สารเคมีกําจัดวัชพืช มีอะไรบ้าง

สารเคมีกําจัดวัชพืช มีอะไรบ้าง
การกำจัดวัชพืชโดยใช้สารเคมีหมายถึง การใช้ยา และสารเคมีป้องกันกำจัดวัชพืช ในสวนป่า ซึ่งส่วนมากจะใช้วิธีนี้กับวัชพืชที่กำจัดโดยวิธีอื่นได้ยาก และเป็นวัชพืชชนิดที่ระบาดรุนแรง และทำความเสียหายให้แก่ต้นไม้ในสวนป่าเป็นอย่างมาก เช่น หญ้าคา
สารเคมีกําจัดวัชพืช มีอะไรบ้าง
ชนิดของสารเคมี แบ่งออกได้เป็น ๒ พวกใหญ่ ๆ คือ
สารเคมีกําจัดวัชพืช มีอะไรบ้าง
๑. ยาคุม (Pre-emergence herbicide)
สารเคมีกําจัดวัชพืช มีอะไรบ้าง
ใช้คุมก่อนวัชพืชงอก
สารเคมีกําจัดวัชพืช มีอะไรบ้าง
๒. ยาฆ่า (Post-emergence herbicide)
สารเคมีกําจัดวัชพืช มีอะไรบ้าง
ใช้ฆ่าวัชพืชที่งอกขึ้นมาแล้ว ซึ่งในกลุ่มนี้ยังแบ่งออกเป็นอีก ๒ ประเภท คือ
สารเคมีกําจัดวัชพืช มีอะไรบ้าง
ก. ประเภทดูดซึม (Systemic herbicide)
สารเคมีกําจัดวัชพืช มีอะไรบ้าง
สารกำจัดวัชพืชชนิดนี้ จะถูกดูดซึม หรือมีความสามารถที่จะดูดซึมไปยังส่วนต่าง ๆ ของวัชพืช ทำให้วัชพืชได้รับสารเคมีเข้าไปตายอย่างถึงรากถึงโคน
สารเคมีกําจัดวัชพืช มีอะไรบ้าง
ข. ประเภทสัมผัสตาย (Contact herbicide)
สารเคมีกําจัดวัชพืช มีอะไรบ้าง
สารประเภทนี้ จะทำลายวัชพืชเฉพาะในบริเวณที่สัมผัสกับยาเท่านั้น บริเวณที่ไม่สัมผัสกับยา เช่น บริเวณราก โคนต้น หรือส่วนที่ซ่อนเร้นอื่น ๆ จึงไม่ถูกทำลาย
ชื่อสามัญ : อะลาคลอร์ (Alachlor) 48% W/V EC กลุ่มสารเคมี : Chloroacetamide [ กลุม K3 ]   ประโยชน์ : ใช้ก่อนวัชพืชงอก (pre-emergence) ในทานตะวัน เพื่อกำจัดวัชพืชประเภทแคบ เช่น หญ้านกสีชมพู หญ้าตีนนก หญ้าตีนกา หญ้าตีนติด และหญ้าขจรจบดอกเหลือง และวัชพืชประเภทใบกว้าง เช่น ผักโขม ปอวัชพืช ลูกใต้ใบ และน้ำนมราชสีห์ วิธี...

ยาฆ่าหญ้าคืออะไร?
ยาฆ่าหญ้า หรือ สารกำจัดวัชพืช (Herbicide หรือ Weedicide) จัดเป็นสารที่ใช้เพื่อควบคุมวัชพืชไม่ให้รบกวนการเจริญเติบโตของพืชที่ปลูกไว้

สารเคมีกําจัดวัชพืช มีอะไรบ้าง
 
สารเคมีกําจัดวัชพืช มีอะไรบ้าง

ประเภทของยาฆ่าหญ้า
ยาฆ่าหญ้า แบบจำแนกตามช่วงเวลาการใช้ ดังนี้
1. สารกำจัดวัชพืชประเภทก่อนปลูก
จัดเป็นสารเคมีที่ใช้พ่นก่อนการตรียมดิน เพื่อฆ่าวัชพืชที่ขึ้นอยู่ก่อน แล้วจึงไถเตรียมดิน หรือใช้พ่นฆ่าวัชพืชแทนการเตรียมดินแล้วปลูกพืชเลย สารกำจัดวัชพืชประเภทนี้ ได้แก่ ไกลโฟเซท (Glyphosate), พาราควอท หรือที่รู้จักกันดีในนาม กรัมม๊อกโซน (Gramoxone)
สรรพคุณ : เป็นยาดูดซึมเพื่อใช้ป้องกันการขึ้นของหญ้า
อาการข้างเคียงหรืออาการที่ไม่พึงประสงค์ : ยับยั้งการหายใจระดับเซลล์ (Cellular Respiration) ในเซลล์พืชและสัตว์ที่มีชื่อว่าไมโทคอนเดรีย (Mitochondria)

2. สารกำจัดวัชพืชประเภทก่อนงอก ส่วนใหญ่เกษตรกรเรียกว่ายาคุมหญ้า
เป็นสารเคมีที่ใช้ฉีดพ่นหลังปลูกพืช และก่อนที่วัชพืชจะงอกในช่วงเวลาประมาณไม่เกิน 10 วัน เป็นการฉีดพ่นลงไปในผิวดินโดยตรง สารเคมีพวกนี้จะเข้าไปทำลายวัชพืชทางส่วนของเมล็ด ราก และยอดอ่อนใต้ดิน โดยต้องฉีดพ่นในสภาพที่ดินมีความชื้นเหมาะสม สารกำจัดวัชพืชประเภทนี้ได้แก่ บิวทาคลอร์, เพรททิลาคลอร์, อ๊อกซาไดอะซอน
สรรพคุณ : ใช้กำจัดวัชพืชประเภทใบแคบและใบกว้าง
อาการข้างเคียงหรืออาการที่ไม่พึงประสงค์ :  คลื่นไส้อาเจียน วิงเวียนศรีษะ เป็นลม และลมหายใจอ่อน

3. สารกำจัดวัชพืชประเภทหลังงอก ส่วนใหญ่เกษตรกรเรียกว่า ยาฆ่าหญ้า
เป็นสารเคมีที่ใช้ฉีดพ่นหลังจากวัชพืชงอกขึ้นมาแล้วในช่วงเวลาเกินกว่า 10 วันขึ้นไป โดยพยายามฉีดพ่นให้สัมผัสส่วนของวัชพืชให้มากที่สุด สารกำจัดวัชพืชประเภทนี้ได้แก่ กลุ่มยา 2,4-ดีโซเดียมซอลท์ หรือที่รู้กันในชื่อ ยาช้างแดง, ยาโปรปานิล ฟิโนซาพรอบ-พี-เอทิล

สรรพคุณ : ใช้ฆ่าหญ้าเพื่อไม่ให้หญ้างอกเร็วเกินไป

อาการข้างเคียงหรืออาการที่ไม่พึงประสงค์ : เมื่อสารเคมีเหล่านี้ สัมผัสถูกบาดแผลจะทำลายชั้นเนื้อเยื่อแบบต่อเนื่องไม่หยุด และมีอาการปวดศีรษะ เหงื่อออกมาก
อ่อนเพลีย คลื่นไส้อาเจียน ลมหายใจมีกลิ่น ปวดท้อง ท้องเสีย เบื่ออาหาร ตาพร่ามัว พูดไม่ชัดกล้ามเนื้อกระตุก กั้นปัสสาวะไม่อยู่ ชักหมดสติ และเสียชีวิตในที่สุดเนื่องจากหัวใจและระบบโลหิตล้มเหลว ดังนั้นเกษตรกรจึงควรตระหนักถึงผลกระทบจากการใช้ยาฆ่ายาทุกชนิดและใช้อย่างระมัดระวัง ใช้อย่างถูกวิธี

สารเคมีกําจัดวัชพืช มีอะไรบ้าง

ยาฆ่าหญ้าแบบจำแนกตามลักษณะการทำลาย

1. สารเคมีกำจัดวัชพืชชนิดดูดซึม

• กลุ่มไกลโฟเซต  เป็นสารเคมีกำจัดวัชพืชทำลายได้ทั้งชนิดใบกว้างและใบแคบ แต่กำจัดได้ดีที่สุดกับชนิดใบแคบ ใช้กำจัดวัชพืชที่มีหัวอยู่ใต้ดิน เช่น หญ้าคา แห้วหมู ไมยราบยักษ์ ใช้ฉีดพ่นทางใบแล้ววัชพืชจะดูดซึมเข้าไปทำลายส่วนต่างๆ อย่างช้าๆ และเห็นผลในสัปดาห์ที่ 3  หากต้องการให้ได้ผลดีต้องฉีดพ่นวัชพืชที่มีใบ 4-8 ใบ หรือต้นที่แก่เต็มที่ หากฉีดพ่นวัชพืชที่มีอายุน้อยมักจะไม่ได้ผล ไกลโฟเสทมีผลตกค้างในดินน้อยมาก เนื่องจากถูกจุลินทรีย์ในดินเป็นตัวย่อยสลาย (ปัจจุบันสำนักงานคุ้มครองสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ หรือ EPA ออกคำแนะนำให้หลีกเลี่ยงการเข้าไปในพื้นที่เกษตรกรรมที่ใช้ยากำจัดวัชพืชชนิดนี้เป็นเวลา 12 ชั่วโมงภายหลังการฉีดพ่น  และในบางประเทศ เช่น โปรตุเกส อิตาลี และนครแวนคูเวอร์ของแคนาดา ได้ออกกฎห้ามใช้สารไกลโฟเซตในพื้นที่สวนสาธารณะต่าง ๆ ขณะที่ทางการศรีลังกาห้ามใช้ไกลโฟเซตเมื่อปี 2015)

• กลุ่ม 2,4-ดีโซเดียมซอลท์ เป็นสารเคมีกำจัดวัชพืชชนิดเลือกทำลาย ใช้ฉีดพ่นทางใบจะเลือกทำลายเฉพาะวัชพืช ใบกว้าง และกก ผักตบชวา ขาเขียด เทียนนา กกขนาก กกทราย หนวดปลาดุก การฉีดพ่นที่ได้ผลดีไม่ควรมีฝนตกนาน 4-6 ชั่วโมง กลุ่ม 2, 4-ดีโซเดียมซอลท์ สลายตัวในดินภายใน 1-4 สัปดาห์

2. สารเคมีกำจัดวัชพืชชนิดเผาไหม้ หรือชนิดสัมผัสตาย

• กลุ่มพาราควอต จัดอยู่ในชนิดเผาไหม้หรือสัมผัสตาย เกษตรกรไทยนิยมใช้ในพืชไร่ เป็นยาเผาไหม้ออกฤทธิ์เร็วมาก ทำให้วัชพืชแห้งเหี่ยวและตายได้ภายใน 2-3 ชั่วโมง โดยไม่มีฤทธิ์ทำลายระบบรากของพืชประธาน ใช้ในไร่อ้อย มันสำปะหลัง ยางพารา  ไม่ว่าจะเป็นพืชใบกว้างหรือใบแคบก็ตาม เป็นสารเคมีที่ออกฤทธิ์ทำลายได้เร็วมาก ดังนั้น ขณะที่ฉีดพ่นควรระวังอย่าให้ละอองสารเคมีไปสัมผัสกับต้นพืชที่ปลูก สารเคมีกำจัดวัชพืชกลุ่มนี้จะสลายตัวได้ 25-50 เปอร์เซ็นต์ เมื่อถูกแสงแดดจ้าภายในเวลา 3 สัปดาห์ นอกจากนี้ เมื่อฉีดพ่นลงดินจะถูกอนุภาคของดินจับสารเคมีพาราควอตได้เกือบร้อยเปอร์เซ็นต์ จึงไม่สามารถทำลายวัชพืชได้เลย (ปัจจุบันมีการห้ามใช้พาราควอต อย่างน้อย 53 ประเทศทั่วโลกที่ ซึ่งรวมถึงประเทศในสหภาพยุโรป ที่ยกเลิกเมื่อปี 2007)

ยาฆ่าหญ้าเข้าสู่ร่างกายได้อย่างไร?

  • การเข้าสู่ร่างกายทางผิวหนัง มีการศึกษาพบว่าร้อยละ 90 ของสารเคมีกำจัดศัตรูพืชหรือยาฆ่าหญ้า จะเข้าสู่ร่างกายผ่านทางผิวหนัง
  • การเข้าสู่ร่างกายทางการหายใจ เกษตรกรที่ฉีดพ่นสารเคมีกำจัดศัตรูพืชหรือยาฆ่าหญ้า และผู้คนที่อยู่ใกล้ชิดในขณะฉีดพ่นจะได้รับสารพิษของยา ผ่านเข้าร่างกายโดยการหายใจ
  • การเข้าสู่ร่างกายโดยการกินหรือกลืน เช่น เมื่อรับประทานอาหารหรือน้ำดื่มที่มีการปนเปื้อนสารเคมีกำจัดศัตรูพืชเข้าไป

ยาฆ่าหญ้ากับผลกระทบต่อสุขภาพ

1. พิษที่เกิดแบบเฉียบพลัน เกิดขึ้นเมื่อได้รับพิษจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชหรือยาฆ่าหญ้าในแบบทันทีทันใด เช่น ปวดศีรษะ มึนงง คลื่นไส้ อาเจียน เจ็บหน้าอก ปวดกล้ามเนื้อ เหงื่อออกมาก ท้องร่วง เป็นตะคริว หายใจติดขัดมอง ไม่ชัด และอาการรุนแรงถึงขึ้นเสียชีวิต

2. ผลกระทบที่รุนแรงเฉพาะส่วน คือ ผลกระทบที่มีผลเพียงบางส่วนต่อร่างกายซึ่งเป็นส่วนที่สัมผัสกับยาฆ่าหญ้าโดยตรง

เช่น ระคายเคืองต่อผิวหนัง เกิดอาการแพ้ ผิวหนังแห้งไหม้ เกิดรอยแดง ระคายเคืองต่อระบบหายใจ มีอาการจามหรือไอ น้ำตาไหล เล็บมือเล็บเท้าเปลี่ยนสีกลายเป็นสีฟ้าและกลายเป็นสีดำ ในรายที่เป็นมากเล็บจะหลุดร่อน

3. พิษที่เกิดแบบเรื้อรัง เกิดขึ้นเมื่อได้รับพิษของยาฆ่าหญ้าเข้าไปแล้ว แต่แสดงผลช้า โดยแสดงอาการในภายหลังได้รับพิษ อาจกินเวลาเป็นเดือนหรือปี จึงแสดงอาการออกมา เช่น เป็นหมัน เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ อัมพฤกษ์ อัมพาต มะเร็ง พาร์กินสัน เป็นต้น

สารกําจัดวัชพืชใบแคบ มีอะไรบ้าง

โพรพานิล (Propanil) เป็นยากำจัดวัชพืชที่ใช้กำจัดวัชพืชพวกใบแคบ เช่น หญ้าข้าวนก หญ้านกสีชมพู หญ้าดอกขาว ฟีโนซาพรอพ-พี-เอ็ทธิล (Fenoxaprop-p-ethyl) เป็นยากำจัดวัชพืชที่ใช้กำจัดวัชพืชประเภทหญ้า เช่น หญ้าดอกขาว หญ้าข้าวนก หญ้านกสีชมพู หญ้าแดง

สารโพรพานิล คืออะไร

Propanil (3,4-dichloropropionanilide) เป็นสารเคมีในกลุ่มสารกำจัดวัชพืชที่จัดอยู่ในกลุ่มของ organic herbicides โดยการออกฤทธิ์ของ propanil นั้น จะยับยั้งการสังเคราะห์แสงของวัชพืชภายหลังการงอก ของวัชพืช (post emergence) ในประเทศไทยนั้นสารกำจัดวัชพืชในกลุ่มนี้มักจะเป็นสารผสมระหว่าง propanil และ butachlor หรือเป็น propanil ...

สารเคมีกําจัดแมลง มีอะไรบ้าง

1. สารเคมีที่ใช้ในการกาจัดแมลง (Insecticides) ารเคมีสาหรับก าจัดแมลงที่มีการใช้ในปัจจุบัน หากแบ่งตามสูตรโครงสร้างทางเคมีจะสามารถแบ่ง ออกได้หลายกลุ่ม ได้แก่ 1.1 Organophosphate และ carbamate 1.2 Organochlorine 1.3 Pyrethrinและ pyrethroid 1.4 Amitraz 1.5 Fipronil 1.6 Macrocyclic lactones 1.7 Neonicotinoids.

สารกำจัดวัชพืชชนิดใดทำลายวัชพืชประเภทใบกว้าง

ชื่อสามัญ : บิวทาคลอร์ (Butachlor) 60% W/V EC กลุ่มสารเคมี : Chloroacetamide ประโยชน์ : ใช้ก่อนวัชพืชงอก (pre-emergence) ในข้าวนาหว่านน้ำตม เพื่อกำจัดวัชพืชประเภทใบแคบ เช่น หญ้าข้าวนก และหญ้าดอกขาว วัชพืชประเภทใบกว้าง เช่น เทียนนา และวัชพืชประเภทกก เช่น กกทราย กกขนาก และหนวดปลาดุก วิธีใช้ : ใช้อัตรา 200-24...