หลักการวิเคราะห์ผลงานทัศนศิลป์

การวิเคราะหท์ ศั นธาตุในงานทัศนศลิ ป์

รายวชิ า ศลิ ปะ (ทศั นศลิ ป)์
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2

โดย
นางสาวภทั รวดี ศรรี ่งุ เรือง
ตาแหน่ง ครชู านาญการ

โรงเรียนมญั จาศึกษา อาเภอมัญจาครี ี จงั หวัดขอนแก่น
สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 25

หลกั การวเิ คราะห์ทศั นธาตุในงานทศั นศิลป์

การวิเคราะห์ทัศนธาตุในด้านรูปแบบ เป็นการพิจารณาวา่ ศิลปิ นไดม้ ีการนารูปแบบทศั นธาตุใด
มาใชใ้ นการสร้างสรรคผ์ ลงาน ซ่ึงการวิเคราะห์ทศั นธาตุมิใช่มองแค่รูปแบบของทศั นธาตุที่นามาใช้
ในงานเพยี งอยา่ งเดียว แต่จะตอ้ งมองความเป็นเอกภาพของทศั นธาตุท่ีศิลปิ นนามาใชด้ ว้ ย

การสร้างงานทัศนศิลป์ เป็นการนา
ทศั นธาตุต่างๆ มาประกอบกนั เพ่ือให้
เกิดรูปทรงที่มีความเป็ นเอกภาพ มี
คว า มสอ ด ค ล้อ ง กับจุ ด มุ่ งหม าย
รวมท้งั ประกอบดว้ ยความสมดุลของ
ลกั ษณะที่มีความขดั แยง้ หรือตรงกนั
ข้าม ความสมดุลของการซ้ า การ
ประสานของทัศนธาตุต่างๆ รวมท้งั
การจัดวางสัดส่ วนและจังหวะที่
เหมาะสมในการสร้างรูปทรง โดยอาจ
ใ ช้ทัศ น ธ า ตุ ใ ด เ พี ย ง ห น่ึ ง เ ดี ย ว ก็ ไ ด้
แต่ทว่ั ไป ศิลปิ นจะเลือกใช้ทศั นธาตุ
รวมกนั หลายๆ อย่าง โดยมีทศั นธาตุ
บางอยา่ งเป็ นจุดเด่นและทศั นธาตุอ่ืน
เป็ นจุดรอง

เราสามารถวิเคราะห์ทศั นธาตุในผลงานทศั นศิลป์ ตามที่สายตาเรามองเห็น โดยพิจารณาจากความ
เป็ นเอกภาพ อนั หมายถึง ความสัมพนั ธ์ต่อเน่ืองของส่วนประกอบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นจุด เส้น รูปร่วง
รูปทรง มวล ปริมาตร พ้ืนผิว ที่ว่าง สี น้าหนกั ฯลฯ โดยสิ่งเหล่าน้ีจะตอ้ งมีความสัมพนั ธ์ต่อเนื่องกนั
เป็นอยา่ งดี แต่ถา้ เราใหส้ ่ิงดงั กล่าวแข่งกนั แสดงจุดเด่น กย็ อ่ มเป็นการทาลายความเป็นเอกภาพ

ส่วนประกอบสาคญั ของความเป็นเอกภาพ มีดงั น้ี

เอกภาพของเส้ น

เส้น คือ จุดจานวนมากท่ีนามาเรียงติดต่อเชื่อมโยงกนั ดงั น้นั การใชเ้ ส้นในงานทศั นศิลป์ จะตอ้ ง
คานึงถึงความเป็นเอกภาพดว้ ย ซ่ึงลกั ษณะของความเป็นเอกภาพของเสน้ มีดงั น้ี

๑ . ก า ร ใ ช้ เ ส้ น แ บ บ ลกั ษณะเส้นท่ีขดั แยง้ กนั ทิศทางเส้นท่ีขดั แยง้ กนั
ขัดแย้ง เส้นจะมีลกั ษณะ
ทิ ศ ท า ง แ ล ะ ข น า ด ที่
แตกต่างกนั ซ่ึงการใชเ้ ส้น
แบบขดั แยง้ ให้มีเอกภาพ
สามารถทาไดโ้ ดยนาเส้น
ที่มีลักษณะ ทิศทาง และ
ขนาดท่ีแตกต่างกันมาใช้
ร่ ว ม กั น เ พื่ อ ใ ห้ ง า น
ทัศนศิลป์ น้ันเกิดความ
สมดุล

๒. การใช้เส้นแบบประสาน เส้นจะมีลกั ษณะทิศทางและขนาดที่ซ้ากนั ซ่ึงสามารถมองเห็นการ
เคลื่อนไหวและจงั หวะท่ีเกิดข้ึนได้ ซ่ึงการใช้เส้นให้เกิดเอกภาพอย่างสมบูรณ์น้ัน จะตอ้ งนาเส้นแบบ
ขดั แยง้ และแบบประสาน มาประกอบกนั โดยมีจงั หวะของการซ้าในสดั ส่วนท่ีพอเหมาะ ซ่ึงจะทาใหภ้ าพ
มีจุดเด่น

การซ้าของเส้นต้งั ทาให้ การซ้าของเส้นนอนใหจ้ งั หวะ การซ้าของเสน้ ลูกคลื่น
เกิดจงั หวะและความ และความเคลื่อนไหวอีก ใหค้ วามเคลื่อนไหวและ
ลกั ษณะหน่ึง
เคลื่อนไหว จงั หวะท่ีต่อเนื่อง

เอกภาพของรูปร่างและรูปทรง

รูปร่างและรูปทรงเป็ นทศั นธาตุหลกั ของการรับรู้ ท้งั น้ีรูปร่างและรูปทรงในงานทศั นศิลป์ จะมี
หลายลกั ษณะ เมื่อเราจะนามาประกอบกนั ผูส้ ร้างสรรคง์ าทศั นศิลป์ จะตอ้ งพิจารณาถึงการจดั ใหเ้ กิด
เอกภาพดว้ ยการทาซ้า การเปล่ียนแปลงขนาดและทิศทาง ซ่ึงลกั ษณะของความเป็นเอกภาพของรูปร่าง
และรูปทรง มีดงั น้ี

๑. การใช้รูปร่างและรูปทรงแบบขัดแย้ง คือ การใชล้ กั ษณะของรูปร่างและรูปทรงที่แตกต่างกนั
เช่น แตกต่างกันทางความกวา้ ง ความแคบ ความใหญ่ ความกลม ความเหลี่ยม ความเรียบง่าย

ความซบั ซอ้ น เป็นตน้

ลกั ษณะขดั แยง้ กนั ระหวา่ ง ขนาดขดั แยง้ กนั ทิศทางขดั แยง้ กนั
ความเรียบง่ายกบั ความ

ซบั ซอ้ น

๒. การใช้ รูปร่ างและรูปทรง การซ้า การเปลี่ยนแปลงของขนาด
แบบประสาน เป็ นการนารูปร่าง ความเด่นเกิดจากทิศทาง ความเด่นเกิดจากรูปร่าง
และรู ปทรงที่ มีรู ปแบบเหมื อนกนั
มาซ้ าลงในงาน เพ่ือให้เกิดความ
เป็นเอกภาพข้ึน โดยการซ้ากนั ของ
รูปร่างและรูปทรงจะมีความเป็ น
เอ กภ าพ อ ยู่ ถึ งแม้ว่าจะ มี การ

เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง ข น า ด แ ล ะ ทิ ศ ท า ง
ก็ตาม แต่ถ้าใช้รูปร่างหรือรูปทรง
แ บ บ ขั ด แ ย้ง ม า ผ ส ม กั น แ บ บ

ประสาน จะทาให้มีความเป็ น
เอกภาพมากข้ึน และช่วยให้เรา
สามารถกาหนดจุดเด่นของผลงาน
ไดง้ ่าย

เอกภาพของทวี่ ่าง

ในท่ีน้ีความหมายของท่ีวา่ ง
คือ อากาศที่โอบลอ้ มรูปทรง
และระยะห่ างระหว่างรู ปร่ าง
และรูปทรง หรือท่ีเรียกกนั ว่า
“ช่องไฟ” ซ่ึงจะขัดแยง้ หรือ
ประสานกันก็ได้ ความเป็ น
เอกภาพจะเกิดได้ ก็ต่อเม่ือ
พ้ืนที่วา่ งกบั รูปร่างและรูปทรง
มีสัดส่ วนที่พอเหมาะ หรื อ
มีพ้ืนท่ีที่เกิดจากระยะห่ าง
ระหว่างรู ปร่ างและรู ปทรง
มีการจัดวางอย่างเหมาะสม
ลงตวั

เอกภาพของนา้ หนักอ่อน-แก่

วิธีการใช้น้าหนักอ่อน-แก่ให้มีเอกภาพ คือ การใช้น้าหนักความอ่อนแก่ของสีดาและสีขาว ซ่ึง
ลกั ษณะของความเป็นเอกภาพของน้าหนกั อ่อน-แก่ มีดงั น้ี

๑. การใช้ น้าหนัก การตดั กนั
แบบขัดแย้ง คือ การ ของสีดาและสีขาว
ตัดกันของสี ดาบนสี
ขาว เป็นการขดั แยง้ กนั การตดั กนั
อย่างมากของน้ าหนัก ของสีเทาอ่อนและสีดา
ส่ ว น ก า ร ตัด กัน ข อ ง สี
เทาแก่กบั สีขาวหรือสี การตดั กนั
เทาอ่อนกับสีดา เป็ น ของสีเทาแก่และสีขาว
การตัดกันที่น้อยกว่า
ของน้าหนกั

๒. การใช้นา้ หนักแบบประสาน คือ การใชน้ ้าหนกั ของสีดากระจายไปบนท่ีวา่ งสีขาว จะไดเ้ อกภาพ
ของน้าหนักแบบการซ้า และเมื่อเราใช้สีเทาแก่หรือสีเทาอ่อนเชื่อมประสานกนั ก็จะเกิดความเป็ น
เอกภาพมากข้ึน

การใชห้ น่วยที่มีน้านกั ดากระจาย การใช้น้ าหนักเทาเพ่ือลดความขัดแย้งของ
ไปบนที่วา่ งขาวจะไดเ้ อกภาพแบบการซ้า น้าหนกั ดากบั ขาวเป็นลกั ษณะของการประสาน
ใหเ้ กิดเอกภาพ

เอกภาพของพืน้ ผวิ

คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง พ้ื น ว ัต ถุ ใ น ง า น
ทศั นศิลป์ และงานออกแบบท่ีสามารถ
รับรู้ไดด้ ว้ ยตา ลกั ษณะพ้ืนผิวจะปรากฏ
อยใู่ นเส้น น้าหนกั และสี ซ่ึงจะช่วยเนน้
ทศั นธาตุอื่นๆ ให้มีความโดดเด่นมาก
ข้ึนลกั ษณะพ้ืนผิวในงานทศั นศิลป์ จะมี
ท้ั ง แ บ บ ที่ ขั ด แ ย้ ง กั น แ ล ะ แ บ บ
ประสานกนั ถา้ ใช้ลกั ษณะพ้ืนผิวแบบ
ขดั แยง้ กต็ อ้ งกาหนดพ้ืนผิวของส่ิงต่างๆ
ให้ตัดกัน เช่น ความหยาบกับความ
ละเอียด ความขรุขระกับความเรี ยบ
ความมนั กบั ความดา้ น เป็นตน้

การใชล้ กั ษณะพ้ืนผวิ โดยวธิ ีการขดั แยง้

เอกภาพของสี

สีมีคุณลกั ษณะพิเศษนอกเหนือไปจากทศั นธาตุอ่ืน ๒ ประการ คือ ความเป็นสี (Hue) เช่น ความเป็น
สีแดง ความเป็นสีเหลือง เป็นตน้ และความเขม้ จดั ของสี (Intensity) ดงั น้นั การใชส้ ีใหม้ ีเอกภาพจึงตอ้ ง
คานึงถึงคุณลกั ษณะพิเศษท้งั ๒ ประการน้ีดว้ ย

ลกั ษณะของความเป็นเอกภาพของสี มีดงั น้ี ๑. การใช้ สีแบบขัดแย้ง

การขดั แยง้ ของสีจะมีความ
เด่นชดั กวา่ ความขดั แยง้ ของ
ทัศนธาตุอื่น ท้ังน้ี สีคู่ตรง
ขา้ มในวงสีธรรมชาติเป็ นสี
ที่ตดั กนั อยแู่ ลว้ ส่วนการตดั
กนั ของสีที่ไม่ใช่คู่ตรงข้าม

ในวงสีธรรมชาติ ถ้าเป็ น
การตดั กนั ของสีท่ีมีความจดั
มาก จะมีความขัดแย้งกัน
มากกว่าสีที่มีความจดั น้อย
และ ย่ิง สี หม่ นลง เ ท่ าใด
ความขัดแยง้ ก็จะย่ิงลดลง
มาก จนกลายเป็ นความ
กลมกลืนกนั ในที่สุด

๒.การใช้สีแบบประสาน การใช้สีสีเดียว
โดยมีน้ าหนักอ่อน-แก่ เป็ นการใช้สี แบบ
ประสานซ่ึงมีวิธีการง่ายๆ คือ เลือกใช้สีท่ีมี
น้าหนกั ใกลเ้ คียงกนั ในวงสีธรรมชาติ หรือใช้
สีที่มีความหม่นเท่าๆ กนั ก็จะทาให้ผลงานดู
ประสานกลมกลืน


การวิเคราะห์ผลงานทัศนศิลป์ คืออะไร

การวิเคราะห์งานทัศนศิลป์ การวิเคราะห์งานศิลปะ หมายถึง การพิจารณาแยกแยะศึกษาองค์รวมของงานศิลปะออกเป็นส่วนๆ ทีละประเด็น ทั้งในด้านทัศนธาตุ องค์ประกอบศิลป์ และความสัมพันธ์ต่างๆ ในด้านเทคนิคกรรมวิธีการแสดงออก เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาประเมินผลงานศิลปะว่ามีคุณค่าทางด้านความงาม ทางด้านสาระ และทางด้านอารมณ์ความรู้สึกอย่างไร

ขั้นตอนการวิเคราะห์ผลงานทัศนศิลป์ตามหลักการมีกี่ขั้นตอน

ขั้นตอนการวิจารณ์งานศิลปะ.
ขั้นการบรรยาย (Description).
ขั้นการวิเคราะห์ (Analysis).
ขั้นการตีความหมาย (Interpretation).
ขั้นการตัดสิน (Judgment).

การวิเคราะห์ผลงานทัศนศิลป์มีความสำคัญอย่างไร

ประโยชน์ ของการวิจารณ์งานทัศนศิลป์ 1. มีโอกาสแสดงแนวความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง 2. รับทราบแนวความคิดของผู้อื่นเพื่อนาไปปรับปรุง แก้ไขและพัฒนาให้ผลงานของตนเองดีขึ้น 3. เกิดพลังที่จะสร้างผลงานศิลปะต่อไป

หลักการวิเคราะห์แนวคิดในงานทัศนศิลป์มีอะไรบ้าง

2. หลักการวิเคราะห์แนวคิดในงานทัศนศิลป์ 2.1วิเคราะห์จุดมุ่งหมาย 2.2วิเคราะห์รูปแบบและรูปทรง 2.3วิเคราะห์การใช้วัสดุและเทคนิค 2.4วิเคราะห์แนวคิดในการถ่ายทอดอดีตและปัจจุบัน