ หมายถงึ สภาวะแวดล้อมท่ีมีมลสารทีเ่ ปน็ พษิ จนมีผลตอ่ สุขภาพของมนษุ ยแ์ ละสงิ่ มชี ีวติ ทงั พชื และ สัตว์ มลพษิ หมายถึง สภาพที่เกิดขึนจากการเปล่ียนแปลงทางกายภาพ ทางเคมี และทางชีวะวทิ ยา ของสง่ิ ต่าง ๆ เชน่ ดนิ นา อากาศ ฯลฯซ่งึ ทาใหเ้ กิดอนั ตรายตอ่ ชีวติ มนุษย์ หรือสง่ิ มีคุณค่าชนดิ อนื่ ๆ มลพษิ หมายถงึ การเปลย่ี นแปลงใด ๆ ในทางที่ไม่พงึ ประสงค์ทังการเปล่ียนแปลงทางกายภาพ เคมี ชวี ภาพ ในดนิ แหล่งนา และอากาศ อันจะยงั ผลใหเ้ กิดอันตรายตอ่ ชวี ติ และทรัพย์สนิ จากความหมายของคาว่า มลพิษ มีคาเกย่ี วข้องอย่ดู ว้ ย คอื คาว่า “สารมลพิษ”(pollutant) ตามทรี่ าชบัณฑติ ยสถานบัญญตั ขิ ึน ซง่ึ หมายถงึ สารหรือวัตถุ หรือสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ทท่ี าให้ สภาพแวดล้อมเกิดการเปลี่ยนแปลงในทางทเี่ สอื่ มโทรมลง จนไม่สามารถนามาใชป้ ระโยชน์ต่อไปได้ หรอื อาจเปน็ อันตรายตอ่ สิง่ มีชีวิตและทรัพย์สนิ ของมนษุ ย์ดังนันจงึ อาจสรปุ ไดว้ า่ มลพิษ หมายถงึ สภาวะทาง สงิ่ แวดล้อมที่มีอยู่ตามธรรมชาติ ถูกปนเป้ือนดว้ ยสารมลพิษ ทาให้เกดิ การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ เคมี และชีวภาพ จนมีผลในลกั ษณะทเี่ ปน็ อนั ตรายต่อชีวิตและทรพั ยส์ ินของมนุษย์ ๔.๒ ประเภทของมลพิษ มลพิษทางสิ่งแวดลอ้ มมีมากมายหลายประเภท มลพษิ ทางสง่ิ แวดลอ้ มท่สี าคญั มีดังนี มลพิษทางนา นาเปน็ ปัจจัยสาคญั และจาเป็นอยา่ งย่งิ ในการดารงชวี ิตของมนษุ ย์และสงิ่ มีชวี ติ อืน่ ๆ นาได้ถูก นามาใชม้ ากมายหลายประการ เพื่ออุปโภค บรโิ ภค เพอ่ื อตุ สาหกรรม เกษตรกรรม การคมนาคม การ ขนสง่ การพลงั งาน และการพักผ่อนหย่อนใจนอกจากนี นายังเปน็ แหลง่ รองรับของเสียทุกประเภททัง แหลง่ ชมุ ชน อุตสาหกรรม และเกษตรกรรม จนเปน็ เหตใุ ห้คณุ ภาพนาเสื่อโทรมลง และเกดิ ปญั หาลมพษิ ทางนาขนึ มลพษิ ทางดิน มนษุ ยไ์ ด้ประโยชนจ์ ากดินมากมายหลายประการเชน่ เดยี วกนั กนั นากลา่ วคือใช้เปน็ แหลง่ ที่อยู่อาศยั เพ่อื การเกษตรกรรม และเพ่ือการอตุ สาหกรรม การคมนาคม และการขนสง่ อีกทังยังเปน็ ที่รองรับสงิ่ ตา่ ง ๆ ท่ปี นเปอื้ นดว้ ยสารพิษ สาเคมีกาจดั แมลงและศัตรูพืช สารโลหะหนัก สารกมั มนั ตรงั สีและ สารเคมีอนื่ ๆ จนทาให้คณุ ภาพของดินเส่ือมโทรมลงกลายเปน็ ดินเปรียว ดนิ เค็ม ไมเ่ หมาะสมทจ่ี ะใช้ เพาะปลูกพืช และเกิดปญั หามลพษิ ทางดิน มลพษิ ทางอากาศ

39 มลพิษทางอากาศเกิดจากการทอ่ี ากาศมสี ิง่ เจือปนในปริมาณมากจนถงึ ระดับท่ีเปน็ อนั ตรายต่อ มนุษย์ สตั ว์ พชื และทรพั ยส์ ินอืน่ ๆ สิง่ เจือปนในอากาศหรือมลพิษทางอากาศมีอยู่หลายชนดิ ทังใน รูปแบบของกา๊ ซ ฝ่นุ ละออง เขมา่ ควนั และกัมมันตภาพรังสสี าเหตุสาคญั ของมลพิษทางอากาศเกิดจากไอ เสียรถยนต์ และโรงงานอตุ สาหกรรมท่ปี ล่อยก๊าซและสารที่เป็นพษิ ออกสู่บรรยากาศจนทาใหเ้ กิดปัญหา ภาวะมลพษิ ทางอากาศขึน มลพิษทางเสยี ง เสยี งที่ดงั รบกวนหรอื เกดิ ขนึ ต่อเนอื่ งกนั หรอื เกิดขนึ บ่อย ๆ ยอ่ มเป็นอนั ตรายต่อสขุ ภาพของมนุษย์ โดยกอ่ ให้เกดิ ผลเสียทังทางร่างกายและจิตใจ เช่น หูหนวก หูตงึ ความดันโลหิตสูง ปวดศีรษะ อารมณ์ เครียด หงุดหงดิ จากการเฝาาระวังและติดตามตรวจวดั เสยี งขยองหน่วยราชการในกรุงเทพมหานคร พบว่า พนื ที่บางแหง่ มีระดับเสยี งอย่ใู นระดับสงู จนอาจก่อใหเ้ กดิ อันตรายดงั กลา่ วได้ สาเหตุสาคัญเกดิ จาก รถยนต์ จกั รยานยนต์และโรงงานอตุ สาหกรรม มลพิษทางกัมมนั ตภาพรงั สี ปจั จุบนั ไดม้ กี ารนาเอาสารกมั มนั ตภาพรงั สีมาใชป้ ระโยชน์มากมายหลายประการ ทงั ด้านผลิต อาวุธสงคราม ประโยชนท์ างการแพทย์ การใชท้ ดแทนพลงั งาน เช่น โดรงงานผลติ กระแสไฟฟาาพลงั งาน นิวเคลียร์ จากการตดิ ตามตรวจสอบของสานักงานพลงั งานปรมาณูเพอ่ื สนั ติในเขตกรุงเทพมหานคร ชลบุรี เชยี งใหม่ ขอนแก่น สงขลา พบวา่ มีสารกมั มนั ตภาพรงั สีตกค้างอย่ใู นสิ่งแวดล้อมทังในอากาศ ดนิ นา ฝนุ่ ละออง และตน้ ไมใ้ หญ่ และในต้นหญา้ ซง่ึ มปี รมิ าณต่าง ๆ กัน มลพิษจากสารพิษ สารพิษไดถ้ ูกนามาใช้ประโยชนห์ ลายดา้ น ทงั ดา้ นเกษตรกรรมอตุ สาหกรรม การแพทย์ สาธารณสขุ อาหาร ยา เครื่องสาอาง การใชส้ าพิษด้วยเทคนคิ และวิธที ไี่ ม่ถูกต้อง ใช้ผดิ แบบ จะเปน็ อันตรายต่อสขุ ภาพอนามยั ของประชาชนเอง รวมทังทาให้เกดิ ความเสียหายต่อห่วงโซอ่ าหารตามธรรมชาติ และระบบนิเวศนด์ ้วย สารพิษอาจทาให้เกิดปัญหามลพษิ ทางนา ทางดนิ และทางอากาศ มลพษิ จากขยะมลู ฝอย การเพิ่มประชากร การขยายกิจการทางด้านอุตสาหกรรม พาณชิ ยกรรม การขยายตัวของชมุ ชน อย่างรวดเร็ว มีส่วนสัมพนั ธ์กับการเพิ่มปริมาณของขยะมูลฝอยจนเกินกาลังของเทศบาลสขุ าภิบาล เป็น เหตใุ ห้ขยะมลู ฝอยตกค้าง ถูกทงิ กองไว้ในท่ตี ่าง ๆ และทิงในแมน่ าลาคลองจนเกดิ มลพิษทางดนิ และทาง นาตามมาดว้ ย ๔.๓ ปัจจัยทท่ี าให้เกดิ ปญั หามลพิษ ปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อม ไม่ว่าจะเปน็ มลพิษทางนา มลพษิ ทางดิน มลพิษทางอากาศ มลพษิ ทางเสียง หรือมลพิษทางด้านอ่ืน ๆ เกิดขนึ เน่อื งจากปัจจยั เปน็ สาเหตทุ ่สี าคัญ ๒ ประการคือ ๑) ปจั จัยจากธรรมชาติ ปญั หามลพษิ ทางสง่ิ แวดลอ้ มอาจเกิดขึนเนอ่ื งจากปัจจัยทางธรรมชาติ เช่น ภเู ขาไฟระเบดิ กอ่ ให้เกดิ ฝ่นุ ละอองฟุงา กระจายไปในบรรยากาศจนเกดิ มลพษิ ทางอากาศขึน ไฟไหม้ปา่ ทาให้ เกิดเขม่าควันไฟฟุางกระจายในบรรยากาศและเป็นการทาลายสารอาหารแรธ่ าตุทีเ่ ป็นประโยชน์ต่อพนื ผิว ทาให้เกิดมลพษิ ตา่ ง ๆ ตามมาหลายอย่าง ๒) ปจั จัยทีเ่ กี่ยวข้องกบั มนษุ ย์ มนษุ ยเ์ องเป็นผู้กระทาให้เกิดปญั หามลพิษทางสงิ่ แวดล้อม ขึนเปน็ สว่ นใหญ่ เน่ืองจากมนษุ ยจ์ าเป็นต้องดาเนินกจิ กรรมต่าง ๆ เพอื่ การยงั ชีพและเพอ่ื การอยู่รอดใน สังคม กจิ กรรมต่าง ๆ ทเี่ กิดขนึ ล้วนเกย่ี วข้องสัมพันธก์ ับสิง่ แวดลอ้ มทงั สิน ปจั จัยทเ่ี ก่ยี วข้องกบั มนุษย์ท่ีทาใหเ้ กิดปัญหามลพิษขนึ นนั แบ่งออกได้ ๓ ประการ

40 ๑. การเพิ่มจานวนประชากร การทีป่ ระชากรมนษุ ย์เพิ่มจานวนมากขึน ยอ่ มหมายถึงความ ต้องการปจั จัยในการดารงชวี ติ เพ่มิ มากขึนดว้ ย ปัจจยั ท่จี าเปน็ ในการดารงชีวติ ไดแ้ ก่ อาหาร เครื่องนุ่งหม่ ที่อยู่อาศัย ยารกั ษาโรค ความสมดุลทางธรรมชาตจิ ึงสญู เสียไป เกิดการเปลีย่ นแปลงดา้ นส่ิงแวดล้อมใน ลักษณะทเ่ี ส่ือมโทรมลง เรยี กว่าปัญหามลพษิ การเพ่ิมประชากรอยา่ งรวดเรว็ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ ส่ิงแวดล้อมท่ีสาคญั คือ การใชท้ รัพยากรธรรมชาติ มีการทาไรเ่ ลอ่ื นลอย มีการบุกรกุ ทาลายปา่ นอกจากนี ทรัพยากรนากม็ ีความต้องการเพิ่มจนท้องทบี่ างแหง่ ขาดแคลนนาเพ่ือการอุปโภคบรโิ ภค ปริมาณนาลดลง คณุ ภาพเสื่อมโทรมลง การอพยพย้ายถิน่ การที่ประชากรเพ่ิมมากขนึ มีการใชท้ รัพยากรก็เพิ่มมากขึนดว้ ย ท่ีอยู่อาศยั และ ระบบสาธารณูปโภคไมเ่ พียงพอ เกดิ ปัญหาวา่ งงาน การแก่งแยง่ งานกนั ทา การขยายตัวของเมือง เม่ือ ประชากรเพ่ิมมากขนึ ทาใหเ้ ขตเมอื งขยายตัวเพ่ิมขนึ อยา่ งรวดเรว็ อาคารบ้านเรือนและอาคารพาณชิ ย์ก็ เพิม่ ทงั รถยนต์ และมลพษิ ตา่ ง ๆ กเ็ พิ่มขนึ ตามมา ๒. การพฒั นาและการใชเ้ ทคโนโลยี มนษุ ย์พยายามคน้ ควา้ ศึกษาวิจยั เพ่ือท่ีจะนา เทคนคิ ต่าง ๆ มาใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ และเพ่ิมผลผลิต และพฒั นาคุณภาพชวี ติ จึงเกดิ การทาลาย ธรรมชาติไปเรือ่ ย ๆ ๓. การกระทาของมนษุ ยโ์ ดยตรง มนษุ ยเ์ องกข็ าดความสานกึ หรอื ขาดความรบั ผิดชอบ ตอ่ สงั คม เชน่ การทิงของเสีย ขยะ ตา่ งๆ ลงส่ธู รรมชาติ น่นั ถือว่ามนุษยเ์ ปน็ ผ้กู ระทาต่อธรรมชาติ โดยตรง ๔.๔ ผลกระทบจากมลพิษ มนษุ ยแ์ ละส่ิงแวดมีความสัมพันธก์ นั ดงั ที่เราเรียกว่า ระบบนิเวศน์ จงึ เกดิ ผลกระทบตอ่ มนษุ ย์ หลายประการ ดงั นี ผลกระทบต่อการดารงชีวิต ในการดารงชวี ติ และประกอบภารกิจประจาวนั ตงั แตเ่ ราเร่ิมตน่ื นอน เรากม็ ี ความจาเป็นตอ้ งใช้ทรัพยากรธรรมชาติ แลว้ จนกระทั่งเราหลบั นอนลงอีกครงั ผลกระทบต่อสขุ ภาพอนามยั มลพษิ ทางสง่ิ แวดลอ้ มมผี ลตอ่ สุขภาพอนามยั ของมนุษยข์ องมนุษยเ์ รา ทงั นี ขนึ อย่กู ับสารมลพิษท่ีเราพบได้ เช่น สารมลพษิ ทางกายภาพ เช่น ความร้อน ผู้ทท่ี างานในท่ีๆ มีความรอ้ นสูงเกินไปจะทาใหร้ ่างกาย เสยี นา และเกลือแร่จนรู้สกึ อ่อนเพลยี หนา้ มืดหรือหมดสติได้ แสงสวา่ งที่จา้ มาก มีความเขม้ แห่งการสอ่ ง สวา่ งสงู อาจทาใหต้ าอักเสพ เปน็ อนั ตรายต่อสายตา สว่ นผู้ทท่ี างานอยใู่ นท่ี ๆ มีเสยี งดังติดตอ่ กนั นาน ๆ อาจทาใหป้ ระสาทหูพกิ าร หูตงึ ได้ สารมลพิษทางเคมี เปน็ อันตรายต่อร่างการมมี ากหลายชนดิ กา๊ ซซลั เฟอร์ไดออกไซด์ สามารถ ทาลายเยือ่ จมูก และระบบทางเดนิ หายใจ ฝนุ่ ละอองแบบแอสเบสทอส ทาให้เกิดโรคมะเร็งปอด นาทมี่ ี สารปรอทเจอื ปนอยแู่ ละพิษจากสารกาจดั แมลงศัตรูพชื มีจานวนมากของเสียอนั ตราย ของเสยี อนั ตรายมี แหล่งกาเนดิ มาจาก บา้ นเรือน ชุมชนและโรงงานอตุ สาหกรรม ซ่ึงกรมควบคุมมลพษิ คาดว่า ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ มปี รมิ าณของเสียอันตรายประมาณ ๑.๘๓ ล้านตัน ซง่ึ เพม่ิ ขนึ จากปี พ.ศ.๒๕๔๘ ประมาณ ๑๙,๐๐๐ ตนั ของเสยี อนั ตรายประมาณร้อยละ ๘๐ มาจากภาคอตุ สาหกรรม ส่วนที่เหลอื เปน็ ของเสยี อันตรายจากชมุ ชน สาหรบั การจดั การของเสยี อนั ตราย พบวา่ ร้อยละ ๓๗ ของปรมิ าณของเสียอนั ตราย จากภาคอตุ สาหกรรมไดร้ ับการกาจัดอยา่ งถกู ต้องตามหลักวิชาการ ในขณะท่ีของเสยี อันตรายขากชมุ ชนยัง ถูกทิงปนไปกับขยะชุมชนทั่วไป การจดั การท่ีไม่มีประสทิ ธิผลนีจะทาให้เกิดการปนเป้ือนของสารพิษใน

41 สภาพแวดลอ้ มในอนาคตต่อไปนอกจากนยี ังพบว่า มลพษิ จากสารอนั ตรายสว่ นใหญเ่ กิดจากขันตอนในการ ขนส่ง การจดั การเก็บสารเคมี การใช้ ได้นามาซ่งึ ความสญู เสียตอ่ ชีวิต และทรัพย์สนิ โดยมเี หตกุ ารณ์ อบุ ตั ิภยั จากสารอนั ตรายเกิดขึนมากเชน่ รถบรรทุกกา๊ ซพลกิ คว่า ถงั แก๊สระเบดิ เปน็ ตน้ มีผลกระทบต่อ สุขภาพ ทาใหส้ ่งิ แวดล้อมปนเปอื้ น สรปุ ท้ายบท สิ่งแวดล้อมทงั หลายทงั ที่เกดิ ขนึ เองโดยธรรมชาติและถูกสรา้ งขนึ ส่วนใหญม่ ีสภาพที่เป็นไปตาม ธรรมชาติ คือเกิดขนึ ดารงอยู่และสลายไป ทรัพยากรธรรมชาติบางประเภทมีคณุ ค่าตอ่ การใชส้ อยของ มนษุ ยจ์ งึ ถูกนามาใช้จนหมด จงึ เรยี กว่าเป็นภาวะวิกฤต เพราะทรัพยากรบางประเภทไม่สามารถเกดิ ขนึ มา ทดแทนได้ แตบ่ างประเภทใช้จนทาให้เกดิ เป็นมลพิษ ดังปรากฏและได้ส่งผลกระทบต่อสถานภาพ ทรพั ยากรธรรมชาติและคุณภาพส่งิ แวดลอ้ ม การสูญเสียแหล่งทรพั ยากรธรรมชาติ นามาซึง่ ความเสยี หาย ตอ่ ชีวิต ทรพั ยส์ ิน และคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนทงั เร่ืองนา อากาศ เสยี ง ความร้อน ขยะ ป่าไม้ สตั ว์ป่า แร่ธาตตุ ่างๆ อัตราการสูญเสีย การคงอยู่ท่กี ล่าวมา เปน็ ตวั เลขทบ่ี ่งชถี ึงความเสอื่ มสิน เราจะมีส่วนรว่ มใน การอนุรักษ์ และคนื ความเป็นธรรมชาติใหก้ บั ทรพั ยากรนันได้อยา่ งไร เปน็ หนา้ ท่ีของประชนทุกคนทีจ่ ะต้อง ช่วยกนั หากมิเชน่ นนั แลว้ ความหายนะที่เกดิ จากธรรมชาติแวดล้อมกจ็ ะตามมาอย่างแน่นอน คาถามท้ายบท ๑. จงอธิบายถึงสภาพของส่ิงแวดลอ้ มในปัจจุบันของไทย ๒. ปจั จยั ท่ที าใหท้ รพั ยากรธรรมชาตไิ ม่ปกตไิ ด้แก่อะไรบา้ ง ๓. ทรพั ยากรป่าไม้ หากถูกทาลายเปน็ จานวนมากจะส่งผลกระทบต่อทรัพยากรอืน่ อย่างไร ๔. นา ดิน อากาศ เป็นห่วงโซ่แกก่ ัน หากขาดความสมดุล จะส่งผลกระทบตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาติอย่างไร ๕. ทรัพยากรธรรมชาติชนิดใดของประเทศไทย ทมี่ ีสถานการณอ์ ันตราย

42 บทท่ี ๔ ปัญหาเก่ียวกบั สงิ่ แวดล้อมในเมืองและชนบท ขอบข่ายการศกึ ษา ๑. สาเหตขุ องปัญหาส่งิ แวดล้อม ๒. สภาพสิง่ แวดลอ้ มในประเทศไทย ๓. การแก้ปญั หาสง่ิ แวดล้อมในเมือง ๔. ปัญหาและการแกป้ ญั หาสิ่งแวดล้อมในชนบท ส่งิ แวดล้อมบนโลกน้ี หากศกึ ษาใหล้ ะเอียดกจ็ ะทาใหเ้ ป็นสภาพทเ่ี ปน็ ปญั หา และปัญหาทีเ่ กดิ ข้นึ จะปรากฏใน ๒ ส่วนคอื ในเขตตัวเมอื ง และเขตชนบท และทีส่ าคญั คือแหล่งพนื้ ท่ีอันเป็นทอี่ ยู่อาศัยของ มนุษย์ ซ่ึงปญั หาของแตล่ ะพื้นทจี่ ะมีลกั ษณะที่แกตกตา่ งกัน ตามบรบิ ทและภมู ปิ ระเทศของแต่ละเมือง เช่น ปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มของเมอื งเชยี งใหม่กับเมืองนครศรธี รรมราช หรอื เมืองขอนแก่นกับเมืองอุบลราชธานี ก็ จะมคี วามแตกต่างกนั ภายใต้สิ่งแวดล้อมกันเดยี วกัน เช่น การจราจร ป่าไม้ เปน็ ต้น ในบทนี้จึงไดก้ ลา่ วไว้ เพยี งส่ิงแวดล้อมในเขตเมืองและสิ่งแวดลอ้ มในเขตชนบทดังมีรายละเอียดดังนี้ ๑. สาเหตุของปญั หาส่ิงแวดล้อม ปญั หาสภาพแวดลอ้ มในปจั จุบัน ทั้งในเขตเมืองและชนบทสว่ นใหญเ่ กิดจากการกระทาของมนุษย์ ท่มี กี ารใช้ทรัพยากรมากเกนิ ไปและมีการใช้เทคโนโลยีประกอบธุรกิจและดารงชีพมากมาย ซ่ึงการกระทา ของมนษุ ยน์ ีท้ าให้เกดิ ของเสียหรอื สารพษิ ปนเปือ้ นออกไปสู่ส่งิ แวดล้อมในชุมชน จงึ มีผลใหก้ ารฟน้ื คนื สภาพของสิง่ แวดลอ้ มในระบบนอ้ ยลงและทาให้องคป์ ระกอบทางส่งิ แวดล้อมในระบบขาดความสมดุล ระหวา่ งผู้ผลติ ผู้บริโภค ผู้ย่อยสลาย และผเู้ กื้อหนนุ นอกจากน้ี ประชาชนยังมีการนาเอาทรพั ยากร ภายนอกมาใช้ในระบบและนาเอาทรัพยากรบางอย่างที่มีอยู่ในชมุ ชน ออกจากระบบสิ่งแวดล้อมในชุมชน จงึ มโี อกาสท่ีจะทาให้เกดิ ปัญหาความเส่อื มโทรมการเสียความสมดลุ ของระบบ และการเกดิ มลพิษทาง ส่ิงแวดล้อมได้งา่ ย ส่ิงแวดลอ้ มมวี ฏั จักรของสงิ่ แวดลอ้ ม คอื การเกิดขึน้ การดารงอยู่ และการเสอ่ื มสลาย ไป สาเหตขุ องปัญหาส่ิงแวดล้อม แบ่งออกเป็น ๓ ประการ คือ 1. การเพ่ิมข้ึนของประชากรมนุษย์ (Population Growth) 2. ความกา้ วหน้าทางวทิ ยาการ (Technological Advancement) 3. การพัฒนาเศรษฐกจิ (Economic Development) ปญั หาสง่ิ แวดล้อมทเ่ี กิดขึน้ ทั่วโลกสามารถจาแนกออกเปน็ 3 ปัญหาใหญ่ ๆ คือ1 1. ปัญหาภยั ธรรมชาติ เช่น วาตภยั อทุ กภยั ความแห้งแล้ง แผ่นดนิ ไหว ภเู ขาไฟระเบดิ ทาให้ เกดิ ความสูญเสียในทางเศรษฐกิจอย่างมหาศาลและทาให้สังคมเกิดภาวะการขาดแคลนหรอื เข้าสขู่ ้าวยาก หมากแพงขึน้ ได้ 1 https://sites.google.com/site/supichasrasriwatpa

43 2. ปญั หาทรพั ยากรธรรมชาติรอ่ ยหรอ (Resource Depletion) สาเหตุการร่อยหรอหรอื หมด ไปหรอื การขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ 1) ความไม่สมดลุ ของประชากร (Population Imbalances)การขาดแคลนทรพั ยากรธรรมชาติ เปน็ ผลมาจากการทีม่ ีจานวนประชากรมากเกินไป เช่น สัตวท์ ่ีอยู่ในระบบนิเวศตามธรรมชาติต้องการ ส่ิงจาเปน็ พ้นื ฐานในการดารงชีวติ ไดแ้ ก่ อาหาร น้า ที่อยู่อาศัย และทีห่ ลบภยั สาหรับแต่ละชนดิ แตกต่าง กันไป หากมีจานวนประชากรเกนิ กวา่ ทีส่ ิ่งแวดล้อมจะรองรับได้ จานวนของสตั วจ์ ะลดลงตามธรรมชาติโดย อาจเกดิ การอดตาย โรคระบาด ถูกลา่ หรอื ยา้ ยถนิ่ ท่ีอยู่ มนุษยก์ เ็ ช่นเดียวกนั หากมีจานวนประชากรมาก เกินไปจะทาให้เกดิ ความอดอยาก การแก่งแยง่ ทรพั ยากร โรคระบาดรวมทั้งเกิดสงคราม 2) สมรรถนะการรองรับไดใ้ นเมอื ง (Urban Carrying Capacity) การขยายตวั ของเมืองอยา่ ง รวดเรว็ และความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยี ทาใหค้ วามหนาแนน่ ของประชากรเพิ่มขน้ึ เชน่ การเพิม่ ข้ึนของที่ พักอาศัยในแนวดงิ่ มากขึ้น หากขากการวางแผนจดั การสิง่ แวดล้อมทด่ี จี ะก่อใหเ้ กิดปญั หาความแออดั ขาด แคลนนา้ ดมื่ เกิดปัญหาขยะมูลฝอยและมลพษิ ต่าง ๆ จนสมรรถนะการรองรับไดใ้ นเมือง เมอ่ื เกดิ การขาด แคลนจึงตอ้ งมกี ารดงึ ทรัพยากรจากชนบทเข้ามาตอบสนองความตอ้ งการของคนในเมอื ง เป็นผลให้ ทรพั ยากรร่อยหรอเร็วขึน้ 3) ความไม่เสมอภาคของทรัพยากร (Resource Disparity) ประชากรในประเทศพัฒนาแลว้ มี อัตราการใชท้ รพั ยากรหรอื บริโภคทรพั ยากรสงู กว่าประชากรในประเทศกาลังพัฒนาหลายเท่า ประเทศ พัฒนาแล้วยงั รับซื้อวตั ถุดบิ และทรพั ยากรจากประเทศกาลังพฒั นาแลว้ นามาแปรรูปเป็นสนิ ค้าสาเร็จ รปู กลบั มาขายประเทศกาลังพัฒนาในราคาสงู มาก นอกจากนก้ี ารกระจายตวั ของทรัพยากรท่ไี ม่เทา่ เทยี ม กัน เชน่ นา้ มัน ถ่านหนิ ซึง่ เป็นแหล่งเช้อื เพลงิ พลังงาน ทาให้เกดิ ปัญหาการเคล่ือนย้ายทรัพยากรส่ง ผลกระทบต่อภาวะสิ่งแวดล้อมเพ่ิมมาก ข้ึน 4) ผลท่เี กิดจากการใชเ้ ทคโนโลยที ไ่ี มเ่ หมาะสม (Consiquences of Misapplied Technology) ความกา้ วหนท้ างเทคโนโลยีท่ีมนุษยน์ ามาช่วยในการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตนน้ั มสี ว่ นชว่ ย เรง่ ใหเ้ กดิ การขาด แคลนทรัพยากรธรรมชาติมากขน้ึ เพราะกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรมต้องการวัตถุดบิ เป็นจานวน มากและสามารถสรา้ งผลผลิตออกมาได้อย่างรวดเร็วเพอ่ื สนองความต้องการของมนุษย์ นอกจากนี้การใช้ที่ ไมเ่ หมาะสมมสี ่วนทาให้เกิดมลพษิ และการทาลายทรัพยากรธรรมชาตเิ ปน็ จานวนมาก เชน่ การใช้ เคร่อื งมอื การประมงในการจับสัตว์น้าท่ีทันสมยั จะทาใหจ้ านวนประชากรสัตว์น้าลดลง การใชย้ ากาจดั ศตั รูพืชไมถ่ ูกต้องและเกินขนาดทาใหร้ ะบบนิเวศถูกทาลาย 5) การรบกวนทรัพยากรที่มอี ยู่ (Interruption of Supply) การที่มนุษยเ์ ขา้ ไปใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรธรรมชาติ เช่น การใช้ประโยชนใ์ นพ้นื ที่ปา่ การจับสัตวน์ ้า การล่าสัตว์ การทาเหมือง ฯลฯ ลว้ น เปน็ การเข้าไปรบกวนทรัพยากรธรรมชาติทมี่ ีอยู่ ระบบนิเวศจะพยายามปรับตวั เข้าสสู่ มดลุ ใหม่ หากมีการ รบกวนอยา่ งรนุ แรงและยาวนานการปรบั ตวั เข้าสสู่ มดลุ ใหม่อีกครั้งต้องใช้ระยะเวลานานหรอื อาจจะสลายไปเลย 6) ราคาทรพั ยากร (Resource Prices) ราคาทรพั ยากร คือ คณุ ภาพ นัน้ หมายถงึ ทรัพยากรทม่ี ี คุณภาพไม่ดหี รือเสื่อมโทรมเกิดจากมนุษย์ใชท้ รพั ยากรโดยขากความระมัดระวงั ทาให้เกิดการขาดแคลน มีการปนเป้ือนของมลพิษตา่ ง ๆ จนไมส่ ามารถนามาใช้ประโยชนไ์ ด้ 3. ปัญหามลพษิ สง่ิ แวดล้อม (Pollution) เปน็ ปญั หาทีเ่ กิดจากการที่มนุษย์บริโภค ทรัพยากรธรรมชาติในปริมาณที่สงู ขน้ึ ทุกขณะโดยผ่านกระบวนการผลติ ทางอุตสาหกรรมเปน็ ระบบ

44 ขณะเดยี วกันทั้งมนุษยแ์ ละโรงงานอุตสาหกรรมตา่ งกม้ ีของเสียขับถา่ ยออกสูส่ ง่ิ แวดล้อมไม่ว่า ในรูปของสารพษิ หรือพลงั งานในปริมาณที่อาจก่อใหเ้ กดิ ปญั หาส่งิ แวดล้อมเป็นพิษ นจี้ ะรุนแรงข้ึนตาม จานวนประชากรที่เพม่ิ ขึ้น ทาให้เกิดปัญหา น้าเสยี อากาศเป็นพษิ ดินเสยี เปน็ ตน้ จากปัญหาสง่ิ แวดลอ้ มทีเ่ กิดขึ้นจากมนษุ ย์ไดก้ ่อให้เกดิ ปญั หาสังคม (Social Problem) หรอื มลพษิ ทางสงั คม (Social Pollution) ซึง่ เป็นปัญหาท่สี บื เนื่องมาจากการใชท้ รัพยากร การทป่ี ระชาชน เพ่มิ ข้นึ ความต้องการใชท้ ่ดี ินและทรพั ยากรเพิ่มขึ้นตามไปด้วย เกดิ ปญั หาแยง่ กันกนิ แยง่ กันใช้ทรพั ยากรท่ีมี อย่างจากัด เช่น สนามกอล์ฟแย่งนา้ ไปจากแหลง่ นา้ เพ่ือการเกษตร การบุกรกุ ป่าโดยผิดกฎหมายเพ่ือขยาย ที่ดนิ ทากนิ ของประชาชน เม่ือถูกดาเนินการทางกฎหมายก็เกดิ การประท้วงต่อต้าน การท่ีสังคมเมืองดดู เอา ทรพั ยากรจากชนบทเข้ามาใช้อย่างเกินขนาดทาใหเ้ กิดความไมเ่ ทา่ เทียมกัน และความขาดแคลนทรัพยากร ในชนบทและปญั หาทเี่ กิดจาก การทาลายโครงสรา้ งความสัมพันธ์อนั ดีระหวา่ งคนในสงั คมอันก่อใหเ้ กดิ อันตรายต่อชีวิตและทรัพยส์ ินของบุคคลในสังคมนั้น เชน่ ปัญหาสารเสพตดิ ปัญหาอาชญากรรม ปญั หา จราจร ปัญหาชุมชนแออัด เป็นตน้ เน่อื งจากมนุษยเ์ ปน็ สตั ว์สังคม มีความจี าเปน็ ท่ีจะตอ้ งอยู่ร่วมกันเป็น ชุมชนเม่ือชมุ ชนมขี นาดใหญข่ ้ึนกก็ ลายเปน็ เมือง เป็นมหานครท่ีมปี ระชากรอยูห่ นาแน่นมีโครงสร้างที่ ซบั ซ้อน กจิ กรรมต่าง ๆ ของมนุษยท์ มี่ ีการแขง่ ขันกนั และขาดการควบคุมจงึ ก่อให้เกิดปัญหาสังคม หรอื มลพิษทางสังคมข้ึน สาเหตุของมลพษิ ทางสังคม 1) ปริมาณประชากรทเี่ พิ่มอย่างรวดเรว็ โดยเฉพาะอย่างย่ิงประเทศที่กาลังพฒั นาไดก้ ่อให้เกิดปัญหาความไม่สมดลุ ระหว่างทรัพยากรธรรมชาติกบั มนุษย์ ซ่ึงเป็นผลทาให้เกิดปัญหาความกดดนั ทางประชากร (Population pressures) ได้แก่ ปญั หา การเมือง ปัญหาทางเศรษฐกิจ ปัญหาทางสงั คม คนว่างงาน รายไดต้ ่า ไม่มีท่ีอยอู่ าศัย ไม่มีการศกึ ษา และ ปญั หาอื่น ๆ อีกมากมาย 2) การขาดแคลนทรัพยากร ทรพั ยากรธรรมชาติที่มีอย่อู ย่างจากัด เช่น ทด่ี นิ แร่ธาตุ เร่ิมไม่เพยี งพอที่จะสนองความต้องการของ ประชากรที่เพม่ิ จานวนข้นึ ตลอดเวลาในขณะเดียวกนั ทรพั ยากรท่ีมีอยอู่ ย่างจากดั ดังกล่าวยังเส่อื มสภาพลง เปน็ ลาดับ เช่น ดินเสื่อมคณุ ภาพ ปา่ ถูกทาลาย นา้ เสยี เปน็ เหตใุ ห้ประสทิ ธภิ าพในการใช้ลดลง ทรพั ยากรที่ เคยถอื วา่ มีอยู่อยา่ งไมจ่ ากัด เช่น ทรพั ยากรนา้ เร่ิมขาดแคลนและเปน็ ปญั หา ความขาดแคลนทรัพยากร ดังกล่าวทาใหเ้ กดิ การเอารดั เอาเปรียบ แก่งแย่งกนั ในการดารงชีวติ จนเม่อื ปัญหามีความรุนแรงขึน้ มาก ๆ เป็นเหตใุ ห้เกิดปัญหาดา้ นอาชญากรรมต่อไปได้ 3) ความดอ้ ยโอกาสทางการศึกษา ประชากรที่ขาดการศึกษา เป็นเหตุใหเ้ สยี โอกาสท่จี ะพฒั นาศักยภาพของตนเองขาดการพัฒนาสตปิ ัญญา อันจะเปน็ แนวทางในการแสวงหาและพฒั นาคณุ ภาพชีวิต รวมทงั้ เปน็ เหตใุ ห้ขาดโอกาสที่จะไดร้ บั การ อบรมคุณธรรมและจริยธรรมท่ีทาให้ เกดิ ความรับผดิ ชอบต่อตนเองและสงั คม ผลของการไดร้ บั การศึกษา จะสร้างคุณธรรมในตัวบุคคล คุณธรรมทางการเมือง ทางวิชาชพี และทางสังคม ซึง่ จะสามารถชว่ ย ลดความคกึ คะนองและความบา้ อานาจและการเอาเปรยี บกนั ทางสังคมลงได้

45 ๒. สภาพส่งิ แวดลอ้ มในเมือง ปญั หาส่งิ แวดลอ้ มเป็นปัญหาท่สี าคญั ในโลกปัจจุบันซง่ึ เป็นผลโดยตรงจากการกระทาของมนษุ ย์ อนั เนอ่ื งมาจากความต้องการพ้ืนฐานและความต้องการความสะดวกสบายในด้านต่าง ๆ กระต้นุ ให้มนุษย์ พฒั นาความกา้ วหน้าทางวิทยาศาสต์ร์และวิทยาการในการนาทรพั ยากรธรรมชาตใิ ช้อย่างสะดวกสบาย และง่ายย่ิงขึน้ อีกทัง้ มีการพัฒนากระบวนการผลิตทางด้านอุตสาหกรรมเพ่ือผลิตสินค้าทงั้ ท่ี เปน็ สินคา้ ประเภททุน (Capital Goods) และสินค้าบรโิ ภค (Consumer Goods) ซ่งึ กระบวนการผลติ น้เี องที่ กอ่ ใหเ้ กิดของเสยี ออกส่ิงแวดลอ้ ม เชน่ ปญั หาน้าเสีย ปัญหาอากาศเปน็ พษิ ปัญหาดา้ นเสยี ง และผลของ การบรโิ ภคกท็ าให้เกดิ ของเสยี กระจายสสู่ ง่ิ แวดลอ้ มในรูปของขยะมลู ฝอย นา้ เสีย อากาศเป็นพิษ ฯลฯ ๒.๑ อากาศในเขตเมือง อากาศเป็นทรัพยากรธรรมชาตทิ ่ีสาคัญและเป็นสง่ิ จาเปน็ อย่างยิง่ ในการดารงชวี ติ ของมนุษย์ สตั ว์ และพืช อากาศทจี่ ดั วา่ เหมาะสมสาหรบั การหายใจของมนุษย์โดยประมาณแล้วประกอบด้วย ออกซิเจน ร้อยละ ๒๐.๙๕ ไนโตรเจนร้อยละ ๗๘.๐๙ คารบ์ อนไดออกไซดร์ ้อยละ ๐.๐๓ อารก์ อนร้อยละ ๐.๙๓ และ กา๊ ซอื่น ๆ เชน่ นอี อน ฮีเลยี ม ไฮโดรเจน และโอโซนอกี ร้อยละ ๐.๐๑ ๒.๒ เสียงในเขตเมือง เสยี งเป็นปญั หาสาคญั ต่อสภาวะแวดลอ้ มในเขตเมืองมากอย่างหน่ึงและมผี ลกระทบกระเทือนต่อ สุขภาพและการดารงชวี ิตของมนุษย์ สตั ว์ และพืชได้ ความดงั ของเสียงมีหลายระดบั เสียงท่ดี งั ในระดบั ท่ี ต่ากวา่ ๘๐ เดซเิ บล เป็นเสียงท่ีไม่เป็นอนั ตรายต่อประสาทหู แตท่ าใหเ้ กดิ ความราคาญ หงดุ หงิด และ รบกวนให้เสยี สมาธิได้ แต่ถ้าคนเราไดส้ มั ผัสเสียงดังตดิ ต่อกันในระดับของเสยี ง ๘๕ เดซเิ บลหรอื มากกว่า เปน็ เวลานานถงึ ๑ ชว่ั โมงขน้ึ ไปแล้วจะเป็นอันตรายต่อโสตประสาทของผู้สัมผสั เสียงนไ้ี ด้ โดยเหตนุ ้เี อง องค์การอนามยั โลกจงึ กาหนดมาตรฐานของเสียงไวไ้ มเ่ กนิ ๘๕ เดซิเบล ๒.๓ นา้ โสโครกในเขตเมือง นา้ โสโครกส่วนใหญ่เกดิ จากการใช้นา้ ในกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของมนษุ ย์ เชน่ นา้ ทงิ้ จากอาคาร บา้ นเรือน โรงานอตุ สาหกรรม ย่านการคา้ และรวมถงึ น้าที่ผ่านการใชท้ างการเกษตรกรรม และนา้ ฝนทต่ี ก ลงมาสู่พนื้ โดยท่ีไม่ไดร้ องรบั ไวใ้ ช้ประโยชนด์ ว้ ย ๒.๔ อจุ จาระในเขตเมือง อุจจาระเป็นของเสียซึ่งเป็นกากอาหารที่ถกู ขับถา่ ยออกมาจากรา่ งกายมนุษย์ ในอุจจาระมักจะมี เชอ้ื โรคและหนอนพยาธิปะปนอยดู่ ้วย โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ในอุจจาระของผู้ป่วยทเ่ี ปน็ โรคติดเชอื้ ระบบ ทางเดินอาหารจะพบว่ามีเชือ้ โรคชนดิ ที่ทาใหเ้ กิดโรคปะปนออกมาด้วย ดงั น้ัน ถา้ การกาจัดและควบคุม อุจจาระท่ีขบั ถ่ายออกมาของแต่ละบุคคลในชุมชนไม่ถกู ต้อง จะทาให้เกิดการแพร่กระจายและเกิดการ ระบาดของเช้อื โรคและหนอนพยาธไิ ปสู่บุคคลปกติไดโ้ ดยอาศัยส่อื นาทางสิ่งแวดลอ้ ม เช่น นา้ อาหาร อากาศ ดนิ แมลง และสัตวต์ า่ ง ๆ เป็นต้น ๒.๕ ขยะมลู ฝอยในเขตเมือง ขยะมลู ฝอยเป็นของเสยี ท่เี ป็นของแขง็ ทเ่ี กดิ ขึ้นในชุมชนซึ่งเป็นผลทเ่ี กิดจากการใช้ทรัพยากรหรือ การกระทาของมนุษย์หรืออาจเกดิ เองโดยธรรมชาติ และเป็นของเสียที่มนษุ ย์ไมต่ ้องการใชห้ รือเหลอื ใช้ และทง้ิ แล้ว ในชุมชนท่ีมปี ระชากรหนาแน่น เชน่ ในเขตเมือง จะมปี ัญหาเกดิ ข้ึนจากขยะมูลฝอย มากกว่าชุมชนที่มีประชากรน้อยหรอื ไมห่ นาแนน่ เช่น ในเขตชนบท กลา่ วคอื ในชมุ ชนหนาแนน่ จะมี ปริมาณขยะมูลฝอยเกิดข้นึ ประมาณ ๒-๔ ลิตร/ คน / วัน สาหรบั ในชมุ ชนที่ไมห่ นาแนน่ จะมีปรมิ าณขยะ

46 มูลฝอยประมาณ ๑-๒ ลติ ร / คน / วัน อย่างไรก็ตามปรมิ าณขยะมลู ฝอยทเ่ี กิดข้ึนในชมุ ชนนน้ั มไี ม่แนน่ อน ขน้ึ อยู่กับปัจจัยตา่ ง ๆมากมาย เชน่ นสิ ยั ของประชาชนในชุมชน ฤดกู าลสภาวะทางเศรษฐกิจของชมุ ชน และลกั ษณะท่ีต้งั ของชมุ ชน เปน็ ต้น ปัญหาขยะมูลฝอย ท่จี ะก่อให้เกดิ ผลกระทบตอ่ ประชาชนในชุมชนมลี กั ษณะตา่ งกนั คือ ๑) เปน็ แหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงและสตั ว์นาโรค เชน่ แมลงวนั และหนู เปน็ ต้น ๒) เปน็ แหลง่ เพาะเชอ้ื โรค เช่น จลุ นิ ทรียช์ นดิ ต่างๆ ทั้งทที่ าให้เกิดโรคและไม่ทาให้เกดิ โรคในคนได้ ๓) เปน็ ราคาญเนื่องจากกลน่ิ เหมน็ หรือการฟงุ้ กระจายของขยะมูลฝอย ๔) ทาให้ชุมชนสกปรกเลอะเทอะไม่น่าดแู ละเปน็ ท่นี า่ รงั เกียจ ๕) เป็นสาเหตสุ าคญั ทาให้เกิดมลพษิ ทางสงิ่ แวดลอ้ มทงั้ ทางน้า ดนิ และอากาศ ๖) เป็นแหล่งอาหารและท่ีอยู่อาศัยของแมลงและสัตว์นาโรค เชน่ แมลงวัน แมลงสาบ มด และ หนู เป็นตน้ ๒.๖ จราจรในเขตเมือง การจราจร เปน็ การสัญจรไปมาของบุคคลจากสถานทีห่ นง่ึ ไปยังสถานท่ีอีกแหง่ หนึ่ง การจราจรใน เขตชุมชนเมืองสว่ นใหญ่มีการใชพ้ าหนะชว่ ยกนั มากท้ังในการคมนาคมและการขนสง่ โดยการจราจรแต่ละ ประเภทก็จะมีเสน้ ทางในการสญั จรไปมา เชน่ ถ้าเปน็ การจราจรทางบก กจ็ ะมีถนน ซอย และตรอกเปน็ เส้นทางการจราจรของยานพาหนะรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรอื จักรยาน ถา้ เปน็ รถไฟก็จะมีรางรถไฟเป็น เสน้ ทางการจราจร แต่ถา้ เป็น การจราจรทางนา้ ก็จะอาศยั ลาน้าเป็นเสน้ ทางการสญั จรโดยใช้พาหนะ ประเภทเรอื พาย เรือยนต์ หรอื แพ เปน็ ตน้ และถา้ เป็น การจราจรทางอากาศ กจ็ ะมีการใชเ้ ครือ่ งบิน ประเภทตา่ ง ๆ เพ่ือการสัญจรไปมาทางอากาศโดยมสี ายการบินระหว่างเมอื งสาคญั ๆ ภายในประเทศหรือ ระหวา่ งประเทศ ปญั หาการจราจรท่ีจะเกดิ ผลกระทบกระเทอื นในระบบส่ิงแวดลอ้ มน้นั สว่ นใหญ่จะเกิดขึ้นในเขต เมืองมากกว่าเขตชนบท และเกิดจากยานพาหนะประเภทเครอื่ งบิน รถยนต์ รถจักรยานยนต์ รถไฟ และ เรอื ยนตม์ ากกวา่ ที่จะเกิดจากการใช้จักรยานและการเดินด้วยเทา้ ยานพาหนะประเภทเครอ่ื งยนตด์ งั กลา่ ว นน้ี อกจากจะก่อให้เกิดปัญหาความราคาญและเกิดมลพิษทางเสียงและความสนั่ สะเทือนแล้วยังเป็นสาเหตุ ของการเกิดมลพิษทางอากาศในชมุ ชนดว้ ย โดยปญั หาส่วนใหญจ่ ะเกิดจากการจราจรทางบกท่ีมีการใชร้ ถ ใช้ถนนกนั มากในการสญั จรไปมา โดยเฉพาะอย่างย่ิงชมุ ชนเมอื งทีม่ ีประชากรหนาแนน่ นั้นในชว่ั โมงรีบเรง่ ที่ แต่ละคนต้องออกจากบ้านไปทาธรุ กิจต่าง ๆ ในชุมชนในตอนเชา้ ชั่วโมงรีบเรง่ ทแี่ ตล่ ะคนต้องกลับบา้ นภาย หลังจากทาธุรกิจประจาวนั เสรจ็ แลว้ ๓. การแกป้ ญั หาสิ่งแวดล้อมในเมือง การจัดการส่ิงแวดล้อมในเขตเมอื งมีส่งิ ท่จี ะต้องดาเนินการหลายเรอ่ื งตามปัญหาของสภาวะ สง่ิ แวดล้อมที่เกิดขนึ้ การจดั การส่ิงแวดล้อมนี้จะตอ้ งจดั ดาเนินการอยา่ งมรี ะบบ ระเบยี บและขนั้ ตอนโดย อาศยั หลักวิชาการทีเ่ หมาะสมและแผนการจดั การที่กาหนดไว้ ในการควบคุมและแก้ไขปัญหาแตล่ ะอย่าง เพอื่ ขจดั ผลเสยี ที่จะเกิดกับระบบสิ่งแวดล้อมของชมุ ชนและป้องกันการเปน็ พษิ ต่อมนุษย์ สัตว์พชื และสิ่ง ต่าง ๆ ในระบบ จะได้กล่าวรายละเอียดของแตล่ ะปัญหาต่อไป ๓.๑ การควบคมุ และแกไ้ ขปัญหาอากาศในเขตเมือง ๓.๑.๑ สภาพอากาศในเขตเมือง

47 ออกซิเจน เป็นกา๊ ซท่ีสาคัญที่สดุ ทีม่ นษุ ย์ใชห้ ายใจเพื่อดารงชวี ิต ถา้ อากาศท่เี ราหายใจเข้าไปมี ส่วนประกอบของออกซิเจนน้อยลงและมกี ๊าซหรือสง่ิ สกปรกอ่ืนปะปนอยสู่ ูง อากาศไมเ่ หมาะทจ่ี ะใชส้ าหรบั หายใจของสงิ่ มชี ีวิต เช่น ทาให้หายใจลาบากหรือเปน็ พิษภัยตอ่ การดารงชีวติ ความรนุ แรงของพษิ ภยั นี้ ขน้ึ อย่กู ับชนดิ และปรมิ าณของส่ิงปนเป้ือนหรือสารทที่ าให้อากาศสกปรก การเกิดอากาศสกปรกและเป็น พษิ ภยั ตอ่ การดารงชวี ิตของมนษุ ย์ สัตว์ พืช และมีผลกระทบกระเทือนต่อสิ่งตา่ ง ๆ ในสภาพแวดลอ้ มนน้ั ๆ เราเรียกว่า มลพิษทางอากาศ มลพิษทางอากาศน้เี กดิ ข้นึ ได้ทง้ั ท่เี กิดเองโดยธรรมชาตแิ ละเกิดจากการ กระทาของมนษุ ย์ แตป่ ัญหาส่วนใหญเ่ กิดจากการกระทาของมนษุ ย์ สาหรับแหล่งกาเนดิ ของมลพษิ ทาง อากาศน้ันมี ๒ แหลง่ คือ แหลง่ กาเนิดประเภทเคล่ือนท่ีไม่ได้ เช่น การเผาไหม้ขยะ การเผาไหมเ้ ชือ้ เพลงิ ในโรงงาน อตุ สาหกรรม การเผาไหม้น้ามันเตา ถ่านหนิ และลิกไนต์ การทาสี พน่ สี ทาแลกเกอร์ พ่นวตั ถุมพี ิษ การโม่ หนิ ถลุงแร่ การสีข้าว และการทาปนู ซีเมนต์ สง่ิ เหล่านลี้ ว้ นแตเ่ ปน็ สาเหตสุ าคญั ทาให้เกิดมลพษิ ทางอากาศ ได้ท้งั ส้นิ แหลง่ กาเนิดประเภทเคลื่อนที่ได้ เชน่ ยานพาหนะท่ใี ชเ้ ครื่องยนต์ การขนถ่ายขยะมลู ฝอย การ คมนาคมและการขนส่ง เปน็ ต้น ความสกปรกของอากาศท่ีเกิดข้นึ น้ีอาจมีพษิ ภัยและเป็นอนั ตรายตอ่ การดารงชีวิตของมนุษย์ สัตว์ พชื และ มผี ลกระทบกระเทือนตอ่ ทรัพย์สนิ ได้ จึงควรไดร้ บั การควบคมุ แก้ไขเพ่ือใหอ้ ากาศที่มีอยใู่ นสภาพท่ี เหมาะสม ปลอดภัยต่อการดารงชวี ิตของสิ่งท่ีมีชีวิตไมท่ าใหเ้ กิดปญั หาภายในระบบสง่ิ แวดลอ้ มของชมุ ชน และดารงไว้ซึง่ คุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติ ๓.๑.๒ การควบคุมและแก้ปัญหาอากาศในเขตเมอื ง ๑ ควบคมุ การใชย้ านพาหนะในการคมนาคมและการขนส่ง โดยพจิ ารณาถงึ ชนดิ ปริมาณคุณภาพ และสภาพของยานพาหนะทน่ี ามาใช้ จะต้องไม่เป็นเหตใุ หเ้ กดิ ปัญหาสงิ่ แวดล้อมที่เป็นพิษ กล่าวคือ เคร่ืองยนต์ท่ีใชจ้ ะต้องอยู่ในสภาพที่ดีไมป่ ล่อยก๊าซพิษ ควันดา ละอองไอ หรือสารพษิ ออกมา มากกวา่ ขอ้ กาหนดทางกฎหมายทีท่ างราชการได้พิกดั เอาไว้ จานวนยานพาหนะที่ใช้สญั จรไปมาในชมุ ชน ควรมีพอเหมาะถนนในเมืองควรทาด้วนคอนกรตี เสรมิ เหล็กหรอื ลาดยางทีด่ ีพอท่ีจะไม่ก่อปญั หาการฟุ้ง กระจายของฝุ่นเมื่อมีการใชร้ ถใช้ถนน และควรจดั ใหม้ ีมากพอ การจราจรในเขตเมอื งจะตอ้ งจัดการให้เกิด ความคล่องตัว ไมต่ ิดขัด เปน็ ตน้ สงิ่ เหล่านจ้ี ะชว่ ยลดปญั หามลพิษทางอากาศในเขตเมืองได้มาก ๒ การวางผงั เมอื งและกาหนดเขตการใชท้ ่ีดนิ ชมุ ชนในเขตเมอื งควรได้รับการวางผงั เมอื งท่ดี แี ละมีการกาหนดเขตการใชท้ ่ีดินให้เหมาะสมจะช่วยให้เกิดความเปน็ ระบบ ระเบียบงา่ ยต่อการ ควบคมุ หรือแก้ไขปัญหาของชมุ ชน การวางผงั การใช้ท่ดี ินสาหรับสาธารณประโยชน์ เชน่ การทาถนน วาง ทอ่ ประปา วางสายโทรศัพท์ และการวางทอ่ ในระบบการรวบรวมและกาจัดโสโครกของชมุ ชนนบั ว่าสาคญั และควรได้กาหนดให้ชัดเจนในผังเมือง สงิ่ เหลา่ นี้ถ้ามกี ารวางแผนและไดด้ าเนินงานตามแผนทด่ี แี ลว้ ปัญหาการจราจรซ่ึงเปน็ สาเหตขุ องมลพษิ ทางอากาศท่ีสาคัญในชมุ ชนกจ็ ะไม่เกดิ ข้นึ หรือถา้ เกหิดมีขน้ึ การ แก้ไขก็คงไม่ยากนัก นอกจากนี้การกาหนดเขตของการใช้ท่ีดนิ เปน็ ย่นต่าง ๆ เช่น ย่านพักอาศัย ยา่ นพาณิช ยกรรม ยา่ นอตุ สาหกรรม และย่านธุรกิจ แตล่ ะย่านแยกจากกันโดยชดั เจนจะทาใหส้ ะดวกตอ่ การแก้ไข ปัญหาและงา่ ยต่อการดาเนนิ ควบคมุ สงิ่ แวดล้อมให้อยใู่ นมาตรฐานของแตล่ ะย่านด้วย ๓ กาหนดใหม้ ีการใช้เครือ่ งมือและอปุ กรณ์ควบคุมและกาจัดสารมลพิษทางอากาศตาม