จริยธรรมมีลักษณะ 4 ประการ คือ

รองศาสตราจารย์ สุพัตรา สุภาพ ได้กล่าวถึงค่านิยมสังคมเมืองและค่านิยมสังคมชนบทของสังคมไทยไว้ค่อนข้างชัดเจน โดยแบ่งค่านิยมออกเป็นค่านิยมของคนในสังคมเมืองและสังคมชนบทซึ่งลักษณะค่านิยมทั้งสองลักษณะ จัดได้ว่าเป็นลักษณะของค่านิยมที่ทำให้เกิดมีอิทธิพลต่อค่านิยมที่มีต่อพฤติกรรมของบุคคล ซึ่งสามารถแสดงให้เห็นชัดเจนในตาราง

สรุปได้ว่า  การพัฒนาจริยธรรมด้วยวิธีพัฒนาตนเองตามขั้นตอนดังกล่าว  เป็นธรรมภาระที่บุคคลสามารถปฏิบัติได้ควบคู่กับการดำเนินชีวิตประจำวัน  แต่มิใช่เป็นการกระทำในลักษณะเสร็จสิ้น  ต้องกระทำอย่างต่อเนื่องจนเป็นนิสัย  เพราะจิตใจของมนุษย์เปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา  เฉกเช่น   กระแสสังคมที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

ลักษณะของจริยธรรมมีอะไรบ้าง

จริยธรรม (Ethics) “จริยธรรม” = จริย + ธรรมะ คือความประพฤติที่เป็นธรรมชาติ เกิดจากคุณธรรมในตัวเอง ก่อให้เกิดความ สงบเรียบร้อยในสังคม รวมสรุปว่าคือ ข้อควรประพฤติปฏิบัติ.
ความมีเหตุผล ... .
ความซื่อสัตย์สุจริต ... .
ความอุตสาหะ ... .
ความเมตตากรุณา ... .
ความเสียสละ ... .
ความสามัคคี ... .
ความรับผิดชอบ ... .
ความกตัญญูกตเวที.

ลักษณะของจริยธรรมมีกี่ประการ

จริยธรรมแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1) จริยธรรมภายนอก เป็นจริยธรรมที่บุคคลแสดงออกทางพฤติกรรมภายนอกที่ปรากฏให้เป็นที่สังเกตเห็นได้อย่างชัดเจน เช่น ความรับผิดชอบ ความเป็นระเบียบเรียบร้อยความมีวินัย การตรงต่อเวลาเป็นต้น

ผู้มีจริยธรรมสูงจะมีลักษณะอย่างไร

๑) ผู้ที่มีคุณธรรมและมีจริยธรรม หมายถึง ผู้ที่มีสติปัญญาดี มีจิตใจบริสุทธิ์ มีความเมตตา กรุณา คือ มีความรัก มีความสงสาร ปรารถนาให้ผู้อื่นเป็นสุข มีหิริโอตตัปปะ มีความละอายต่อบาป มีความเกรงกลัวต่อบาป มีขันติโสรัจจะ มีความอดทน มีความสงบเสงี่ยม ไม่คิดชั่ว ไม่พูดชั่ว ไม่ใช้กาย วาจา ไปท าให้ผู้อื่นเดือดร้อน เพราะกลัวว่าจะ ...

จริยธรรมมีที่มาจากอะไร

จริยธรรมเกิดขึ้นเพราะได้มีการใช้มโนธรรมของบุคคล ประเมินคุณค่าของสิ่งใดๆ เพื่อหาเหตุผลในการแยกแยะถึงความถูก-ผิด ความควร-ไม่ควร แล้วตัดสินใจเลือกแสดง พฤติกรรมนั้นออกมาภายนอก เพื่อบ่งบอกว่าเป็นพฤติกรรมดีของหมู่คณะนั้น ซึ่งมีองค์ประกอบ ทั้งภายในและภายนอกเป็นส่วนเกื้อหนุนให้เกิดจริยธรรมขึ้นในบุคคล