แตงไทยวิ่งด้วยความเร็ว 10 เมตร/วินาที ไปทางทิศเหนืออีก 3 วินาที ต่อมาวัดความเร็วได้ 6 เมตร/

วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ก า ย ภ า พ
ว30102

สรุปเนื้อหาวิทยาศาสตร์
พื้นฐาน

จั ด ทำ โ ด ย นั ก เ รี ย น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 6 / 1

เสนอ คุณครู กุลฤดี คงสุขประเสริฐ

โ ร ง เ รี ย น เ ท พ ศิ ริ น ท ร์ น น ท บุ รี ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

คำ นำ

สื่ อ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ชิ้ น นี้ จั ด ทำ ขึ้ น เ พื่ อ เ ป็ น ส่ ว น ห นึ่ ง ใ น วิ ช า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์
ก า ย ภ า พ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 6 ซึ่ ง ผู้ จั ด ทำ ไ ด้ ทำ ขึ้ น เ พื่ อ ก า ร ศึ ก ษ า ใ น หั ว ข้ อ ที่ ไ ด้ รั บ
ม อ บ ห ม า ย ม า ไ ด้ อ ย่ า ง เ ข้ า ใ จ แ ล ะ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น ก า ร นำ ไ ป ใ ช้ ทั้ ง ด้ า น ชี วิ ต ป ร ะ จำ
วั น แ ล ะ ก า ร นำ ไ ป ศึ ก ษ า ต่ อ ใ น ภ า ย ภ า ค ห น้ า

ทั้ ง นี้ ผู้ จั ด ทำ ไ ด้ มี ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ ข้ อ มู ล ม า จ า ก ห ล า ก ห ล า ย แ ห ล่ ง ทั้ ง จ า ก
ห นั ง สื อ อิ น เ ต อ ร์ เ น็ ต แ ล ะ จ า ก ผู้ เ ชี่ ย ว ช า ญ โ ด ย ต ร ง ข อ ข อ บ คุ ณ ค รู อ า จ า ร ย์ แ ล ะ
เ ชี่ ย ว ช า ญ เ ป็ น อ ย่ า ง สู ง ที่ ท่ า น ไ ด้ ใ ห้ คำ แ น ะ นำ เ พื่ อ แ ก้ ไ ข แ ล ะ ข้ อ เ ส น อ แ น ะ ผู้ จั ด ทำ
ห วั ง ว่ า สื่ อ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ชิ้ น นี้ จ ะ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ผู้ ที่ นำ ไ ป ใ ช้ ใ ห้ เ กิ ด ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์
ต า ม ค ว า ม ค า ด ห วั ง

นั ก เ รี ย น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 6 / 1

สารบัญ หน้า
2
เรื่อง 3
คำนำ 4
สารบัญ 4
หน่วยที่ 1 การเคลื่อนที่ 10
16
1.1การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง 20
1.2การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ 26
1.3การเคลื่อนที่แบบวงกลม 26
1.4การเคลื่อนที่แบบฮา์มอนิกอย่างง่าย 32
หน่วยที่ 2 สนามของแรง 36
2.1สนามไฟฟ้า 39
2.2สนามแม่เหล็ก 39
2.3สนามโน้มถ่วง 40
หน่วยที่ 3 คลื่น 42
3.1คลื่นกล 48
3.2องค์ประกอบของคลื่น 54
3.3สมบัติของคลื่น 60
3.4เสียงและการได้ยิน 60
3.5คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 67
หน่วยที่ 4 กัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์ 68
4.1กัมมันตภาพรังสี
4.2รังสีกับมนุษย์
4.3พลังงานนิวเคลียร์ และการนำไปใช้ประโยชน์

การเคลื่อนที่แนวตรง นิยามการเคลื่่อนที่

1 การคำนวณ 2 การเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง 3 กราฟความสัมพันธ์ต่างๆ

ระยะทาง => สเกลาร์ S กับ t ความเร็วคงที่ ความเร่ง = 0

- ทิศความเร็วต้น u เป็น + ระยะการกระจัด => เวกเตอร์ v กับ t ความเร็วเพิ่ม , a +

- ปริมาณที่มีทิศเดียวกับ u เครื่องหมาย ความเร่ง => จาก a=g = 9.8 m/s^2 or..

=> + ตรงข้าม => - 10 m/s^2 (ทิศดิ่งลง always)

4 การคำนวณเวกเตอร์ (ขนาด , 5 การคำนวณเวคเตอร์ a กับ t ความเร็วลด , a -
ทิศทาง)
ในกรณีที่.. https://tuenongfree.xyz/การเคลื่อนที่แนวตรง/
- กำหนดจุดอ้างอิง - เส้นขนานกัน ใช้ +,- บวกกันโดยคิด
- หางต่อหัวไปเรื่อยๆ เครื่องหมาย
- เวกเตอร์ลัพธ์ (ต้นไปท้าย) - ตั้งฉากกัน USE สูตรพีทาโกรัส
- มีเวคเตอร์เฉ แตกเวกเตอร์ก่อน
ค่อยคำนวณตาม ก. ข.

6 การเคลื่อนที่ในแนวตรง 7 การแตกเวกเตอร์

-ความเร็วเฉลี่ย => ด้านใกล้ เซต้า จะได้ P= Rcosเซต้า
ระยะกระจัดทั้งหมด ด้านไกล เซต้า จะได้ Q=Rsinเซต้า
ต่อเวลาทั้งหมด

https://rectilinearmotion.wordpress.com/อัตราเร็วและความเร็ว/

-ความเร็ว ณ จุดๆใดหรือ ณ เวลาใด ความเร็วต้น (u) ความเร็วท้าย
(V)

v= u_+__v

2

-ปริมาณการเคลื่อนที่ https://sites.google
=> ความเร็วต้น (u) .com/a/samakkhi.ac.t
ความเร็วท้าย (v) ช่วง h/fisiks-m-tn/kar-
เวลา (t)
kheluxnthi-naew-
trng

ข้อสอบ

เด็กคนหนึ่งออกกำลังกายด้วยการวิ่งด้วยอัตราเร็ว 6 m/s เป็นเวลา 1 min แล้ววิ่งด้วยอัตราเร็ว 5 m/s

อีก 1 min จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา 3 min นี้

ก.3 m/s ข. 3.5 m/s ค.4 m/s ง.4.5 m/s

solution..

นายกองปราบ สุทธิรัตนโศภพ ม.6/1 เลขที่ 1

การเคลื่อนที่แนวตรง การเคลื่อนที่เชิงเส้นด้วยความเร็วคงที่

หากสังเกตการเคลื่อนที่ของวัตถุต่างๆ
พบว่า ส่วนมาก!! ในขณะวัตถุเคลื่อนที่นั้น
ตำแหน่งจะเปลี่ยนไปพร้อมกับหมุน ดังภาพ
ถ้าเราสนใจเฉพาะกรณีวัตถุขนาดเล็กและไม่
สนใจการหมุนขณะเคลื่อนที่ เราเรียกการ
เคลื่อนที่ลักษณะนี้ว่า “การเคลื่อนที่เชิงเส้น”

www.scimath.org/lesson-physics/item/8781-2018-09-20-06-43-41

=> ถ้าวัตถุเคลื่อนที่เชิงเส้นด้วยความเร็วคงที่
อัตราเร็วหรือขนาดความเร็วของวัตถุที่ตำแหน่ง
ต่างๆ จะเท่ากันหมดและทิศทางเหมือนเดิมเสมอ เส้น
ทางการเคลื่อนที่จะเป็นเส้นตรง สมการการเคลื่อนที่
เป็นไปตามสมการ S = vt

sites.google.com/site/pungpond09082539/2-sutr-
kar-kheluxnthi-naew-trng

เมื่อ.. ex. เครื่องบินที่บนในระดับเพดานบินคงที่ด้วยความเร็วคงที่

=>S = การกระจัดในหน่วยเมตร
=>v = ความเร็วในหน่วยเมตรต่อวินาที
=>t = เวลาที่ผ่านไปในหน่วยวินาที

www.stickpng.com/img/transport/planes/flying-plane

ข้อสอบ

รถคันหนึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ 10 m/s กำลังจะชนกับกำแพง ซึ่งห่างออกไป 40 เมตร คนขับใช้
เวลา 1 วินาทีในการตัดสินใจเหยียบเบรก จงหาว่าเบรกจะต้องมีความหน่วงเท่าใดจึงจะหยุดรถได้พอดี

solution..

นายกองปราบ สุทธิรัตนโศภพ ม.6/1 เลขที่ 1

การเคลื่อนที่เชิงเส้นด้วยความเร็วไม่คงที่

ความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัด S ความเร็ว ณ วินาทีที่เริ่มพิจารณาหรือ
ตำแหน่งที่เริ่มพิจารณา ซึ่งนิยมเรียกว่า “ความเร็วต้น” u ความเร็ว ณ วินาที
สุดท้ายที่พิจารณาหรือตำแหน่งสุดท้ายที่พิจารณา ซึ่งนิยมเรียกว่า “ความเร็วปลาย” v
ความเร่งคงที่ a และเวลาที่ผ่านไป t เป็นตามความสัมพันธ์ดังสมการต่อไปนี้

ในการแทนค่าต้องระมัดระวังว่า v , u , a , S เป็นเวกเตอร์ซึ่งมีทั้งขนาดและ
ทิศทาง แต่เมื่อใช้กับการเคลื่อนที่ในแนวตรง จึงใช้เครื่องหมาย (+) และ (-)
แทนทิศทางได้

โจทย์
แตงไทยวิ่งด้วยความเร็ว 10 เมตร/วินาที ไปทางทิศเหนืออีก 3 วินาที ต่อมาวัดความเร็วได้
6 เมตร/วินาที ในทิศทางเดิม จงหาความเร่งของแตงไทยในขณะลดความเร็วลง

นายทยากร จีนโน ม.6/1 เลขที่ 2

การเคลื่อนที่ของวัตถุภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลก

กาลิเลโอ ได้ทำการทดลองให้เห็นว่า วัตถุที่ตกลงสู่พื้นโลกอย่างอิสระจะเคลื่อนที่ภายใต้แรงดึงดูดของโลก ต่อ
มานิวตันสังเกตเห็นว่า ทำไมผลแอปเปิ้ลจึงตกลงสู่พื้นดิน จนกระทั่งในที่สุดก็สามารถพิสูจน์ในเรื่อง กฎแห่งการดึงดูด
ระหว่างมวล ซึ่งผลแอปเปิ้ลกับโลกก็มีแรงดึงดูดระหว่างกัน โดยผลแอปเปิ้ลเมื่อหลุดจากขั้วจะเคลื่อนที่อิสระตาม
แรงดึงดูดนั้น

การเคลื่อนที่ของวัตถุภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลก หากสังเกตจะพบว่าวัตถุไม่ว่าจะมีมวลเท่าใด (ซึ่งหาก
มากพอแรงต้านของอากาศจะไม่มีผลกระทบมากนัก) จะตกลงสู่พื้นด้วยคงวามเร่งสม่ำเสมอ นั่นคือ ความเร่งมีค่า
คงตัวและมีทิศลงในแนวดิ่งเสมอ ซึ่งการตกของวัตถุภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลก คือ การตกอย่างเสรี (free fall) โดย
การเคลื่อนที่ของวัตถุจะมีความเร่งคงที่เท่ากับความเร่งเนื่องจาก แรงโน้มถ่วงของโลก ซึ่งความเร่งนี้เป็นผลจาก
แรงดึงดูดของโลกเนื่องจากสนามโน้มถ่วง (gravity) ค่าความเร่งเนื่องจากแรงดึงดูดของโลก ( g ) ค่ามาตรฐานคือ
9.8065 m/s2 เพื่อความสะดวกในการคำนวณจะใช้ 10 m/s2

https://www.scimath.org/images/2018/lesson/2561-Period1/8781/8781-15.jpg
(ก) การโยนวัตถุขึ้นไป (ข) การปล่อย หรือขว้างวัตถุลงมา

สมการการเคลื่อนที่ของวัตถุภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลก

โจทย์

มะเฟืองยืนอยู่บนตึกสูง 500 m ปล่อยลูกบอลลงมาจากตึก อยากทราบว่าลูกบอลจะตกถึงพื้นเมื่อเวลาผ่านไปเท่าใด
และขณะที่ลูกบอลกำลังจะถึงพื้น ความเร็วของลูกบอลเป็นเท่าใด

นายทยากร จีนโน ม.6/1 เลขที่ 2

ก า ร เ ค ลื่ อ น ที่ แ น ว ต ร ง

เครื่องเคาะสัญญานเวลา
(Ticker-Timer)

หลักการทำงาน

มีขดลวดพันรอบแกนเหล็กอ่อน เมื่อขดลวดได้รับความ
ต่าง ศักย์ไฟฟ้ากระแสสลับ จะทําให้แกนเหล็กอ่อนมีอํานาจแม่
เหล็กเป็นจังหวะ ซึ่งจะดูดคันเคาะให้กดบนกระดาษ คาร์บอน
เเปคปกลรืีต่่อยิไงนฟเแฟค้ปาาะลกสงัรญะด้แวญสยสาคณลวับาทีมท่ีเ่คถใีช่า้5กะั0บ5เ0เคฮิครรื่อรตั้งงซ์เใคนทําา1ะใจหว้ิะเนมรีาาสทัสีญไาดม้ญาารณถสไฟร้าฟง้า

เครื่องเคาะสัญญาณเวลา (ipst.ac.th)

ส่วนประกอบของ
เครื่องเคาะสัญญาน

21..ฐแากนนขยอึดงขเคดรลื่อวงดเทคี่พาัะนสัรญอญบแากณนเหล็กอ่อน
3. นอตยึดคันเคาะ
4. คันเคาะ
5. ที่สอดแถบกระดาษ
6. ปุ่มเคาะติดอยู่ปลายคันเคาะ
7.
8. กช่รอะงดเาสีษยคบาไรฟ์บฟ้อานกพระร้แอสมสหลมัุบด4ยึด-6 โวลต์

เครื่องเคาะสัญญาณเวลา (ipst.ac.th)

อุปกรณ์ชิ้นนี้ใช้ประกอบกับการทดลอง วิธีใช้
ได้ในหลายๆเรื่อง ได้แก่
15.0ใชจุ้กดับต่ไอฟวฟิน้าากทีรโะดแยสตส่อลัไบฟ4ฟ้-า6กรโวะแลตส์สจํลาับนวจนาจกุดหทมี้่เอคแาปะ
1. การเคลื่อนที่แนวตรง เพื่อวัดความเร็ว ความเร่ง ลงโวลต์ต่ํา
32แ..ลกกะฎาหรกาเคาปรวลีเา่ยคมนลเื่รอรู่งปนโขทนี้่อขม้งอถ่งทวี่าง2นขเขอป็องนงโพลนิลกวังตังนานจลน์และกฎ 2. เมื่อต่อตามข้อ 1 แล้ว ปกติเครื่องเคาะสัญญาณ
4กา.รกอฎนกุราักรษอ์นพุรลัักงษง์โามนเกมลนตัมใน 1 มิติ 3จะ.ทถํ้าางเคานรื่ทอันงเทคี าะสัญญาณเวลาไม่ทํางานให้ตรวจสิ่ง
ต่อไปนี้
โจทย์
3.1 สายไฟที่เสียบเข้าหรือที่เสียบที่หม้อแปลงแน่น
จากการทดลองดึงแถบกระดาษผ่านเครื่องเคาะ หรื3อ.ไ2ม่ถ้าแน่นแต่เครื่องมือไม่ยังทํางาน ให้ปรับสิ่งต่อ
ผจสังญลหกญาาคราวทณาดมเสวเลอร็วาบทเีเฉ่ปม็ีลนีค่ยแวขาถอมบงถี่Aแ5ถแ0บลรAะอBบแดตลั่งะอรBวูิปนาที 2 ครั้ง ได้ ไปนี้ ปรับระดับของคันเคาะขึ้นหรือลง โดยใช้ไขควงดัด
คันเคาะให้โค้งขึ้นหรือกดลงเล็กน้อย (แล้วแต่กรณี )
เ4ค.รืห่อมงุดเคยึาดะทจี่บะัทงําคงับานแผ่นกระดาษคาร์บอนโดยปกติต้อง
ไม่แน่นเกินไป เมื่อดึงแถบกระดาษผ่าน กระดาษ
คาร์บอน กระดาษคาร์บอนจะต้องหมุนไปด้วยจึงจะ
ใช้ได้

โจทย์ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (startdee.com) นายรัฐศิลป์ ภวันตพงศ์ ม.6/1 เลขที่ 3

ก า ร เ ค ลื่ อ น ที่ แ น ว ต ร ง

ความเร็วสัมพัทธ์
(Relative Velocity)

หลักในการคิด ความหมาย

1.ให้กลับทิศความเร็วของผู้สังเกตรวมกับ ยหมกตาัยวถอึงย่าคงวเาช่มนเรร็วถทีย่เนทีตย์วบิ่งกัดน้วรยะคหวว่าามงคเรว็วาม6เ0ร็วkขmอง/hวัตหถมุ า2ยสคิ่งวาม
ความเร็วของวัตถุ มว่ีาคคววามามเรเ็รว็ว6ที0่รkถmวิ่ง/อhยrู่ในขณะนั้นเทียบกับวัตถุที่อยู่นิ่ง ทำให้รถ
2.วิ่งสวนกัน ความเร็วสัมพัทธ์จะมาก
ถ้าวิ่งตามกัน ความเร็วสัมพัทธ์จะน้อย

โจทย์ อธิบายได้ดังต่อไปนี้

ทลลิำงฟอไตัด์ต้สเรทา่ามาเกราั็รวบถสูบเงควสุกลืด่ลอไบดน้เท1ีท่่ด.้า2วกัยmบค/4วsา.8กมำเmลร่ังง/sใสนอถท้งิาศแขึล้นะ/ 1.ความเร็วที่มีทิศเดียวกัน
ต4้อ8งเกมาตรรขจนงขหอางชจ่วางกเชวั้นลลา่ทาี่งสั้ขนึ้นที่ไสปุดชัใ้นนบกนารที่ขสูนง VA = 10 m/s
ด้วยลิฟต์นี้
VB = 5 m/s
vหาเว=ลาuที่ล+ิฟaตt์เคลื่อนที่
4.8 = 0 + (1.2) (t) ความเร็วของ A ที่ปรากฏต่อ B คือ V สัมพัทธ์ คือ 5 m/s
t = 4s 2.ความเร็วที่มีทิศสวนทางกัน
พs ท.=ใต้1ก/ร2าฟ(4v+-4t +=ts+t) (4.8)
48 = (1/2) (8 + 2t) (4.8) VA = 10 m/s
(2) (48/4.8) = 8 + 2t
t = 6s # VB = 5 m/s

ความเร็วของ A ที่ปรากฏต่อ B คือ V สัมพัทธ์ คือ 15 m/s

3.ความเร็วที่มีทิศตั้งฉากกัน V B = 5 m/s

VA = 10 m/s VA
VB = 5 m/s = 10 m/s

ความเร็วของ A ที่ปรากฏต่อ B คือ 10 2 + 5 2
V สัมพัทธ์ คือ

นายรัฐศิลป์ ภวันตพงศ์ ม.6/1 เลขที่ 3

การเคล่ือนทีแ่ บบโพรเจกไทล์
การวเิ คราะห์การเคล่อื นทใ่ี นแนวราบ

พิจารณาการเคลอ่ื นท่ีของวตั ถใุ นอากาศ ขณะทวี่ ตั ถลุ อยในอากาศ มแี รงกระทาต่อวตั ถุ
เพียงแรงเดียว คือ แรงดึงดูดของโลก (ไมค่ ิดแรงต้านอากาศ) ในทศิ เข้าสู่ศนู ย์กลางของ
โลก หรือในแนวดง่ิ ดังน้ัน ในแนวระดับจงึ ไม่มแี รงกระทาตอ่ วัตถุ หรือแรงลพั ธท์ ่ี
กระทาต่อวตั ถุในแนวระดับเปน็ ศนู ย์

จากกฎการเคลอื่ นทขี่ องนวิ ตนั เราพบวา่ เม่ือไมม่ ีแรงลพั ธม์ ากระทาต่อวัตถุ
วัตถจุ ะรักษาสภาพการเคล่ือนทใ่ี หค้ งที่ ผลคือ วัตถเุ คลอ่ื นทด่ี ้วยความเรว็ คงที่ ()

ดังนน้ั การเคล่ือนท่ใี นแนว ภาพการเคล่ือนท่ีในแนวระดบั (แกน x)
ระดับของการเคลือ่ นทแี่ บบโป
รเจกไทล์ สามารถหาการกระจดั
ในแนวระดบั ได้ตามสมการ

เม่ือ Sx = การกระจดั ในแนวระดบั ( m ) https://sites.google.com/site/supod45/sc30113/12557/room12/kar-kheluxnthi-baeb-pho-r-cek-thil-6
ux = ความเร็วในแนวระดบั (m/s)
t = ชว่ งเวลาของการเคลือ่ นที (s)

Vx = Sx / t

tx = ty

โจทย์

1.ก้อนหนิ ถูกขว้างออกจากหนา้ ผาในแนวระดับด้วยความเรว็ ต้น 10 เมตรตอ่ วนิ าที ตกถึงพืน้
ในเวลา 8 วินาที ก้อนหนิ ตกห่างจากจุดขวา้ งในแนวระดับเท่าใด

sy = แพง Ux = 10M / s 1- = 8sec
t= เs
Sx = ?

St = µµ ตร
Sx = 1101181

St = 8m

Yเ sx ตอบ 80 เมตร

นายณัฐพล มพี จนเ์ พราะ ช้ัน ม.6/1 เลขท่ี 4

วูสำทีธิ

การเคลือ่ นที่แบบโพรเจกไทล์
การวเิ คราะหก์ ารเคลื่อนท่ใี นแนวดิ่ง
เม่อื วัตถุเคลอ่ื นที่ในแนวโคง้ ภายใตแ้ รงดงึ ดูดของโลก จะมแี รงดึงดดู ของโลก กระทากบั วตั ถุ

ในแนวด่งิ มคี วามเร่งในแนวด่ิงเท่ากับความเร่งอนั เนอ่ื งมาจากแรง ดงึ ดูดของโลก ay = -g

ดังนั้น การเคลื่อนท่ขี องวตั ถุแบบโปรเจกไทลใ์ นแนวดง่ิ เหมือนวัตถุทีต่ กอยา่ งอสิ ระ

ทกุ ประการ ซ่ึงสมการการเคล่อื นท่ีของวัตถุในแนวดงิ่ คอื

s = uyt+ (1/2)gt2 uy คือ ความต้รปลายในแนวดง่ิ หนว่ ยเปน็ เมตรต่อวนิ าที (m/s)
vy=uy+gt vy คอื ความเร็วปลายในแนวดง่ิ หนว่ ยเป็นเมตรตอ่ วนิ าที (m/s)
sy คือ การกระจดั ในแนวดง่ิ หน่วยเป็น เมตร (m)
vy2 = uy2 + 2gsy g คอื ความเร่งในแนวดงิ่ หน่อยเป็น เมตรตอ่ วนิ าที2 (m/s2)
sy = (vy + uy )t/2 t คอื เวลา หน่วยเป็น วนิ าที (s)

tx = ty ภาพการเคลอื่ นทีใ่ นแนวดง่ิ

มหี ลักการในการจา
เคร่อื งหมายง่ายๆ ดังน้ี

– ค่า u ไมว่ า่ จะไป
ทิศทางใด จะเป็น + เสมอ

– ค่า g เมอ่ื มีทศิ
ทางตรงข้ามกับ u จะเปน็
ลบ

ขอ้ สอบ https://sites.google.com/site/supod45/sc30113/12557/room12/kar-kheluxnthi-baeb-pho-r-cek-thil-6

2.ก้อนหนิ ถูกยงิ ขนึ้ จากพน้ื ดนิ ด้วยความเรว็ 29.4 เมตรต่อวินาที ในแนวเอยี งทามมุ 30 องศา กับ

พื้นดิน จงหา ข แทน y
.

ก.ความเรว็ และความสงู ของก้อนหินที่จุดสูงสดุ Uy = 29.45in 300 = 14.7M /s

ข.เวลาท้ังหมดท่ีกอ้ นหนิ อย่ใู นอากาศ t= ? Sy = 0 เ ตร

29.45in 30 ° "% Sy = Uytt 1 /2g t 2

2qymfgVFXi29.4COTN25.5.tn/s0=14.7ttIl-9.8H2µ =
3 4.9 t 2 = 14.7 t

29.4C 05 3 00 ty = 3sec

yก แทน
.

Vy = 19.45in 300 = 14.7mg ตอบ ก Vx = 25.5m/s
.

Sy = ? Vy" +29 Sy → 0 = 14.72+21g) 1 Sy ) Sy = 11 m
= tyข
Vy = 0 T 21 9. 8) Sy = 14.72 . = 3sec

ตร sy = 14.72/219.8) = 11Mนายณฐั พล มีพจนเ์ พราะ ชัน้ ม.6/1 เลขที่ 4

ูสุ้หำทีธิวูส

มุมที่ทำให้วัตถุตกในระยะไกลสุด

ในการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์จะมีมุมอยู่ 2 ค่าที่ทำให้วัตถุตกลงมาเป็นระยะเท่า
กัน แต่ต้องยิงด้วยความเร็วต้นขนาดเท่ากัน หรือ u คงที่ และพบว่ามุมสองมุมนั้น

รวมกันได้ค่า 90 องศาทุกครั้ง

ที่มา https://www.thaiphysicsteacher.com/physics/contentclassmech/angle-for-maximum-distance-projectile/

ในการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์เราพบว่ามุมที่ทำให้วัตถุตกในระยะไกลสุด
มีค่าเท่ากับ 45 องศา ด้วยเหตุดังนี้

จากสมการ เนื่ องจากวัตถุตกถึงพื้ นแล้วทำการกระจัดในแนวดิ่ง จะได้
แต่ นำ แทนใน

จะได้ แต่

จะได้ เนื่องจาก u และ g คงที่ ฉะนั้นหากตัองการให้ มีค่ามากที่สุดพบว่า
หรือ หรือ

ที่มา https://www.thaiphysicsteacher.com/physics/contentclassmech/angle-for-maximum-distance-projectile/

นักยิงธนูสามารถยิงได้ไกลสุด 250 เมตร อยากทราบว่าลูกธนูมีอัตราเร็วเริ่ม
ต้นกี่เมตร/วินาที

ที่มา http://www.atom.rmutphysics.com/charud/entrance/physics1/2dimension/pic/picsol/14.gif

นายธนภูมิ แซ่เจี่ย ม.6/1 เลขที่5

เวลาที่วัตถุใช้ตกถึงพื้น

วัตถุเคลื่อนจากระดับความสูงเดียวกันโดยมีความเร็วต้น ในแนวดิ่งเท่ากันจะตกถึง
พื้นดินในเวลาเท่ากัน ดังรูป

ที่มา http://www.thaischool1.in.th/_files_school/35100357/workteacher/35100357_1_20210324-225941.pdf

รูป 1.4(a) ปล่อยวัตถุตกลงมา
รูป 1.4(b) กลิ้งวัตถุตกจากที่สูงด้วยความเร็วต้นแนบราบ u1 ตกถึงพื้น ห่าง X1
รูป 1.4(c) กลิ้งวัตถุตกจากที่สูงด้วยความเร็วต้นแนวราบ u2 ตกถึงพื้น ห่าง X2
เนื่ องจากการเคลื่ อนในแนวดิ่งของวัตถุท้้งสามรูปมีข้อมูลในแนวดิ่งเท่ากันคือ

u = 0 , g = g , h = h ดังนั้นเมื่อแทนค่าในสมการ
จะคำนวณหาค่า t ได้เท่ากัน

จึงสรุปได้ว่าเวลาที่วัตถุใช้ในการเคลื่อนที่ทั้งสามรูปเท่ากัน
ขว้างก้อนหินจากหน้ าผาสูง 40เมตร ทำมุมเงย 30 องศากับแนวระดับด้วยความเร็ว

20 เมตรต่อวินาที จงหาเวลาที่ก้อนหินใช้ในการตกถึงพื้น

ที่มา http://www.thaischool1.in.th/_files_school/35100357/workteacher/35100357_1_20210324-225941.pdf

นายธนภูมิ แซ่เจี่ย ม.6/1 เลขที่5

PROJECTILE

การกระจัดสูงสุดในแนวดิ่ง

การกระจัดในแนวดิ่ง
เกิดจากการเคลื่อนที่ภาย
ใต้ความเร่ง g คงที่ ดังนั้ น
เมื่อคิดในช่วงเวลาที่เท่าๆ
กัน จะมีการกระจัดเปลี่ยน
ไปเสมอ

ที่มา : กัญญา เกื้อกูล , https://www.scimath.org/lesson-physics/item/9414-2018-11-14-08-28-11

หา Sy จากสูตร S=(U+V/2)t

0

: Sy=(Uy+Vy/s)tสูงสุด

: Sy=(Usinθ/2)(Usinθ/g)

∴ Sy=U²sin²ө/2g
ถ้าการเคลื่อนที่เกิดจากการขว้างวัตถุ

เมื่อกำหนดให้ปริมาณเวกเตอร์ที่มีทิศลงเป็นบวก จากพื้นราบ และวัตถุตกลงมายังพื้นราบ
ก็จะคำนวณหาเวลาของการเคลื่อนที่ได้จาก เดิม ก็จะได้ระยะทางในแนวดิ่ง หรือ
สมการ S=Ut+1/2at² เมื่อ Uy=-Usinθ , a=g Sy เป็นศูนย์ , 0=(-Usinө)t+(1/2)gt²

แทนค่าโดยให้ sy เป็นระยะทางในแนวดิ่ง จะได้ จะทำให้ได้เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่เป็น
Sy=(-Usinө)t+(1/2)gt² t=2Usinө/g

tสูงสุด=Usinө/g

Example

өU

ขว้างก้อนหินออกไปโดยทำมุม 45° กับแนวระดับด้วยอัตราเร็ว 10 เมตรต่อวินาที

กำหนดให้ g=10 เมตรต่อวินาที² จงหา (√2)/2
ก. นานเท่าใดก้อนหินจึงตกถึงพื้นดิน
tทั้งหมด = 2Usinө/g = (2)(10)sin45/10 = √2 s

ข. ก้อนหินขึ้นไปสูงเท่าใด Sy = U²sin²ө/2g = 10²(1/2)/20 = 2.5 m

ค. ก้อนหินขึ้นไปสูงสุด ณ เวลาเท่าใด

(√2)/2

tสูงสุด = Usinө/g = (10)sin45/10 = (√2)/2 s

นายพุฒิกานต์ วรัชญ์เฉลิมกุล ม.6/1 เลขที่ 6

PROJECTILE

การกระจัดสูงสุดในแนวราบ

ที่มา : กัญญา เกื้อกูล , https://www.scimath.org/lesson-physics/item/9414-2018-11-14-08-28-11

การกระจัดในแนวราบ เกิดจากการ เนื่ องจากในแนวราบ ความเร่งเป็นศูนย์
เคลื่อนที่ภายใต้ความเร็วคงที่ ดัง ความเร็วมีค่าคงที่จะได้ Vx = Ux = Ucosө
นั้ นเมื่อคิดในช่วงเวลาที่เท่าๆ กันจะ การกระจัดในแนวระดับ จะได้ Sx = Ucosөt
มีการกระจัดเท่ากันเสมอ จัดรูปสมการใหม่ จะได้
Sx = (Ucosө)(2Usinө)/g = U²sin2ө/g

จำ!! ถ้า u คงที่ ค่า Sx จะมากที่สุดเมื่อ sin2ө มี
**Sy/Sx=tanө/4** ค่ามากที่สุดนั่ นคือ sin2ө = 1
ถ้า Sx คงที่ ค่า u จะน้ อยที่สุดเมื่อ ө = 45 °
Example ด้วยเช่นกัน

Ux

ชายคนหนึ่ งขว้างวัตถุขึ้นจากพื้นทำมุมөกับแนวระดับ โดยผลคูณของอัตราเร็วต้นในแนวระดับ

Uy

กับอัตราเร็วต้นในแนวดิ่งมีค่า 100เมตร²ต่อวินาที² อยากทราบว่าเมื่อวัตถุตกถึงพื้น

จะมีระยะทางในแนวราบเท่ากับเท่าใด

1. 10 เมตร Sx = U²sin2ө/g = U²2sinөcosө/g Ux
2. 20 เมตร
3. 30 เมตร Uy
4. 100 เมตร = 2(Usinө)(Ucosө)/g
∴ 100
Sx = 2UyUx/g

= (2)(100)/10

= 20 m

นายพุฒิกานต์ วรัชญ์เฉลิมกุล ม.6/1 เลขที่ 6

การเคล่ือนที่แบบวงกลมในแนวระดับ

การเคลือ่ นท่ีแบบวงกลมในแนวระดบั จะมีแรงเขา้ สศู่ ูนย์กลางเพยี ง 1 แรง ร ท่แี บบวงกลมได้ (แนวระดบั ใม่มแี รงโนม้ ถว่ ง)

ปรมิ าณทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับการเคลือ่ นทแ่ี บบวงกลมในแนวระดบั

1.อัตราเร็วเชิงเสน้

V = s/t = 2R/T

2.อตั ราเร็วเชงิ มมุ

https://i2.wp.com/www.thaiphysicsteacher.co
m/wp-
content/uploads/2015/08/%E0%B8%84%E0%B
8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E
0%B8%A3%E0%B9%87%E0%B8%A7%E0%B9%8
0%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B
8%A1%E0%B8%B8%E0%B8%A1.png?ssl=1

หากวัตถุเคล่อื นท่ีกวาดมมุ ไปได้  ในเวลา t ใดๆ สามารถหาอัตราเรว็ เชิงมุม  ไดด้ งั น้ี

 = /t
ถ้าวตั ถเุ คลอื่ นท่ีไปได้ 360 งศ เคลอื่ นทคี่ รบรอบ หรือใชร้ ะยะเวลา T

 = 2/T

3.ความสมั พันธ์ระหว่างอตั ราเรว็ เชงิ เส้นกับอัตราเร็วเชงิ มมุ

V = s/t = 2R/T

 = 2/T
จะได้

V = R

v แทน ขนาดความเรว็ เชิงเส้น มีหนว่ ยเปน็ เมตรตอ่ วนิ าที

 แทน ขนาดความเร็วเชงิ มมุ มึหน่วยเปน็ เรเดยี นต่อวนิ าที

R แ รศ ร ็นเมตร

ตัวอย่าง

ลกู ขา่ งหมนุ ดว้ ยความเรว็ เชงิ มุมเริม่ ตน้ 660/ rpm (รอบตอ่ นาท)ี และหมนุ ชา้ ลงดว้ ยความหนว่ งเชงิ มมุ คงทขี่ นาด 1.75 rad/s2 ลกู ข่างหมนุ ไปทง้ั หมดกี่รอบจนหยุดนิ่ง

1. 22 ร บ

2. 44 ร บ

3. 138 ร บ

4. 276 ร บ

5. 484 ร บ

ตอบขอ้ 1.

วิธีทา 660/ rpm = 660/ x 1/60 0 = (22)2 + 2(-1.75)

= 11/ รอบ/s  = 484/3.5 rad

 = 2f = 2(11/) = 22 rad/s 2 rad = 1 รอบ
12 = 02 + 2 ดงั นน้ั 484/3.5 rad = 484/7 = 22 รอบ

นายปรชั ญ์ธนัชชัย ธเนศวณชิ ย์ ช้นั ม.6/1 7

การเคลอ่ื นที่แบบวงกลมหมุนแบบกรวย

https://www.thaiphysicsteacher.com/wp-
content/uploads/2016/02/%E0%B8%81%E0
%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%
84%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B9%88%E
0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8
%B5%E0%B9%88%E0%B9%81%E0%B8%9A%
E0%B8%9A%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B
8%81%E0%B8%A5%E0%B8%A1-4-
%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%
B8%A2.png

F = 0

Tcos - mg = 0

Tcos = mg ___(1)

พจิ ารณาแรงทก่ี ระทากบั วตั ถุในแนวระดับ วตั ถเุ คล่อื นทเ่ี ปน็ วงกลมได้ แรง Tsin ทาหนา้ ทีเ่ ป็นแรงเข้าสู่ศูนยก์ ลาง

Tsin = mv2/R ___(2)

นาสมการ (2) / (1) จะได้วา่

tan = V2/Rg

แสดงว่ามมุ ของการเคลือ่ นทีน่ ม้ี คี ่าขึน้ อยูก่ ับความเรว็ v และรัศมกี ารเคล่อื นที่ R โดยท่ี g เป็นค่าคงท่ี

ตัวอยา่ ง

ลูกตมุ้ มวล m ยาว l แวนจากเพดาน m กาลังเคลอื่ นทตี่ ามแนววงกลมในระนาบระดับและเชอื กทามุม  กับแนวดิ่งตลอดเวลา จงหาคาบของการเคลอื่ นที่

https://www.physicsblueprint.com/wp-
content/uploads/2021/07/3.-
%E0%B8%9F%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8
%81%E0%B8%AA%E0%B9%8C%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0
%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A1
%E0%B8%B1%E0%B8%8D-%E0%B8%A1.%E0%B8%84.-
57_2021.pdf

1. 2 l/g sin/cos = ( 2lsin/T )2 /lsing
2. 2 l/gcos T2 = ( 2 )2 lcos/g
3. 2 lcos T = 2 lcos/g
4. 2 lsin/g
5. 2 l/gsin
ตอบข้อ 3.
วิธีทา V = 2R/T

V = 2lsin
tan = V2/Rg

นายปรัชญ์ธนัชชยั ธเนศวณิชย์ ช้นั ม.6/1 7

การเคลื่อนที่แบบวงกลม

ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แบบวงกลม

คาบเวลา และความถี่

คาบเวลา(T) คือ เวลาของการเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ มีหน่วยเป็น วินาที
ความถี่(f) คือ จำนวนรอบที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ใน 1 หน่วยเวลา มีหน่วยเป็น รอบ/วินาที

ความเร็วเชิงเส้น และความเร็วเชิงมุม

ความเร็วเชิงเส้น(v) หมายถึง ระยะทางตามเส้นรอบวงที่วัตถุเคลื่อนที่ไปได้ ใน 1 หน่วยเวลา มีหน่วยเป็น เมตร/วินาที
ความเร็วเชิงมุม(w) หมายถึง มุมที่จุดศูนย์กลางที่รัศมีกวาดไปได้ใน 1 หน่วยเวลา มีหน่วยเป็น เรเดียน/วินาที θ

v = θR/t w = θ/t
v = wR

2

ความเร่งสู่ศูนย์กลางและแรงสู่ศูนย์กลาง

∑Fc = mac
Fc = แรงสู่ศูนย์กลาง (N)
m = มวล (kg)
ac = ความเร่งสู่ศูนย์กลาง (m/s )

โจทย์

ชิงช้าสวรรค์หมุนด้วยอัตรา 12 รอบต่อนาที ถ้าจับเวลาที่ชิงช้าสวรรค์หมุนครบ 1 รอบ จะได้เวลากี่วินาที
วิธีทำ
โจทย์กำหนดให้ f = 12 รอบ/นาที
f = 12/60 รอบ/วินาที
T = 1/f
T = 60/12
T = 5 วินาที/รอบ
ตอบ 5 วินาที

นายเมธิพัฒน์ นาภะสินธุ์ ม.6/1 เลขที่8

การเคลื่อนที่แบบวงกลม

การเคลื่อนที่เป็นวงกลมในแนวดิ่ง

การเคลื่อนที่เป็นวงกลมในแนวดิ่ง พิจารณาการเคลื่อนที่ของวัตถุมวลmที่เคลื่อนที่เป็นวงกลมในแนวดิ่ง

หาแรงตึงเชือกที่ตำแหน่งต่างๆ
พิจารณาที่ตำแหน่ง A (ตำแหน่งต่ำสุด)
FTc =-=mmmgav2=/Rm+vm2/Rg
T
พิจารณาที่ตำแหน่ง B (ตำแน่งในแนวราบ)
Fc = mmav2/R
T =
พิจารณาที่ตำแหน่ง C (ตำแหน่งสูงสุด)
Fc = ma
T + mmvg2/=R mv2/R
T = - mg
พิจารณาที่ตำแหน่ง D (ตำแหน่งใดๆ)
Fc = ma
2
T - mgc2osθ = mv/R
T = mv/R + mgcosθ

โจทย์

เด็กมวล 30 กิโลกรัม นั่งอยู่ในชิงช้าสวรรค์ที่ มีรัศมี 20 เมตร และกำลังเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงตัว 2 เมตรต่อวินาที
แรงที่เก้าอี้กระทำ ต่อเด็ก ณ ตำแหน่งสูงสุด เปรียบเทียบ ณ ตำแหน่งต่ำสุดของการเคลื่อนที่เป็นอย่างไร
1. เท่ากับ 288 นิวตัน ทั้งสองต่ำแหน่ง
2. เท่ากับ 294 นิวตัน ทั้งสองต่ำแหน่ง
3. เท่ากับ 300 นิวตัน ทั้งสองต่ำแหน่ง
4. ที่ต่ำแหน่งสูงสุดมากกว่าที่ต่ำแหน่งต่ำสุด 12 นิวตัน
5. ที่ต่ำแหน่งสูงสุดน้อยกว่าที่ต่ำแหน่งต่ำสุด 12 นิวตัน

วิธีทำ ณ ตำแหน่งต่ำสุด
ณ ตำแหน่งสูงสุด
F = mg + mFc v2/R F = mg - Fmc v2/R
F = mg + 2 F = mg - 2
F = (30)(10) + (30)(2)/20 F = (30)(10) - (30)(2)/20
F = 306 F = 294
F ณ ตำแหน่งสูงสุด > F ณ ตำแหน่งสูงสุด อยู่ 12 N
ตอบ ข้อ4.

นายเมธิพัฒน์ นาภะสินธุ์ ม.6/1 เลขที่8

Simple Harmonic คือ

การเคลื่ อนที่กลับไปกลับมา
แบบ"ซ้ำรอยเดิม"

เฟส (Phase)

ข้อสอบ

วิธีทำ

สืบค้นจาก : http://www.krukird.com/onet.html

กราฟแสดงความสัมพันธ์
การเคลื่อนที่แบบ

อธิบายความสัมพันธ์จากมวลติดสปริง

อธิบายความสัมพันธ์จากลูกตุ้ม สมการ

ควรจะต้องห่างกันน้อยมาก

สมการ

ข้อสอบ

สืบค้นจาก : https://www.facebook.com/watch/?v=3762245033901949

ความเร็วและความเร่งของการ
เคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

ความเร็วและความเร่งของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายสัมพันธ์กันตามสมการ

ความเร็วและความเร่งของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายขึ้นกับเวลา ตามสมการ
ความเร็ว
ความเร่ง

1. จงหาอัตราเร็วสูงสุดและอัตราเร่งสูงสุดของวัตถุ ซึ่งเคลื่อนที่แบบ
ซิมเปิลฮาร์มอนิก ด้วยความถี่ 7 เฮิร์ต และมีแอมพลิจูด 10 cm

2. สปริงอันหนึ่งแขวนกับเพดานอยู่ในแนวดิ่ง ยาว 20 เซนติเมตร เอา
วัตถุมวล 100 กรัม ผูกติดกับปลายสปริงอีกข้างหน้า ทำให้ความยาว
ของสปริงเป็น 22.5 เซนติเมตร หลังจากนั้นดึงมวล 100 กรัม ลงมาต่ำ
กว่าตำแหน่งเดิม 2 เซนติเมตร แล้วปล่อยให้สั่น มวล 100 กรัม จะสั่น

ด้วยความเร็วมากที่สุดกี่เมตร/วินาที (ไม่คิดมวลของสปริง)

นายฐิตินัย วิจิตรสาร ม.6/1 เลขที่ 10

ความถี่และความสั่นพ้อง
เคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

เมื่อให้วัตถุสั่นหรือแกว่งอย่างอิสระวัตถุจะสั่นหรือแกว่ง
ด้วยความถี่ค่าหนึ่งเรียกว่าความธรรมชาติซึ่งมีค่าคงตัว

เมื่อมีแรงกระตุ้นต่อวัตถุแล้วทาให้วัตถุสั้นหรือแกว่ง
โดยความถี่ของการให้แรงกระตุ้นเท่ากับความถี่ธรรมชาติของวัตถุ
วัตถุจะสั้นหรือแกว่งโดยมีแอมพลิจูดเพิ่มขึ้นเรียกว่าการสั่นพ้อง

ความรู้เรื่องการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายความถี่
ธรรมชาติและการสั่นพ้องถูกนํามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน

เช่น ระบบต้านแผ่นดินไหวของตึกสูง การออกแบบสะพาน

1. น้ำหนักก้อนหนึ่งเมื่อนำไปแขวนห้อยสปริงตัวหนึ่ง จะทำให้สปริงยืดออกไป
10 เซนติเมตร ถ้าทำให้ระบบสั่น จงหาคาบของการสั่น ( g = 10 m/s² )

2. หากผูกมวล m ติดกับสปริงในแนวดิ่ง ดึงมวลลงเล็กน้อยแล้วปล่อยให้สั่น
พบว่าสปริงมีคาบของการสั่น 2 วินาที ถ้าเพิ่มมวลเข้าไปอีก 2 กิโลกรัม
สปริงจะคาบการสั่น 3 วินาที จงหาขนาดของมวล m ในหน่วยกิโลกรัม

นายฐิตินัย วิจิตรสาร ม.6/1 เลขที่ 10

การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

การสั่นของมวลติดปลายสปริง

การสั่นของมวลติดปลายสปริงในแนวราบ

Amax ผ่านจุดสมดุล = Vmax = WA

v=0 จุดปลายการเคลื่อนที่ความเร่งสูงสุด = amax = W2A

Vmax อัตราเร็วเชิงมุม = W = k
m
a=0

คาบของการสั่น = T = 2π( m )
k
จุดสมดุล
ความถี่ของการสั่น = f = 1 = 1 ( m )
v=0 T 2π k

ค่านิจสปริง = k = F

https://www.academia.edu s

การสั่นของมวลติดปลายสปริงในแนวดิ่ง

อัตราเร็วเชิงมุม = W = k
m

คาบของการสั่น = T = 2π( m )
k

ความถี่ของการสั่น = = f = 1 1( m )
T 2π k

https://tuktphysics.weebly.com/uploads/2/6/6/7/26677860/shm2.pdf

*ใช้สูตรเหมือนกับแนวราบ*

ตอัวย่าง

https://www.academia.edu

นายปยุต วุฒิชาญปรีชา ม.6/1 เลขที่ 11

การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

การแกว่งของลูกตุ้มอย่างง่าย http://www.thaiphysoc.org/article/159/

ผ่านจุดสมดุล = Vmax = WA

จุดปลายการเคลื่อนที่ความเร่งสูงสุด = amax = W2A

อัตราเร็วเชิงมุม = W = g
L

จุดสมดุล คาบของการสั่น = T = 2π( L)
g

https://sites.google.com/site/sci30113b2560/student- ความถี่ของการสั่น = f= 1 = 1 ( g )
work/room16/kar-kheluxnthi-baeb-har-mo-ni-kx-yang-ngay-1 T 2π L

ค่านิจสปริง = k = F
s

ประกอบด้วยวัตถุมวล m แขวนห้อยที่ปลายเชือกยาว l โดยธรรมชาติจะแขวนห้อยในแนวดิ่งซึ่งเป็น

ตำแหน่งสมดุล เมื่อดึงวัตถุให้เชือกเอียงไปทำมุมกับแนวดิ่งเล็กน้อยแล้วปล่อยวัตถุจะแกว่งกลับไปมา

ซ้ำทางเดิมผ่านตำแหน่งสมดุล ลูกตุ้มนาฬิกา ชิงช้า จะเป็นการแกว่งแบบเดียวกับลูกตุ้มอย่างง่าย

หลักการพิสูจน์

: จากสมการของแรงในขณะที่วัตถุกำลังเคลื่อนที่
แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก

https://www.youtube.com/watch?v=GtHqDCcY2uE

ตอัวย่าง

https://teamsnb.com/2829-simple-harmonic-motion-exercises/

นายปยุต วุฒิชาญปรีชา ม.6/1 เลขที่ 11

สนามไฟฟ้าเนื่องจากจุดประจุ

สนามไฟฟ้า เป็นบริเวณที่แรงไฟฟ้าของประจุแผ่ออกไป
ถูกสร้างขึ้นโดยประจุไฟฟ้านั้นๆ
ไม่ใช่แรง แต่เป็นปริมาณเวกเตอร์

+q
+Q -Q

-q

ถ้าประจุทดสอบเป็น+qจะมี ถ้าประจุทดสอบเป็น-qจะมี

ทิศทางเดียวกันกับสนามไฟฟ้า ทิศทางตรงกันข้ามกับสนามไฟฟ้า

ใช้สูตร

กฎของคูลอมบ์ https://tuenongfree.xyz/

เมื่อประจุ2ตัวอยุ่ใกล้กันย่อมinteractต่อกัน
ประจุเหมือนกัน - ผลักกัน
ประจุไม่เหมือนกัน - ดูดกัน

https://www.youtube.com/watch?v=GMjIL7C3nTM

นาย ภาสกร แช่มประสิทธิ์ ม.6/1 เลขที่ 12

สนามไฟฟ้าระหว่างแผ่นตัวนำคู่ขนาน

โลหะ 2 แผ่นต่างประจุกันวางขนานกัน ทำให้เกิด E -
สนามไฟฟ้าขึ้นโดยทิศทางของสนามจะเข้าสู่ขั้วลบ + -
สามารถเรียกอีกอย่างได้ว่า สนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ -
เนื่องจากจุดระหว่างแผ่นคู่ขนานมีค่าเท่ากันทุกจุด F -
-
การเคลื่ อนที่ของประจุภายในสนาม + +q

หยุดนิ่ง , ขึ้นลงด้วยค

วามเร็วคงที่ - ΣF = o +

+F
-q

+

เคลื่ อนที่ขึ้นด้วยความเร่ง - ΣF = ma V สูง V ต่ำ
เคลื่ อนที่ลงด้วยความเร่ง
นำไปอธิบายการทดลอง

หยดน้ำมันของมิลลิแกนได้

หาค่าความเข้มข้นของสนามได้จากสูตร

E = ค่าความเข้มของสนาม (N/C)
V = ความต่างศักย์ระหว่างจุดที่คำนวณ (V)
d = ระยะห่างระหว่างจุดที่คำณวน (m)

https://www.iclass-study.com/electrostatics/

https://www.youtube.com/watch?v=RichkNfXXoo

นาย ภาสกร แช่มประสิทธิ์ ม.6/1 เลขที่ 12

สนามไฟฟ้า(ตัวนำไฟฟ้าทรงกลม)

-ตัวนำทรงกลมกลวงหรือตันที่มีประจุไฟฟ้าอิสระ ประจุจะ

กระจายอยู่ที่ผิวของตัวนำทรงกลมสม่ำเสมอ ซึ่งพบว่าทรงกลม

ที่มีประจุนี้ จะแผ่สนามไฟฟ้าไปโดยรอบ และเนื่องจากประจุบน

ตัวนำทรงกลมกระจายตัวอย่างสมำเสมอนี้ ทำให้เราอาจหาส

นามไฟฟ้าภายนอกทรงกลมได้ โดยพิจารณาว่า ทรงกลมนี้ สนามไฟฟ้าภายในทรงกลม
ประพฤติตัวเหมือนจุดประจุ รวมกันอยู่ตรงกลางทรงกลม

-ภายในตัวนำค่าความเข้มของสนามไฟฟ้า มีค่าเป็นศูนย์เสมอ

และที่ผิวของตัวนำทรงกลมมีความเข้มสนามไฟฟ้ามากที่สุด ซึ่ง

แสดงได้รูปและกราฟข้างล้าง - สนามไฟฟ้าภายในทรงกลมเป็นศูนย์

สนามไฟฟ้าที่ผิวทรงกลม สนามไฟฟ้าภายนอกทรงกลม

-สนามไฟฟ้าที่ผิวทรง -วัดระยะถึงจุดศูนย์
กลมมีค่ามากที่สุด กลางทรงกลม

การหาสนามไฟฟ้ารวมที่จุดๆหนึ่ง
เขียนเวกเตอร์สนามไฟฟ้า ณ จุดที่ต้องการหา
สนามไฟฟ้ารวม โดยสนามไฟฟ้ามีทิศออกจาก
ประจุบวก และทิศเข้าหาประจุไฟฟ้าลบ
รวมสนามไฟฟ้าด้วยวิธีรวมเวกเตอร์

นายคณินพัฒน์ จันทะศรี ม.6/1 เลขที่่13

สนามไฟฟ้า(จุดสะเทิน)

-จุดสะเทินในสนามไฟฟ้า หมายถึง จุดในสนามไฟฟ้าซึ่งมีค่าความเข้มของสนามไฟฟ้า
เป็นศูนย์ ทั้งนี้เนื่องมาจาก ณ จุดนั้นอาจปรากฏมีสนามไฟฟ้าอย่างน้อยที่สุดสองสนาม
มีความเข้มสนามไฟฟ้าเท่ากัน แต่ทิศทางตรงกันข้าม 0 อำนาจไฟฟ้าจึงหักล้างกันหมด
หรือหาก ณ จุดนั้นมีสนามไฟฟ้ามากกว่าสองสนาม แต่ค่าความเข้มและทิศทางของ
สนามไฟฟ้าเหล่านั้นอยู่ในลักษณะที่อำนาจไฟฟ้าหักล้างกันหมด จุดนั้นเป็นจุดสะเทินได้
ในกรณีซึ่งมีสนามไฟฟ้าสองสนาม ซึ่งเกิดจากประจุไฟฟ้าสองประจุวางใกล้กัน จุด
สะเทินที่เกิดขึ้นจะอยู่ในแนวเส้นตรงที่ลากผ่านประจุไฟฟ้า ทั้งสองนั้น มีหลักเกณฑ์ดังนี้

นายคณินพัฒน์ จันทะศรี ม.6/1 เลขที่่13

สนามไฟฟ้า : กฏของคูลอมบ์ และกฏของเกาส์

Prologue :

+ เบนจามิน แฟรงคลนิ -
(Benjamin Franklin, 1706-1790) พบวา่ การขัดสีวตั ถดุ ว้ ยผา้ ขนสัตว์ ทําให้เกิดประจบุ นวัตถุ
และได้ทดลองนาํ แท่งแก้วและยางทม่ี ปี ระจุจากการขัดสไี ปวางใกล้แท่งยาง ท่ีแขวนไวด้ ว้ ยเชอื ก
พบวา่ แทง่ แก้วออกแรงดูดแต่แทง่ ยางออกแรงผลกั แสดงวา่ ประจทุ เี่ กดิ ในวัสดุ ชนิดเดยี วกันจะ
ผลักกันและประจุในวสั ดุตา่ งชนิดจะดดู กัน ประจทุ าํ ให้เกดิ แรงกระทาํ กับวตั ถไุ ด้ 2 แบบ จงึ คดิ
ว่าควรมปี ระจุ 2 ชนดิ โดยเรยี กประจุชนิดหน่งึ วา่ ประจบุ วก และ ประจุอกี ชนิดว่าประจลุ บ แรง
ท่ีเกดิ จากประจตุ ่างชนดิ กันจะดดู กนั และประจุ ชนิดเดยี วกนั จะผลักกนั ในภายหลงั ได้มีการ
ทดลองและศกึ ษาคุณสมบัติของประจทุ ั้งสอง
+ คุณสมบตั ิของประจุ -
อนภุ าคประจบุ วกเรียกวา่ โปรตอน (proton, p) มีประจุเทา่ กบั +e อนภุ าคประจุลบเรียกวา่
อเิ ล็กตรอน (electron, e ) มีประจุเท่ากับ -e การขัดสที ําให้เกิดประจบุ นวตั ถุเน่อื งจากการ
แลกเปลย่ี นประจรุ ะหว่างวตั ถทุ ีข่ ดั สีกัน ภายหลังทราบว่าประจลุ บมีมวลนอ้ ยกวา่ ประจุบวกมาก
ดังนนั้ การแลกเปล่ยี นประจเุ กิดข้นึ เพราะประจุลบเคลื่อนทโ่ี ดยจาํ นวนประจทุ ี่เกิดขึ้นเป็นจํานวน
เท่า (จาํ นวนเต็ม) ของประจอุ ิเล็กตรอน วัสดทุ เ่ี ปน็ กลางทางไฟฟ้าจะมีจาํ นวน อนภุ าคประจุ
บวกเทา่ กบั ประจลุ บ ถา้ เอาอิเลก็ ตรอน n ตัวออกจากวสั ดุจะทาํ ให้วสั ดมุ ปี ระจสุ ทุ ธิ เป็นบวก
เทา่ กบั +ne ถา้ ใหอ้ ิเล็กตรอน n ตัวกับวสั ดุจะทาํ ใหม้ ปี ระจุสทุ ธิเป็น -ne
+ วัสดตุ วั นาํ และฉนวน -
วสั ดโุ ดยท่ัวไปจะเปน็ กลางทางไฟฟา้ คือมปี ระจุบวกเทา่ กบั ประจุลบ และมีอิเลก็ ตรอนจํานวน
มหาศาลในเนอ้ื วสั ดุ ฉนวน เชน่ แก้ว และ ยาง เปน็ วัสดทุ ไ่ี ม่นาํ ไฟฟ้า เม่อื นาํ ไปขัดถูจะเกดิ ประจุ
บรเิ วณทม่ี ีการเสียดสี ประจทุ เี่ กิดข้ึนจะไมส่ ามารถเคลือ่ นทีไ่ ปยังสว่ นอนื่ ๆ ของวัสดไุ ด้ ตวั นาํ
เชน่ ทองแดง อลมู ิเนียม และ เงิน เมื่อมปี ระจุเกดิ ขึ้นในสว่ นหนง่ึ ของวสั ดุ ประจจุ ะกระจายตัว
ออกไปทัว่ ทงั้ พ้ืนผวิ ของวัสดเุ พราะอิเลก็ ตรอนสามารถเคลื่อนทไ่ี ดอ้ ย่างอสิ ระท่ผี วิ ตัวนาํ

ปัญญวทิ ย์ ชุลีรักษ์ เลขท่ี14 ม.6/1

กฎของคลู อมบ์ (Coulomb’s Law)

ชารล์ คูลอมบ์ (Charles Coulomb, 1736-1806) ศกึ ษาขนาดของแรงระหวา่ งประจุไฟฟ้า
พบวา่ แรงทีเ่ กดิ ขึน้ ระหว่างประจุจะมีทศิ ตามแนวเส้นตรงท่เี ชือ่ มระหว่างประจนุ ้ัน ถ้าประจเุ ปน็
ชนดิ เดียวกนั จะเปน็ แรงผลกั และประจตุ ่างชนิดเป็นแรงดดู ขนาดของแรงลดลงตามระยะหา่ ง
กาํ ลงั สอง และขึ้นกบั ปริมาณประจุ

สตู รคาํ ณวน :
สนามไฟฟา้ จากประจทุ กี่ ระจายตัวตอ่ เนื่องวัตถทุ ม่ี ีการกระจายตวั ตอ่ เนือ่ งเป็นรูปทรงน้ัน
ประกอบถือวา่ ประกอบดว้ ยอนภุ าคจดุ ประจุ จํานวนมาก สนามไฟฟ้าเนอ่ื งจากวตั ถุหาไดโ้ ดย
พิจารณาอิทธพิ ลของสนามท่เี กิดจากแตล่ ะอนุภาค (จุดเลก็ ๆ) ท่ีรวมเปน็ วตั ถุ ซงึ่ สนามไฟฟ้า
รวมเทา่ กับผลรวมของแตล่ ะจุดเล็ก ๆ บนวัตถทุ ง้ั ช้นิ หลกั งา่ ย ๆ ในการพจิ ารณาคอื สมมติว่า
วัตถุนน้ั ประกอบขึน้ จากหนว่ ยเลก็ ๆ (อาจจินตนาการว่าเป็นเม็ดทราย) จาํ นวนมาก (ให้
เป็น i หน่วย) ซ่ึงแตล่ ะหน่วยมีประจุเปน็ แนน่ อนว่าถ้ารวมประจจุ ากทุกหนว่ ยเข้าด้วยกนั จะตอ้ ง
ได้ขนาดประจุเท่ากบั ประจุรวม (ให้เปน็ Q ) ดังน้ันสนามไฟฟ้าจากหนึ่งหน่วยเลก็ ๆ
จะเท่ากบั

กฎของเกาส์ (Gauss’s Law)

อธบิ ายถึงความสัมพันธร์ ะหวา่ งฟลกั ซท์ ผี่ า่ นผวิ ปดิ ใดใดกับประจุสุทธิ ทอ่ี ยู่ภายในผิวปดิ
น้ัน
จะเหน็ วา่ กฎของเกาสอ์ ธิบายความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสนามไฟฟา้ E เนือ่ งจากอิทธิพลของประจุ
สทุ ธิ ซง่ึ มีความเรียบง่ายมาก แตส่ ่งิ ทีซ่ ับซอ้ นคือการคํานวณหาฟลักซ์ที่ผ่านผิวปิด โดยการ
รวม ฟลกั ซย์ ่อยที่ผ่านพ้นื ท่ี dA เน่อื งจากผิวปิดเป็นพน้ื ผวิ ที่เราจินตนาการสรา้ งข้ึนมา และเปน็
นามธรรมเนือ่ งจากในระบบไมม่ ีผิวปิดอยู่จรงิ เราทาํ การสมมติข้นึ เพ่ือใช้คํานวณหาฟลกั ซ์สง่ิ
สาํ คัญ ในการใช้กฎของเกาสค์ อื การสร้างผิวปิดสมมติ (Gaussian surface) ซง่ึ มีรูปร่างใดกไ็ ดท้ ี่
ช่วยให้การ คาํ นวณง่ายขนึ้ ผิวปิด หรอื ผวิ เกาสเ์ ซียน ไม่มีอยู่จรงิ เพราะเป็นผวิ สมมติทเ่ี รา
จนิ ตนาการขน้ึ และ จะให้เปน็ รปู ร่างใดก็ได้

ปัญญวทิ ย์ ชุลีรักษ์ เลขที่14 ม.6/1

แรงกระทำต่ออนุภาคที่มีสนามแม่เหล็ก

เมื่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่เข้าไปในสนามแม่เหล็ก ปรากฏว่าทิศทาง

ของอนุภาคนี้จะเปลี่ยนไปจากเดิม แสดงว่ามีแรงเนื่องจากสนามแม่เหล็ก

กระทำต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้านี้

F= qvBsinθ เมื่อ F เป็นขนาดของแรง (นิวตัน)
q เป็นประจุไฟฟ้า (คูลอมบ์)
V เป็นความเร็วของประจุไฟฟ้า (เมตร /วินาที)
B เป็นความเข้มสนามไฟฟ้า (เทสลา)

http://www.rmutphysics.com/charud/ กฎมือขวา
virtualexperiment/virtual1/magnetic/magnetic1/content5.html
สำหรับทิศของ F , V และ B เป็นไป
ตัวอย่าง ตามกฎของมือขวาของสกรู โดย กำ
โจทย์ มือขวาโดยปลายนิ้วทั้งสี่ชี้ทิศของ V
หมุนไปหา B นิ้วหัวแม่มือจะแทนทิศ
ของแรงที่กระทำต่อประจุบวก ถ้าเป็น

http://www.rmutphysics.com/charud/

ประจุลบทิศของแรงจะตรงกันข้ามกับ virtualexperiment/virtual1/magnetic/
magnetic1/content5.html

ทิศที่ได้

สนามแม่เหล็ก อิเล็กตรอนอนุภาคหนึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 10^7 เมตร/วินาที ในทิศตะวันตก
ไปทิศตะวันออกถ้าสนามแม่เหล็กโลกมีค่า 3 มิลลิเทสลา อิเล็กตรอนนี้จะถูกแรง
กระทำเท่าไร ในทิศทางใด (นิวตัน,ทิศ)

5 x 10^-16 , ลง

4.8 x 10^-15 , ขึ้น 4.8 x 10^-15 ,ลง
3.2 x 10^-15 , ขึ้น

4.8 x 10^-15 ,ลง

http://www.rmutphysics.com/charud/scibook/electromagnetic1/magnetic/pic/choic
e/choice3-2.html

น.ส.ปวันรัตน์ ศรีสัจจา ชั้น.ม.6/1 เลขที่15

แรงกระทำต่อลวดตัวนำที่มีกระแสไฟฟ้าผ่าน

ในกรณีที่มีเส้นลวดตัวนำวางอยู่ในสนามแม่เหล็ก เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน

เราสามารถคำนวณหาทิศของแรงได้จากกฎมือขวา

1.แบมือขวาพร้อมกางหัวแม่มือ โดยใช้นิ้วชี้ไปทิศของกระแสไฟฟ้า

2.หันหน้ามือแบไปตามทิศของสนามแม่เหล็ก

3.หัวแม่มือที่กางออกจะชี้บอกทิศของแรงกระทำ ซึ่งหาได้จากสมการ

F= ILBsinθ

เมื่อ F เป็นแรงกระทำต่อเส้นลวดนั้น (นิวตัน) https://www.scimath.org/lesson-physics/item/7275-2017-06-13-14-37-07
I เป็นกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน (แอมแปร์)
L เป็นความยาวของเส้นลวด (เมตร)
θ เป็นมุมระหว่างทิศการไหลกระแสไฟฟ้ากับ
ทิศของสนามแม่เหล็ก

ตัวอย่าง
โจทย์

สนามแม่เหล็ก http://www.rmutphysics.com/charud/scibook/electromagnetic1/magnetic/pic/probl
em/3-22.gif

น.ส.ปวันรัตน์ ศรีสัจจา ชั้น.ม.6/1 เลขที่15

แรงกระทำต่อตัวขดลวด
ที่มีกระแสไฟฟ้าผ่าน

และอยู่ในสนามแม่เหล็ก

ที่มา : https://sites.google.com พิจารณาขดลวดตัวนำรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก PQRS
วางในสนามแม่เหล็ก โดยระนาบของขดลวดขนาน
กับทิศของสนามแม่เหล็ก เมื่อให้กระแสไฟฟ้า ผ่าน
มี
ทิศของกระแสไฟฟ้าขนานกับสนามแม่เหล็ก จึงไม่
เกิดแรงกระทำต่อลวดสองส่วนนี้ แต่ในลวดส่วน PQ
และ RS ทิศของกระแสไฟฟ้าตั้งฉากกับทิศสนามแม่
เหล็ก จึงเกิดแรงกระทำต่อลวดสองส่วนนี้ แต่แรงทั้ง
สองนี้มีขนาดเท่ากันและทิศตรงกันข้ามจึงเป็นแรงคู่

ควบ และหาโมเมนต์ของแรงคู่ควบได้

ภาคตัดขวางของขดลวด แสดงแรงคู่ควบที่กระทำ เมื่อลวดตัวนำตรงที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านวางใน
ต่อลวด PQ และ RS ให้ความยาว PS = QR = และ สนามแม่เหล็ก จะเกิดแรงกระทำต่อลวด
ความยาว PQ = RS = ดังนั้นแรงกระทำที่เกิดขึ้นกับ
ลวดส่วน PQ และ RS จึงมีค่าเท่ากับ โมเมนต์ของ ถ้าเปลี่ยนลวดตัวนำตรงเป็นขดลวดรูปสี่เหลี่ยม
มุมฉาก แรงกระทำที่เกิดขึ้นจะมีผลต่อขดลวด
แรงคู่ควบ
อย่างไร

ซึ่งสูตรที่ใช้ ดังนี้

ที่มา : https://sites.google.com เมื่อเกิดโมเมนต์ของแรงคู่ควบ
ขดลวด PQRS จะหมุนทวนเข็มนาฬิกา

ข้อสอบ O-Net

1.ขดลวดตัวนำรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาด 3 x 5 ตารางเซนติเมตรจำนวน 20 รอบ อยู่ในสนามแม่เหล็ก
ขนาดสม่ำเสมอ 0.5 เทสลา โดยระนาบของขดลวดอยู่ในแนวขนานกับสนามแม่เหล็กและด้านของขดลวด
ที่มีความยาว 5 เซนติเมตร ตั้งฉากกับสนามแม่เหล็กเมื่อให้กระแสไฟฟ้า 5 แอมแปร์ ผ่านขดลวดนี้จงหา
ขนาดของแรงที่กระทำต่อขดลวดแต่ละด้านและโมเมนต์ของแรงคู่ควบที่กระทำต่อขดลวด

นางสาวสาริศา แสงอุทัย ม.6/1 เลขที่ 16

แรงกระทำต่อตัวลวด
นำที่อยู่ในสนามแม่เหล็ก

เออร์สเตด

(Hans Christian Oersted)

นักฟิสิกส์ชาวเดนมาร์กทดลองผ่านกระแสไฟฟ้าไหลผ่านลวด
ตัวนำพบว่า เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านลวดตัวนำจะทำให้ทิศที่
เข็มทิศชี้เปลี่ยนไป นั่นแสดงว่ามีสนามแม่เหล็กรอบตัวนำนั้น

ทิศของสนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นหาได้จากกฎมือขวา
คือ ใช้มือขวากำรอบลวดตัวนำให้นิ้วหัวแม่มือทาบ
ไปตามเส้นลวดตัวนำและไปทางเดียวกับทิศของ
กระแสไฟฟ้า นิ้วทั้งสี่กำรอบเส้นลวด จะแสดงทิศ
ของสนามแม่เหล็ก

ที่มา : https://sites.google.com

ถ้าประจุไฟฟ้า เคลื่อนที่ผ่านภาคตัดขวางของตัวนำใน เท่ากับความยาวของลวดช่วงที่อยู่ในสนามแม่เหล็ก
เวลา จากนิยามของกระแสไฟฟ้า เชียนได้ว่า ถ้าให้เป็น ทิศของแรงหาได้จากการกำมือขวาให้นิ้วทั้งสี่ชี้ทิศของ
ระยะทางที่ประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ได้ในเวลา จะได้
กระแสไฟฟ้า นิ้วหัวแม่มือจะชี้ทิศของแรง
ถ้ากระแสไฟฟ้าในลวดตัวนำขนานทั้งสองเส้นมีทิศ
เดียวกัน แรงระหว่างลวดเป็นแรงดูด แต่ถ้ากระแสไฟฟ้าใน ที่มา : https://sites.google.com
ลวดตัวนำขนานทั้งสองมีทิศตรงกันข้าม แรงระหว่างลวด
เป็นแรงผลัก

ข้อสอบ O-Net ปี 2550
1.วางลวดไว้ในสนามแม่เหล็กดังรูป เมื่อให้กระแสไฟฟ้าเข้าไปในทางเส้นลวดตัวนำจะ
เกิดแรงเนื่องจากสนามแม่เหล็กกระทำต่อลวดนี้ในทิศทางใด

ก. ไปทางซ้าย (เข้าหา N)
ข. ไปทางขวา (เข้าหา S)
ค. ลงข้างล่าง
ง. ขึ้นข้างบน

วิธีทำ
ให้นิ้วหัวแม่มือเป็นทิศของแรง นิ้วชี้แทนทิศของกระแสไฟฟ้า และนิ้วกลางแทนทิศของสนามแม่

เหล็ก จะได้ทิศทางหัวแม่มือ ทางทิศบน

นางสาวสาริศา แสงอุทัย ม.6/1 เลขที่ 16

สนามโน้มถ่วง
ข น า ด ข อ ง แ ร ง โ น้ ม ถ่ ว ง

เมื่อปล่อยวัตถุ วัตถุจะตกสู่พื้นโลกเนื่องจากโลกมีสนามโน้มถ่วง
(gravitational field) ซึ่งเป็นปริมาณเวกเตอร์ อยู่รอบโลก สนาม
โน้มถ่วงทำให้เกิดแรงดึงดูดกระทำต่อมวลของวัตถุทั้งหลาย
แรงดึงดูดนี้เรียกว่า แรงโน้มถ่วง (gravitational force)

สนามโน้มถ่วง (g) มีทิศพุ่งสู่ศูนย์กลางของโลก
g ~~ 9.8 นิวตันต่อกิโลกรัม (ตำแหน่งต่างๆบนผิวโลก)

ให้ Fg คือแรงโน้มถ่วงที่กระทำต่ออนุภาคมวล m
สนามโน้มถ่วงจะนิยามโดย

Fg = G_m_1_m2
R2

ซึ่งมีค่าเท่ากับความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง

EXAMPLE

น.ส.จิราพัชร ศรีระพันธ์ ม.6/1 เลขที่17

สนามโน้มถ่วง
การหาความเร่ง

ค่าความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก ซึ่งจะเห็นใช้งานอยู่บ่อยๆ 2 ค่า
คือ g = 10 m/s 2 และ g = 9.81 m/s 2

แต่ในความเป็นจริงแล้ว ค่า g ไม่ใช่ค่าคงที่ในทุกๆต่ำแหน่งบนโลก แต่จะมีค่า
แปรแปลี่ยนไปตามภูมิประเทศต่างๆ บนโลก
ค่า g นี้สามารถเขียนเป็นสมการความสัมพันธ์ได้ดัง กฎความโน้มถ่วงของนิวตัน
(Newton’s Law of Graitation) ได้ดังนี้

https://youtu.be/1kyzRgLDnck | วินาทีที่ 1:43:59

ใ ช้เ มื่ อ วัต ถุอ ยู่ใ ก ล้ ผิ ว โ ล ก
หรือมีค่า h น้อยมาก จึง ใ ช้เ มื่ อ มีร ะ ย ะ ร ะ ห ว่า ง วัต ถุ ใช้เมื่อพิจารณามวล m ไป
มวลm ถึงผิวโลก ในหน่วย อยู่บนผิวดาวเคราะห์ใดๆ
ประมาณว่า h=0 เมตร จึงให้แทนเป็น g

EXAMPLE

น.ส.จิราพัชร ศรีระพันธ์ ม.6/1 เลขที่17

สนามโน้มถ่วง
แรงที่โลกหรือดวงดาวดูดวัตถุ W=mg

เมื่อปล่อยวัตถุ วัตถุจะตกสู่พื้นโลกเพราะโลกมีสนามโน้มถ่วงอยู่รอบโลก สนาม
โน้มถ่วงทำให้เกิดแรงดึงดูดที่เรียกว่า แรงโน้มถ่วง กระทำต่อมวลของวัตถุ
สนามโน้มถ่วงเขียนแทนด้วย g และมีทิศพุ่งสู่ศูนย์กลางของโลก

ข้อสังเกต * แรงโน้มถ่วงและสนามโน้มถ่วงโลก
W ไม่ได้หมายถึงน้ำหนักที่อ่านได้
จากตาชั่ง แรงโน้มถ่วงของโลกที่กระทำต่อวัตถุก็คือ น้ำหนักของวัตถุ
น้ำหนักและค่า g ขึ้นอยู่กับ บนโลก หาได้จากสมการ
ตำแหน่งของวัตถุบนผิวโลก และ
จะเปลี่ยนแปลงตามความสูงต่ำ W = mg
จากผิวโลก
m เเทนมวลของวัตถุ หน่วยเป็นกิโลกรัม(kg)
g แทนค่าความเร่งโน้ม หน่วยเป็นm/s2 (gบนพื้น
ผิวโลกคือ 9.8 m/s2)
W เเทนน้ำหนักของวัตถุหน่วยเป็นนิวตัน (N)

ตัวอย่างข้อสอบ

วัตถุหนึ่งเมื่ออยู่บนโลกที่มีสนามโน้มถ่วง g พบว่ามีน้ำหนักเท่ากับ W1 ถ้านำวัตถุนี้ไปไว้บนดาว

เคราะห์อีกดวงหนึ่ง พบว่ามีน้ำหนัก W2จงหามวลของวัตถุนี้

1. W1 2. W2 3. W1 + W2 4. W2 + W1
g g g 2g

แนวคิด Wโลก = mgโลก
Wm1 = mg
= Wg 1

น.ส.ณญาดา บุญใจใหญ่ ม.6/1 เลขที่ 18

คลื่น(ชนิดของคลื่นกล)

คลื่นกล เป็นคลื่นที่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ เช่น คลื่นน้ำ คลื่นเสียง คลื่นในเส้นเชือก

อ้างอิงภาพ : Shutterstock ชนิดของคลื่นกล

คลื่นตามขวาง ทิศทางการเคลื่อนที่ของอนุภาคตัวกลางจะตั้ง
ฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น เช่น คลื่นในเส้นเชือก คลื่นน้ำ
คลื่นตามยาว ทิศการเคลื่อนที่ของอนุภาคตัวกลางจะขนานทิศ
การเคลื่อนที่ของคลื่น เช่น คลื่นในสปริง คลื่นเสียง

ตัวอย่างข้อสอบ แนวคิด

ในขณะที่เกิดคลื่นตามขวาง อนุภาคบนคลื่นมีการเคลื่อนที่อย่างไร คลื่นตามขวาง, อนุภาคตัวกลางจะเคลื่อนที่
1. เป็นเส้นโค้งตามแนวคลื่น ตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น
2. เป็นเส้นตรงตามทิศทางคลื่น
3. เคลื่อนที่กลับไปกลับมาในแนวทางคลื่น
4. ไม่มีข้อใดถูกต้อง

น.ส.ณญาดา บุญใจใหญ่ ม.6/1 เลขที่ 18

คลื่น

https://ondemand.in.th/

ส่วนประกอบของคลื่น

1. สันคลื่น หรือ ยอดคลื่น (Crest) คือ สันบนสุดของคลื่นแต่ละลูก มีการกระจัดบวกมากที่สุด เหนือระดับปกติ
2. ท้องคลื่น (Trough) คือ ส่วนล่างสุดของคลื่นแต่ละลูก มีการกระจัดลบมากที่สุด ต่ำกว่าระดับปกติ
3. การกระจัด (Displacement) คือ ระยะที่วัดจากแนวกลาง (แนวสมดุล) ไปยังตำแหน่งใดๆ บนคลื่น
4. ช่วงกว้างคลื่น หรือ แอมพลิจูด (Amplitude ; A) คือ ระยะกระจัดที่มีค่ามากที่สุดคลื่นระดับปกติ โดย

แอมพลิจูด แปรผันตรงกับ พลังงานคลื่น
คลื่นน้ำ แอมพลิจูด แสดง ความสูงต่ำของการกระเพื่อมของน้ำ
คลื่นเสียง แอมพลิจูด แสดง ความดังค่อยของเสียง
คลื่นแสง แอมพลิจูด แสดง ความเข้มของแสง (มืด – สว่าง)

5. ความยาวคลื่น (Wave length; λ) ความยาว 1 คลื่น เป็นระยะทางวัดจากเฟสถึงเฟสเของคลื่นถัดไป (เมตร:m)
6. เฟส (Phase) คือ การเรียกตำแหน่งบนคลื่น โดยมีความสัมพันธ์กับการกระจัดของการเคลื่อนที่ของคลื่น
7. คาบ (Period : T) คือ เวลาของการเกิด 1 คลื่น วัดเวลาจากเฟสถึงเฟส ของคลื่นที่ต่อเนื่อง (วินาที/รอบ)
8. ความถี่ (Frequency ; f) คือ จำนวนคลื่นใน 1 หน่วยเวลา ( เฮิรตซ์:Hz) หรือ (รอบ/วินาที)
9. หน้าคลื่น (Wave front) คือ แนวทางเดินของตำแหน่งบนคลื่นที่มีเฟสเท่ากัน ในคลื่นขบวนหนึ่งอาจมีหน้าคลื่นกี่
หน้าก็ได้ และหน้าคลื่นที่ติดกันจะห่างกันเท่ากับความยาวคลื่น
10. รังสี (Ray) คือ เส้นแสดงแนวหรือทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น โดยรังสีของคลื่นจะมีทิศตั้งฉากกับหน้าคลื่นเสมอ

https://www.slideshare.net/

นางสาวณภาภัช เลิศประภารัตนะ ชั้น ม.6/1 เลขที่ 19

คลื่น

อัตราเร็วของคลื่น

1. อัตราเร็วคลื่น (V) หรือเรียกว่า อัตราเร็วเฟส คือ สูตร s = ระยะทาง (เมตร)
อัตราเร็วคลื่นที่เคลื่อที่ในเวลา1วินาที (หน่วย :เมตร/วินาที) t = เวลาต่างกัน จุด 2จุด (วินาที)

f = ความถี่ของคลื่น (เฮิรตซ์)
v = อัตราเร็วของคลื่น (เมตร/วินาที)

= ความยาวคลื่น (เมตร)

2. อัตราเร็วของอนุภาคตัวกลาง เป็นการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิก

2.1 อัตราเร็วที่สันคลื่นกับท้องคลื่น เป็นศูนย์
2.2 อัตราเร็วอนุภาคขณะผ่านแนวสมดุล มีอัตราเร็วมากที่สุด
2.3 อัตราเร็วอนุภาคขณะมีการกระจัดใดๆ จากแนวสมดุล

Ø = เฟสที่ต่างกันระหว่างจุด 2จุด (องศา)
x = ระยะการกระจัดที่ต่างกันของจุด 2จุด (เมตร)
t = เวลาต่างกัน จุด 2จุด (วินาที)
f = ความถี่ของคลื่น (เฮิรตซ์)
v = อัตราเร็วของคลื่น (เมตร/วินาที)

= ความยาวคลื่น (เมตร)

https://www.facebook.com/vesolvephysics/

3.คลื่นผิวน้ำ

https://119.46.166.126/self_all/ https://ondemand.in.th/ฟิสิกส์

4. อัตราเร็วคลื่นในเส้นเชือก ขึ้นอยู่กับแรงตึงเชือก(T) และค่าคงตัวของเชือก (u) ซึ่งเป็นค่ามวลต่อความยาวเชือก

สูตร T ความยาวเส้นเชือก (นิวต้น)

µ มวลต่อหนึ่งหน่วยความยาว (กิโลกรัม/เมตร)
V อัตราเร็วของคลื่นในเส้นเชือก (เมตร/วินาที)

https://www.slideshare.net/

นางสาวณภาภัช เลิศประภารัตนะ ชั้น ม.6/1 เลขที่ 19

แบ่งการสะท้อนของคลื่นออกเป็น 4 ลักษณะ ดังนี้

1. ปลายตรึง คลื่นที่สะท้อนมีเฟสตรงข้ามกับคลื่นตกกระทบ https://www.scimath.org/
เพราะ คลื่นรวมกันแบบหักล้าง
2. ปลายอิสระ คลื่นที่สะท้อนจะไม่กลับเฟส เพราะคลื่นรวมกันแบบเสริม
3. ผ่านจากตัวกลางที่มีความหนาแน่นมากกว่า -> ความหนาแน่นน้อยกว่า
ส่วนหนึ่งจะสะท้อนกลับโดยไม่กลับเฟส อีกส่วนหนึ่ง
จะเคลื่อนไปในอีกตัวกลางหนึ่งโดยเฟสเดิมแต่ความเร็วเปลี่ยนไป
4. ผ่านจากตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อยกว่า -> ความหนาแน่นมากกว่า
ส่วนหนึ่งจะสะท้อนกลับและกลับเฟส 180 องศา
อีกส่วนหนึ่งจะเคลื่อนที่ผ่านไปโดยความเร็วเปลี่ยนไป

กฎการสะท้อนประกอบด้วยกฎ 2 ข้อ ดังนี้

1. มุมตกกระทบ เท่ากับ มุมสะท้อน (θi=θr)

2. รังสีตกกระทบ เส้นปกติและรังสีสะท้อน
อยู่ในระนาบเดียวกัน

http://119.46.166.126/self_all/selfaccess11/m5/ https://www.physicskoake.com/
physics5_2/lesson3/content1.php

ตอบ 3 เพราะ
การสะท้อนแบบผ่านจากตัวกลาง
ที่มีความหนาแน่นน้อยกว่า -> ความหนาแน่นมากกว่า
ส่วนหนึ่งจะสะท้อนกลับและกลับเฟส 180 องศา
อีกส่วนหนึ่งจะเคลื่อนที่ผ่านไปโดยความเร็วเปลี่ยนไป

น.ส. พุฒิพร เลาหไทยมงคล ม.6/1 เลขที่ 20

ก า ร หั ก เ ห ข อ ง ค ลื่ น

rreeffrraaccttiioonn

การหักเหของคลื่น

เกิดขึ้นเมื่อคลื่นเดินทางผ่านตัวกลางหนึ่ งไปสู่ อีกตัวกลางหนึ่ ง
ซึ่งทำให้ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นเปลี่ยนไปจากแนวเดิม
เป็นผลจากการเปลี่ยนความเร็วของคลื่น
แต่ในการหักเหของคลื่นปริมาณของคลื่นที่ไม่เปลี่ยนแปลงคือ ความถี่ของคลื่น

ความหนาแน่ นมากกว่าไปสู่ ความหนาแน่ นน้ อยกว่า

คลื่นจะเบนออกจากเส้ นปกติ ดังรู ป (i)

ความหนาแน่ นน้ อยกว่าสู่ ความหนาแน่ นมากกว่า

คลื่นจะเบนเข้าหาเส้ นปกติ ดังรู ป (ii)

*ความหนาแน่ นแปรผันตรงกับดัชนี การหักเห

และแปรผกผันกับความเร็ว

https://www.scimath.org/lesson-physics/item/7211-1 มิราจ (Mirage)

ทำให้เกิดมุมหักเหที่มีขนาด 90 องศา เกิดจากการสะท้อนกลับหมดของคลื่น(แสง)
จะเกิดการสะท้อนกลับหมด
เรียกมุมตกกระทบนี้ ว่า
"มุมวิกฤติ" (Critical angle,θc)
คลื่นจะเกิดการสะท้อนกลับหมด
โดยไม่ผ่านเข้าไปในตัวกลางที่สอง

กฎการหักเหของแสง https://www.scimath.org/lesson-physics/item/7211-1

1. รังสี ตกกระทบ เส้ นแนวฉาก และรังสี หักเห อยู่ในระนาบเดียวกัน

2. ตัวกลางคู่หนึ่ ง อัตราส่ วนระหว่างค่า sin ของมุมตกกระทบ ในตัวกลางหนึ่ งกับ

ค่า sin ของมุมหักเหในอีกตัวกลางหนึ่ ง มีค่าคงที่เสมอ

จากรู ป แสดงหน้ าคลื่นตกกระทบและหน้ าคลื่นหักเห จากกฎข้อ 2 สเนลล์นำมาตั้งเป็นกฎของสเนลล์ได้ดังนี้
ของคลื่นผิวน้ำที่เคลื่อนที่จากเขตน้ำลึกไปยังเขตน้ำตื้น
เมื่อ กข คือเส้ นรอยต่อระหว่างน้ำลึกและน้ำตื้น https://sites.google.com/site/khlunphysics/
จงหาอัตราส่ วนความเร็วของคลื่นในน้ำลึกต่อ
ความเร็วของคลื่นในน้ำตื้น:

httpse:n//twr%w2w0.arnmcuet3p8h-y4s3i/cesn.ctoramn/cceh4a3r-u1d-1/e.hnttmralnce/

น.ส. พุฒิพร เลาหไทยมงคล ม.6/1 เลขที่ 20

Interference การแทรกสอดของคลื่น

เกิดจากคลื่น2ขบวนที่มัลักษณะเหมือนกัน/เกิดจาก
แหล่งกำเนิดเดียวกัน (แหล่งกำเนิดอาพันธ์)เคลื่อน
มารวมกัน

ที่มา http://wavesrp512.blogspot.com/2014/07/blog-post_8214.html

same เจอกัน
=>แทรกสอดแบบเสริม : ปฏิบัพ(Antinode)

- สันคลื่น - สันคลื่น , ท้องคลื่น - ท้องคลื่น

ที่มา https://www.slideserve.com/keegan-morrow/6490993

Difference เจอกัน
=>แทรกสอดแบบหักล้าง : บัพ(Node)
- สันคลื่น - ท้องคลื่น

ที่มา https://www.slideserve.com/keegan-morrow/6490993

สูตร [หาจุดบนแนว บัพ/ปฏิบัพ] แนวบัพ(N) NOTE

*เฟสตรงกัน {เริ่มต้นที่ A0} A0 = แถบสว่างตรงกลาง
#จำนวนแถบสว่าง
แนวปฏิบัพ(A) n=1,2,3,... 2n+1=An

N0 = แถบมืด
https://sites.google.com/site/ngdsgfdfgdty/khlun-ning #จำนวนแถวมืด

2n=Nn

เฟสตรงข้าม {เริ่มต้นที่ N0}

แนวบัพ(N)
n=0,1,2,3,...
https://sites.google.com/site/ngdsgfdfgdty/khlun-ning

S1P :ระยะจากS1ถึงP แนวปฏิบัพ(A)

S2P :ระยะจากS2ถึงP

d :ระยะห่างS1กับS2

n :ลำดับที่ของบัพ/ปฏิบัพ n=0,1,2,3,...
ก :มุม n=1,2,3,...
https://sites.google.com/site/ngdsgfdfgdty/khlun-ning
https://sites.google.com/site/ngdsgfdfgdty/khlun-ning

Example

น.ส.ภูริชญา พัชรสรวุฒิ เลขที่ 21 ม.6/1

DIFFRACTION การเลี้ยวเบนของคลื่น

เกิดเมื่ อคลื่ นเคลื่ อนไปกระทบกับสิ่งกีดขวาง(บางส่วน)แล้วแผ่กระจาย

อ้ อ ม ไ ป ด้ า น ห ลั ง

1.เลี้ยวเบนผ่านช่องเปิดแคบๆ 2.เลี้ยวเบนผ่านช่องเปิดขนาดใหญ่
ความยาวช่องเปิด<ความยาวคลื่น ความยาวช่องเปิด>ความยาวคลื่น
-ลวดลายการเลี้ยวเบนชัดเจน -ลวดลายการเลี้ยวเบนไม่ชัดเจน
-ไม่มีแนวบัพ(แนวที่หักล้างกัน) -ส่วนใหญ่คลื่นผ่านไปตรงๆ
-มีแนวบัพด้านข้าง
สูตร ;ช่องเปิดเดี่ยว

เกิดการแทรกสอดแบบ เกิดการแทรกสอดแบบ
หักล้าง(บัพ) เสริมกัน(ปฏิบัพ)

ที่ ม า : h t t p s : / / w w w . y o u t u b e . c o m / w a t c h ? v = p t J 1 s d t U U Y E ที่ ม า : h t t p : / / 1 1 9 . 4 6 . 1 6 6 . 1 2 6 / s e l f _ a l l / s e l f a c c e s s 1 1 /
(รูปช่องเปิด3รูป)
m5/physics5_2/lesson4/content1.php
3.การเลี้ยวเบนผ่านช่องเปิดขนาดเล็ก2ช่อง
(สูตร2รูป)

-เหมือนการแทรกสอด

-มีแนวบัพ,ปฏิบัพชัดเจน

สูตร ;ช่องเปิด2ช่อง (ใช้เหมือนการแทรกสอด)

แบบหักล้างกัน(บัพ) แบบเสริมกัน(ปฏิบัพ)

ที่ ม า : h t t p : / / w a v e p h y 5 1 1 . b l o g s p o t . c o m / 2 0 1 4 / 0 7 / d i f f r a c t i o n . h t m l Example

น.ส.ภูริชญา พัชรสรวุฒิ เลขที่ 21 ม.6/1

คลื่นนิ่ง

คลื่นนิ่ง (standing wave) คือการแทรกสอดของ ภาพกการแทรกสอดเกิดบัพ(จุดสีแดง) และปฎิบัพที่
ตำแหน่งเดิม จากคลื่นเหมือนกันสวนทางกัน
คลื่นต่อเนื่อง 2 ขบวนที่มีลักษณะเหมือนกัน
เคลื่อนที่เข้าหากันในตัวกลางเดียวกัน ทำให้เรา
เห็นตำแหน่งบัพและปฏิบัพที่เกิดขึ้นมีตำแหน่งที่
อยู่คงที่แน่นอนไม่มีการย้ายตำแหน่ง จะเห็นว่าบาง
ตำแหน่งไม่มีการสั่นเลย เราเรียกจุดนี้ว่าจุดบัพ
(Node) และมีบางตำแหน่งที่สั่นได้มากที่สุดเรา
เรียกจุดนี้ว่าปฏิบัพ (Antinode)

เขียนรูปสัญลักษณ์ของคลื่นนิ่งด้วยรูป Loop โดย 1 Loop คือระยะ 1 วง วัด
จากบัพ ถึง บัพที่ใกล้กันที่สุดแต่ละ Loop จะมีระยะเท่ากับ ครึ่งหนึ่งของ
ความยาวคลื่น

สูตรหาความยาวคลื่น

สูตรอัตราเร็วในเส้นเชือก

ข้อสอบ คลื่นนิ่งในเส้นเชือกที่ยาว 60 cm. มีจำนวน 3 loop อัตราเร็วคลื่น 20 m/s จงหาว่า
ความถี่คลื่นเป็นกี่เฮิตรซ์

วิธีทำ จะได้ว่า f= 50 Hz

น.ส. ศรีระประภา จุลศรี ม. 6/1 เลขที่ 22

http://www.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/284/6/wave/standing3.html

การสั่นพ้อง

การสั่นพ้องคือการที่วัตถุสั่นด้วยความถี่ธรรมชาติโดยแอมปลิจูดของการสั่นมากขึ้นเรื่อยๆ ถ้า
เป็นคลื่นเสียงก็จะทำให้เสียงดังมากขึ้น จนอาจทำให้วัตถุเสียหายได้ หรือเกิดความรำคาญได้

เมื่อทำให้วัตถุสั่นหรือแกว่งอย่างอิสระ วัตถุจะสั่นหรือแกว่งด้วยความถี่คงที่ค่าหนึ่ง ซึ่ง
เรียกความถี่นี้ว่า “ความถี่ธรรมชาติ”

1. ความถี่ธรรมชาติในการแกว่งของลูกตุ้ม 2. ความถี่ธรรมชาติในการสั่นของมวลติดสปริง

T = คาบการแกว่ง k = ค่านิจสปริง
L = ความยาวลูกตุ้ม m = มวลสปริง
นาฬิกา
g = ความเร่งเนื่องจาก
แรงโน้มถ่วง

3. ความถี่ธรรมชาติของการสั่นของเส้นเชือกที่ขึงตึง
เป็นสมการความสัมพันธ์ได้ว่า
เมื่อ n = 1, 2, 3, ….. ความถี่ เรียกว่า ฮาร์มอนิกที่ n

ดังนั้นจึงเขียนได้ว่า ส

4. ความถี่ธรรมชาติของการสั่นของลำอากาศในท่อ

4.1 ท่อปลายปิดข้างหนึ่ง
5. ความถี่ธรรมชาติของวัตถุแผ่นบาง
เมื่ออากาศในท่อสั่นตามยาว โดยอิสระจะเกิดคลื่นนิ่ง
ขึ่นในท่อ ปลายปิดจะเป็นตำแหน่งบัพ(ของการกระจัด) แผ่นวัตถุบางที่อ่อนตัวแล
ะถูกขึงให้ตึงหรือตรึงขอบได้ เช่น
ปลายเปิดจะเป็นตำแหน่งปฎิบัพ(ของการกระจัด)
แผ่นหน้ากลอง เมื่อทำให้สั่นจะสั่นด้วยความถี่ธรรมชาติได้
เขียนเป็นสมการได้ว่า หลายค่า การศึกษาเกี่ยวกับความถี่ธรรมชาติของแผ่นวัตถุ
บางนี้มีประโยชน์มากในการออกแบบไดอะแฟรมของลำโพง

ข้อสอบ

ในการทดลองการสั่นพ้องของเสียง ขณะเกิดการสั่นพ้องครั้งแรก ลูกสูบอยู่ห่างจากปากหลอดเรโซแนนซ์ 18
เซนติเมตร และเมื่อเกิดการสั่นพ้องครั้งถัดไปจะต้องดึงลูกสูบห่างจากปากหลอดเรโซแนนซ์กี่เมตร

ดังนั้น การสั่นพ้องครั้งถัดไป ให้ = S จะได้

http://nuclear.rmutphysics.com/blog-sci7/?p=19128 น.ส. ศรีระประภา จุลศรี ม. 6/1 เลขที่ 22

อัตราเร็วเสียง

อัตราเร็วของเสียง คือระยะทางที่เสียงเคลื่อนที่ได้ในเวลา 1 วินาที

อัตราเร็วเสี ยงในตัวกลางต่างๆ
เนื่ องจากเสียงเป็นคลื่นตามยาว อัตราเร็วเสียงจะขึ้นอยู่กับระยะห่างระหว่างโมเลกุล
ของตัวกลาง ความยืดหยุ่น และความหนาแน่ นของตัวกลาง โดยทั่วไปอัตราเร็วเสียง
จะมีค่า :

vเสียงในของแข็ง > vเสียงในของเหลว > vเสียงในแก๊ส

อัตราเร็วเสียง v = fλ v = อัตราเร็วเสียง (m/s)
f = ความถี่ของแหล่งกำเนิ ดเสียง (Hz)
λ = ความยาวคลื่น (m)

อัตราเร็วเสี ยงในอากาศ
เนื่ องจากความยืดหยุ่นและความหนาแน่ ของตัวกลางต่างขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ ดังนั้ น
อัตราเร็วเสี ยงในอากาศจึงขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ

"อัตราเร็วเสี ยงในอากาศจะแปรผันตรงกับ v Tk อุณหภูมิในหน่ วยเคลวิน

∝รากที่สองของอุณหภูมิสั มบูรณ์ "

ที่อุณหภูมิ 0°C หรือ 273.15 K อัตราเร็วของเสียงในอากาศจะมีค่าเท่ากับ 331m/s

ซึ่งจะได้เป็นสมการอัตราเร็วเสียงในอากาศ v = 331 + 0.6Tc อุณหภูมิในหน่ วย °C
สมการนี้ ใช้ได้เมื่อ Tc อยู่ระหว่าง -50°C ถึง +50°C

64. เครื่องบินลำหนึ่ งกำลังบินไปทางหอบังคับการบินโดยมีอัตราเร็วสัมพันธ์กับอากาศ
เป็น 170 เมตร/วินาที ขณะที่อยู่ห่างจากหอบังคับการบิน 3 กิโลเมตร ได้ส่งสัญญาณเสียง
ความถี่สูงไปยังหอบังคับการบิน ถ้าขณะนั้ นมีลมปะทะมาจากด้านหน้ าเครื่องบินด้วย
อัตราเร็ว 50 กิโลเมตร/วินาที เทียบกับพื้นดินสัญญาณเสียงจะไปถึงหอบังคับการบินใน
เวลากี่วินาที ถ้าอัตราเร็วเสียงในอากาศเป็น 340 เมตร/วินาที (PAT 2 มี.ค. 56)

1. 5.9 2. 6.5 3. 8.8 4. 10.3

วิธีทำ

V เสียงเทียบโลก = V เสียงในอากาศ - Vลม = 340 - 50 = 290 m/s

หาเวลา t = d = 3000 = 10.3 s
v 290
ตอบ 10.3 วินาที

นางสาวกริมประภา เกิดประกอบ ม.6/1 เลขที่ 23

ความเข้มเสียง

ความเข้มเสียง (Intensity, I)

เสียงจะได้ยินดังหรือเบา ขึ้นอยู่กับพลังงาน(แอมพลิจูด)ของคลื่นเสียง

เสี ยงดัง เสี ยงเบา
- แอมพลิจูดใหญ่ - แอมพลิจูดเล็ก
- ความดันอากาศเปลี่ยนไปมาก - ความดันอากาศเปลี่ยนไปน้ อย

อัตราการถ่ายโอนพลังงาน หรือกำลังเสียง(Power) คือพลังงานเสียงที่

ออกจากแหล่งกำเนิ ดต่อหน่ วยเวลา (P = W )
t

ความเข้มเสียง (Sound Intensity) คือ กำลังเสียงที่ส่งออกไปต่อหน่ วยพื้นที่
ที่ตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นเสี ยง

I = P = P
A 4πR2

https://jackwestin.com/resources/mcat- I = ความเข้มเสียง(W/m2)
content/sound/intensity-of-sound-decibel-units-log-scale A = พื้นที่รองรับ (m2)
P = กำลังเสียงที่ส่งออกมาจากแหล่งกำเนิ ด(W)
R = ระยะทางที่เสียงเคลื่อนที่จากแหล่งกำเนิ ด
มาถึงคนฟัง(รัศมีของทรงกลม) (m)

มนุษย์สามารถได้ยินเสียงที่มีความเข้มอยู่ในช่วง 10-12 W/m2 - 1 W/m2

(KKU) แดงยืนห่างจากลำโพง 40 เมตร จะได้ยินเสียงจากลำโพงพอดี ถ้าเขาเดิน

เข้าไปยืนที่ตำแหน่ งห่างจากลำโพง 10 เมตร จะได้ยินเสียงด้วยค่าความเข้มเสียง

กี่วัตต์/ตารางเมตร

1. 2 x 10-12 2. 4 x 10-12 3. 8 x 10-12 4. 16 x 10-12

วิธีทำ I 0 = 10-12W/m2 ∝I 1 I2 = R0 2
I0 R2
R0 = 40 m 2 40 2
R2 = 10 m R
I2 = ? 10
I2 = I2 = 16 x 10 -12 W/m2
10-12
ตอบ 16 x 10-12W/m2

นางสาวกริมประภา เกิดประกอบ ม.6/1 เลขที่ 23