ระบบ การ วางแผน ความ ต้องการ วัสดุ mrp ตัวอย่าง

  • 1. 1 of 26 Pages บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุ Materials Requirements Planning (MRP)
  • 2.
  • 3.
  • 4. (MPS) • ตารางการผลิตหลัก จะแสดงถึงประเภทของผลิตภัณฑ์ที่จะถูกผลิตในแต่ละ สัปดาห์ ไม่ได้เป็นค่าพยากรณ์ความต้องการของลูกค้า • หลังจากจัดทาแผนการผลิตรวม (ซึ่งเป็นแผนระยะ 3-18 เดือน) แล้ว จะต้องทาการ วางแผนต่อไปว่าควรจะกระจายสินค้าแต่ละชนิดไปในแต่ละเดือน แต่ละสัปดาห์ หรือแต่ละวันอย่างไร แผนการผลิตรวม แผนการผลิตหลัก
  • 5. (Disaggregation) ออกเป็นรายผลิตภัณฑ์เสียก่อน ตัวอย่างเช่น ชนิด ต้นงวด มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม ความต้องการจักรยาน 1200 1100 800 แผนการผลิต 1000 1000 1000 ระดับคงคลัง 800 600 500 700 แผนการผลิตรวม ชนิด คงคลัง มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม จักรยานเสือภูเขา 400 400 330 265 จักรยานซิตี้สไตล์ 250 500 290 240 จักรยานเด็ก 150 300 480 295 รวม 800 1200 1100 800 การแตกแผนการผลิตรวม เป็นรายผลิตภัณฑ์ ตารางการผลิตหลัก Master Production Scheduling (MPS)
  • 6. มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม จักรยานเสือภูเขา 400 400 330 265 จักรยานซิตี้สไตล์ 250 500 290 240 จักรยานเด็ก 150 300 480 295 รวม 800 1200 1100 800 จักรยานเสือภูเขา มกราคม กุมภาพันธ์ คงคลังเริ่มต้น = 400 1 2 3 4 1 2 3 4 พยากรณ์ความต้องการผลิต 100 100 100 100 100 80 75 75 ตารางการผลิตหลัก Master Production Scheduling (MPS)
  • 7. Scheduling (MPS) จักรยานเสือภูเขา มกราคม กุมภาพันธ์ คงคลังเริ่มต้น = 400 1 2 3 4 1 2 3 4 พยากรณ์ความต้องการผลิต 100 100 100 100 100 80 75 75 ยอดสั่งซื้อ 200 150 100 50 75 100 50 150 ประมาณการสินค้าที่มีในคลัง 200 50 200 150 75 100 50 75 MPS - - 250 - - 125 - 125
  • 8.
  • 9. (MRP) MRP คือ ระบบสารสนเทศที่ใช้ในการคานวณความต้องการการใช้วัตถุดิบต่างๆ เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการในการผลิตสินค้า ตารางการผลิตหลัก (MPS) ปริมาณสินค้าคงคลัง การวางแผนความ ต้องการวัสดุ (MRP) บัญชีรายการวัสดุ (Bill of Materials, BOM) การสั่งผลิต การสั่งซื้อ การจัดแผนการ ผลิตขั้นละเอียด  
  • 10. materials (BOM) คือ รายการจานวนชิ้นส่วนประกอบทั้งหมดที่ต้องการใช้ใน การประกอบสินค้า และโครงสร้างขององค์ประกอบของสินค้าชนิดนั้นๆ โต๊ะข้างโซฟา ส่วนประกอบบน (1) ส่วนประกอบข้าง (2) B115 (1) B132 (4) B116 (1) C110 (3) N234 (3) N239 (3) C115 (3) ระดับ 0 ระดับ 1 ระดับ 2 ตัวอย่างโครงสร้างผลิตภัณฑ์
  • 11. ปริมาณ 0 โต๊ะ ชิ้น 1 1 ส่วนประกอบบน ชิ้น 1 2 B115 ชิ้น 1 2 C132 ชิ้น 4 1 ส่วนประกอบข้าง ชิ้น 2 2 B116 ชิ้น 1 2 C110 ชิ้น 3 2 N234 ชิ้น 3 2 N239 ชิ้น 3 2 C115 ชิ้น 3 รายการความต้องการวัสดุ บัญชีรายการวัสดุ (BOM)
  • 12. (MRP) MRP คือ ระบบสารสนเทศที่ใช้ในการคานวณความต้องการการใช้วัตถุดิบต่างๆ เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการในการผลิตสินค้า ตารางการผลิตหลัก (MPS) ปริมาณสินค้าคงคลัง การวางแผนความ ต้องการวัสดุ (MRP) บัญชีรายการวัสดุ (Bill of Materials, BOM) การสั่งผลิต การสั่งซื้อ การจัดแผนการ ผลิตขั้นละเอียด   
  • 13. X ดังรูป ก. ปริมาณ A, B, C, D, E ที่ต้องใช้ในการประกอบ X 1 ชิ้น ข. ปริมาณ A, B, C, D, E ที่ต้องสั่งซื้อ/ผลิตเพิ่มเติมในการประกอบ X 10 ชิ้น โดยกาหนดให้มีชิ้นส่วนอยู่ในคลังสินค้าดังตาราง ชิ้นส่วน ปริมาณในคลังสินค้า (ชิ้น) A 10 B 25 C 5 D 40 X A(1) B(4) D(4) E(2) C(2) D(3) D(4)
  • 14. 1 B 4 C 8 D 4+32+12 = 48 E 2 X = 1 A(1) B(4) D(4) E(2) C(2) D(3) D(4) ก. ปริมาณ A, B, C, D, E ที่ต้องใช้ในการประกอบ X 1 ชิ้น 1x1 = 1 4x1 = 4 2x1 = 2 4x1 = 4 2x4 = 8 3x4 = 12 4x8 = 32
  • 15. ปริมาณที่ต้องใช้ (ชิ้น) ปริมาณที่ต้องผลิต/ซื้อเพิ่ม (ชิ้น) A 10 10 - B 25 40 40-25 = 15 C 5 30 30-5 = 25 D 40 45+100 = 145 145-40 = 105 E 0 20 - X A(1) B(4) D(4) E(2) C(2) D(3) D(4) ข. ปริมาณ A, B, C, D, E ที่ต้องสั่งซื้อ/ผลิตเพิ่มเติมในการประกอบ X 10 ชิ้น 1x10 = 10 4x10 = 40 40-25 = 15 2x15 = 30 30-5 = 25 3x15 = 45 4x25 = 100 X = 10
  • 16. LT) การสร้างแผนความต้องการวัสดุจาเป็นจะต้องนา Lead time มาพิจารณาด้วย จัดซื้อวัตถุดิบ G ผลิตชิ้นส่วน D จัดซื้อวัตถุดิบ B จัดซื้อวัตถุดิบ F จัดซื้อวัตถุดิบ B จัดซื้อวัตถุดิบ H จัดซื้อวัตถุดิบ I ประกอบและทดสอบ ขั้นสุดท้าย ชิ้นส่วนประกอบ A ชิ้นส่วนประกอบ B ผลิตชิ้นส่วน C ผลิตชิ้นส่วน E 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 จุดสั่งซื้อ สัปดาห์ ผลิตเสร็จพร้อมส่งมอบ
  • 17. requirements) • การรับของตามกาหนด (scheduled receipts) • ประมาณการพัสดุที่มี (projected on hand) • ความต้องการสุทธิ (net requirements) ความต้องการสุทธิ = ความต้องการรวม – คงคลังที่นาใช้ได้ (available inventory) พัสดุคงคลังที่นามาใช้ได้ = ประมาณการคงคลังที่มี – คงคลังสารอง (safety stock) – คงคลังที่นาไปใช้กับผลิตภัณฑ์อื่น • การรับของตามแผน (planned order receipts) • การสั่งของตามแผน (planned order releases) แผนความต้องการวัสดุ Materials Requirements Planning (MRP)
  • 18. ซึ่งมีความ ต้องการ 50 ชิ้นในสัปดาห์ที่ 4 และ 100 ชิ้นในสัปดาห์ที่ 7 โดยกรอบรูปไม้สัก 1 ชิ้น ประกอบขึ้นมาจากไม้หลัง 1 แผ่น และไม้ขอบ 4 ชิ้น กาหนดให้ • การประกอบกรอบรูปใช้เวลา 1 สัปดาห์ • การสั่งซื้อไม้หลังใช้เวลา 1 สัปดาห์ ปัจจุบันมีไม้หลังมีอยู่แล้วในคลังสินค้า 20 ชิ้น • การสั่งซื้อไม้ขอบใช้เวลา 2 สัปดาห์ ไม้ชิ้นได้มีการสั่งซื้อล่วงหน้าไว้แล้วโดยจะมี การนาส่ง 70 ชิ้นในสัปดาห์ที่ 2 วางแผนความต้องการวัสดุในกรณีดังต่อไปนี้ 1. สั่งซื้อแบบล็อตต่อล็อต 2. สั่งซื้อแบบมีขนาดการสั่งซื้อ (Lot size) โดยการสั่งซื้อไม้หลังมีขนาดล็อต 12 ชิ้น และการสั่งซื้อไม้ขอบมีขนาดล็อต 70 ชิ้น
  • 19. (4) กาหนดให้ • การประกอบกรอบรูปใช้เวลา 1 สัปดาห์ • การสั่งซื้อไม้หลังใช้เวลา 1 สัปดาห์ ปัจจุบันมีไม้หลังมีอยู่แล้วในคลังสินค้า 20 ชิ้น • การสั่งซื้อไม้ขอบใช้เวลา 2 สัปดาห์ ไม้ชิ้นได้มีการสั่งซื้อล่วงหน้าไว้แล้วโดยจะมี การนาส่ง 70 ชิ้นในสัปดาห์ที่ 2 LT การประกอบ = 1 สัปดาห์ LT การสั่งซื้อ = 1 สัปดาห์ LT การสั่งซื้อ = 2 สัปดาห์
  • 20. 2 3 4 5 6 7 8 ปริมาณความต้องการ 50 100 กรอบรูป LT = 1 W สัปดาห์ พัสดุคงคลังเริ่มต้น 1 2 3 4 5 6 7 8 ความต้องการรวม 50 100 การรับของตามกาหนด ประมาณการพัสดุที่มี ความต้องการสุทธิ 50 100 การรับของตามแผน 50 100 การสั่งของตามแผน 50 100 แผนความต้องการวัสดุผลิตภัณฑ์กรอบรูปสั่งซื้อแบบล็อตต่อล็อต
  • 21. 1 W สัปดาห์ พัสดุคงคลังเริ่มต้น 1 2 3 4 5 6 7 8 ความต้องการรวม 50 100 การรับของตามกาหนด ประมาณการพัสดุที่มี 20 20 20 20 ความต้องการสุทธิ 30 100 การรับของตามแผน 30 100 การสั่งของตามแผน 30 100 ไม้ขอบ LT = 2 W สัปดาห์ พัสดุคงคลังเริ่มต้น 1 2 3 4 5 6 7 8 ความต้องการรวม 200 400 การรับของตามกาหนด 70 ประมาณการพัสดุที่มี 70 70 ความต้องการสุทธิ 130 400 การรับของตามแผน 130 400 การสั่งของตามแผน 130 400
  • 22. 2 3 4 5 6 7 8 ปริมาณความต้องการ 50 100 กรอบรูป LT = 1 W สัปดาห์ พัสดุคงคลังเริ่มต้น 1 2 3 4 5 6 7 8 ความต้องการรวม 50 100 การรับของตามกาหนด ประมาณการพัสดุที่มี ความต้องการสุทธิ 50 100 การรับของตามแผน 50 100 การสั่งของตามแผน 50 100 แผนความต้องการวัสดุผลิตภัณฑ์กรอบรูปสั่งซื้อแบบปริมาณคงที่
  • 23. 1 W สัปดาห์ พัสดุคงคลังเริ่มต้น 1 2 3 4 5 6 7 8 ความต้องการรวม 50 100 การรับของตามกาหนด ประมาณการพัสดุที่มี 20 20 20 20 6 6 6 2 2 ความต้องการสุทธิ 30 94 การรับของตามแผน 36 96 การสั่งของตามแผน 36 96 ไม้ขอบ LT = 2 W สัปดาห์ พัสดุคงคลังเริ่มต้น 1 2 3 4 5 6 7 8 ความต้องการรวม 200 400 การรับของตามกาหนด 70 ประมาณการพัสดุที่มี 70 70 10 10 10 30 30 ความต้องการสุทธิ 130 390 การรับของตามแผน 140 420 การสั่งของตามแผน 140 420
  • 24. จากัด ได้ประกอบชุดเครื่องเสียงตามคาสั่งซื้อทางไปรษณีย์โดยในภาพได้แสดงการ ประกอบชุดเครื่องเสียงรุ่น Awesome โดยที่ A ประกอบด้วยชุดลาโพงขนาด 300 วัตต์ B จานวน 2 ชุด และชุด ลาโพงขนาด 300 วัตต์พร้อมตัวปรับขยายสัญญาณ C จานวน 3 ชุด โดยชุด B แต่ละชุด จะประกอบไปด้วย ลาโพงขนาด 300 วัตต์ D จานวน 2 ตัว และกล่องบรรจุ E จานวน 2 กล่อง ซึ่งในกล่องจะมีคู่มือบรรจุอยู่ โครงสร้างผลิตภัณฑ์ “Awesome” (A) B(2) ชุดลาโพง 300 วัตต์ จานวน 2 ชุด C (3) ชุดลาโพง 300 วัตต์ พร้อมตัวขยาย สัญญาณ จานวน 3 ชุด E(2) D(2) ลาโพงขนาด 300 วัตต์ จานวน 2 ชุด กล่องบรรจุและอุปกรณ์ ติดตั้ง ได้แก่ สายไฟ น็อต สกรู E(2) F(2) ชุดลาโพง 300 วัตต์ พร้อมตัวขยายสัญญาณ จานวน 2 ชุด G(1) D(2) ชุดขยายสัญญาณ จานวน 1 ชุด ลาโพง 300 วัตต์ จานวน 2 ชุด ระดับ 0 1 2 3 A
  • 25. B : 2xจานวนความต้องการของ A = (2)(50) = 100 ชิ้นส่วน C : 3xจานวนความต้องการของ A = (3)(50) = 150 ชิ้นส่วน D : (2xจานวนความต้องการของ B) + (2xจานวนความต้องการของ F) = (2)(100) + (2)(300) = 800 ชิ้นส่วน E : (2xจานวนความต้องการของ B) + (2xจานวนความต้องการของ C) = (2)(100) + (2)(150) = 500 ชิ้นส่วน F : 2xจานวนความต้องการของ C = (2)(150) = 300 ชิ้นส่วน G : 1xจานวนความต้องการของ F = (1)(300) = 300
  • 26. 4 5 6 7 8 A วันที่ต้องการใช้ชิ้นส่วน 50 1 สัปดาห์ วันที่ต้องมีการสั่งซื้อหรือสั่งผลิต 50 B วันที่ต้องการใช้ชิ้นส่วน 100 2 สัปดาห์ วันที่ต้องมีการสั่งซื้อหรือสั่งผลิต 100 C วันที่ต้องการใช้ชิ้นส่วน 150 1 สัปดาห์ วันที่ต้องมีการสั่งซื้อหรือสั่งผลิต 150 E วันที่ต้องการใช้ชิ้นส่วน 200 300 2 สัปดาห์ วันที่ต้องมีการสั่งซื้อหรือสั่งผลิต 200 300 F วันที่ต้องการใช้ชิ้นส่วน 300 3 สัปดาห์ วันที่ต้องมีการสั่งซื้อหรือสั่งผลิต 300 D วันที่ต้องการใช้ชิ้นส่วน 600 200 1 สัปดาห์ วันที่ต้องมีการสั่งซื้อหรือสั่งผลิต 600 200 G วันที่ต้องการใช้ชิ้นส่วน 300 2 สัปดาห์ วันที่ต้องมีการสั่งซื้อหรือสั่งผลิต 300 แผนความต้องการวัสดุรวมสาหรับการผลิตชุดเครื่องเสียง Awesome จานวน 50 ชุด
  • 27. โดยใช้ข้อมูลที่ กาหนดให้เพิ่มเติมดังนี้ ชิ้นส่วน ปริมาณสินค้าคงคลัง A 10 B 15 C 20 D 10 E 10 F 5 G 0
  • 28. 4 5 6 7 8 A ความต้องการรวม 50 กาหนดรับสินค้าที่ได้สั่งไว้ก่อนหน้า สินค้าคงคลังที่มีอยู่ 10 10 10 10 10 10 10 10 10 ความต้องการสุทธิ 40 แผนการรับวัสดุ 40 แผนการสั่งวัสดุ 40 B ความต้องการรวม 80 กาหนดรับสินค้าที่ได้สั่งไว้ก่อนหน้า สินค้าคงคลังที่มีอยู่ 15 15 15 15 15 15 15 15 ความต้องการสุทธิ 65 แผนการรับวัสดุ 65 แผนการสั่งวัสดุ 65 C ความต้องการรวม 120 กาหนดรับสินค้าที่ได้สั่งไว้ก่อนหน้า สินค้าคงคลังที่มีอยู่ 20 20 20 20 20 20 20 20 ความต้องการสุทธิ 100 แผนการรับวัสดุ 100 แผนการสั่งวัสดุ 100
  • 29. 4 5 6 7 8 D ความต้องการรวม 130 200 กาหนดรับสินค้าที่ได้สั่งไว้ก่อนหน้า สินค้าคงคลังที่มีอยู่ 10 10 10 10 10 10 ความต้องการสุทธิ 120 200 แผนการรับวัสดุ 120 200 แผนการสั่งวัสดุ 120 200 E ความต้องการรวม 200 กาหนดรับสินค้าที่ได้สั่งไว้ก่อนหน้า สินค้าคงคลังที่มีอยู่ 5 5 5 5 5 5 5 ความต้องการสุทธิ 195 แผนการรับวัสดุ 195 แผนการสั่งวัสดุ 195 F ความต้องการรวม 390 130 กาหนดรับสินค้าที่ได้สั่งไว้ก่อนหน้า สินค้าคงคลังที่มีอยู่ 10 10 10 10 ความต้องการสุทธิ 380 130 แผนการรับวัสดุ 380 130 แผนการสั่งวัสดุ 380 130
  • 30. 4 5 6 7 8 G ความต้องการรวม 195 กาหนดรับสินค้าที่ได้สั่งไว้ก่อนหน้า สินค้าคงคลังที่มีอยู่ 0 ความต้องการสุทธิ 195 แผนการรับวัสดุ 195 แผนการสั่งวัสดุ 195
  • 31. technique) เป็นเทคนิคสั่งซื้อเฉพาะที่ ต้องการ ตัวอย่าง บริษัท Speaker Kits ต้องการคานวณต้นทุนรวมในการสั่งผลิต ต้นทุนการ จัดเก็บสินค้าคงคลัง สาหรับการสั่งงวดต่องวด โดยต้นทุนการสั่งผลิตครั้งละ 100 ดอลลาร์สหรัฐ ต้นทุนจัดเก็บ 1 ดอลลาร์สหรัฐต่อหน่วยต่อสัปดาห์ โดยแผนเป็นดังนี้ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ความต้องการรวม 35 30 40 0 10 40 30 0 30 55 กาหนดรับสินค้าที่ได้สั่งไว้ ก่อนหน้า สินค้าคงคลังที่มีอยู่ 35 35 0 0 0 0 0 0 0 0 0 ความต้องการสุทธิ 0 30 40 0 10 40 30 0 30 55 แผนการรับวัสดุ 30 40 10 40 30 30 55 แผนการสั่งวัสดุ 30 40 10 40 30 30 55
  • 32. order quantity technique) เป็นเทคนิคการคานวณปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด จะเหมาะสมกับความต้องการ ที่คงที่ตลอดเวลา 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ความต้องการรวม 35 30 40 0 10 40 30 0 30 55 กาหนดรับสินค้าที่ได้สั่งไว้ ก่อนหน้า สินค้าคงคลังที่มีอยู่ 35 35 0 43 3 3 66 26 69 69 39 ความต้องการสุทธิ 0 30 0 0 7 0 4 0 0 16 แผนการรับวัสดุ 73 73 73 73 แผนการสั่งวัสดุ 73 73 73 73
  • 33. สัปดาห์ 270 หน่วย เฉลี่ย 27 หน่วยต่อสัปดาห์ 1 ปี 52 สัปดาห์ ดังนั้น ความต้องการรวม 27 x 52 = 1,404 หน่วย คานวณขนาดการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด 73 หน่วย  จานวนครั้งในการปรับเครื่อง = D/Q = 1,404/73 = 19 ครั้งต่อปี  ต้นทุนในการปรับเครื่อง เท่ากับ 19 x 100 = 1,900 ดอลลาร์สหรัฐต่อปี 𝑄 = 2𝐷𝑃 𝐻 EOQ: ตัวอย่าง บริษัท Speaker Kits ต้องการคานวณต้นทุนรวมในการสั่งซื้อประหยัดที่สุด โดยต้นทุนการปรับเครื่องจักรครั้งละ 100 ดอลลาร์สหรัฐ ต้นทุนจัดเก็บ 1 ดอลลาร์ สหรัฐต่อหน่วยต่อสัปดาห์ โดยแผนเป็นดังนี้ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ความต้องการรวม 35 30 40 0 10 40 30 0 30 55
  • 34. 4 5 6 7 8 9 10 ความต้องการรวม 35 30 40 0 10 40 30 0 30 55 กาหนดรับสินค้าที่ ได้สั่งไว้ก่อนหน้า สินค้าคงคลังที่มีอยู่ 35 35 0 43 3 3 66 26 69 69 39 ความต้องการสุทธิ 0 30 0 0 7 0 4 0 0 16 แผนการรับวัสดุ 73 73 73 73 แผนการสั่งวัสดุ 73 73 73 73
  • 35. (Q/2)x(ค่าเก็บรักษา) = (73/2)x(1x52) = 1,898 ดอลลาร์สหรัฐต่อปี  ต้นทุนรวม เท่ากับ ต้นทุนการปรับเครื่อง + ต้นทุนเก็บรักษา = 3,798 ดอลลาร์ สหรัฐต่อปี  พิจารณา 10 สัปดาห์ เท่ากับ 730 ดอลลาร์สหรัฐ
  • 36. 1 สัปดาห์ ยกเว้น C มีเวลานา 2 สัปดาห์ • คงคลัง A=10 B=10 C=20 D=25 วางแผนความต้องการชิ้นส่วน D ทั้งแบบล็อตต่อล็อต และแบบสั่งปริมาณคงที่ โดยขนาดล็อตเป็น 50 ชิ้น กาหนดให้  มีการรับชิ้นส่วน D 100 ชิ้น ในสัปดาห์ที่ 1  ความต้องการ A 40 ชิ้น ในสัปดาห์ที่ 4  ความต้องการ B 60 ชิ้น ในสัปดาห์ที่ 5  ความต้องการ C 30 ชิ้นในสัปดาห์ที่ 6 A D E(2) B D(2) F C D(4) G(6)
  • 37. 2 3 4 5 6 7 8 ปริมาณความต้องการ A ปริมาณความต้องการ B ปริมาณความต้องการ C
  • 38. 3 4 5 6 7 8 D ความต้องการรวม การรับของตามกาหนด ประมาณการพัสดุที่มี ความต้องการสุทธิ การรับของตามแผน การสั่งของตามแผน E ความต้องการรวม การรับของตามกาหนด ประมาณการพัสดุที่มี ความต้องการสุทธิ การรับของตามแผน การสั่งของตามแผน
  • 39. 3 4 5 6 7 8 F ความต้องการรวม การรับของตามกาหนด ประมาณการพัสดุที่มี ความต้องการสุทธิ การรับของตามแผน การสั่งของตามแผน G ความต้องการรวม การรับของตามกาหนด ประมาณการพัสดุที่มี ความต้องการสุทธิ การรับของตามแผน การสั่งของตามแผน

การวางแผนความต้องการวัสดุ มีอะไรบ้าง

การวางแผนความต้องการวัสดุนำมาใช้สำหรับ ความต้องการไม่อิสระ (Dependent Demand) รายการความต้องการแบบไม่ต่อเนื่อง (Discrete Demand Items) สินค้าหลายส่วนประกอบ (Complex Product) การผลิตแบบร้านค้า (Job Shop Production) การประกอบตามคำสั่งซื้อ (Assemble-to-Order) ความต้องการไม่อิสระ (Dependent Demand)

ข้อมูลที่ใช้ในการจัด ทำ MRP มี อะไรบ้าง

ที่ต้องผลิต ข้อมูลที่ใช้ในการจัดทํา MRP ประกอบด้วย 1. MPS ตารางการผลิตที่ระบุถึงเวลา เจาะจงรุ่นผลิตภัณฑ์ กำหนดจํานวน 1 2. Bill of material file (BOM) หรือ product structure tree ลำดับของวัตถุ หรือชิ้นส่วนที่ต้องใช้ตั้งแต่ต้นทางไปถึงผลิตภัณฑ์สุดท้ายว่าผลิตภัณฑ์สุดท้ายที่ผลิต

MRP มีกี่แบบ

การสั่งซื้อในระบบ MRP นี้มีอยู่ด้วยกัน 2 แบบ คือ ขนาดที่แน่นอน และขนาดเท่าที่ต้องการใช้ ซึ่งทั้ง 2 แบบ ก็มีข้อดีข้อเสียที่แตกต่างกัน ดังนั้นในทางปฏิบัติการกำหนดขนาดการสั่งซื้อหรือสั่งผลิต อาจทำได้โดย 1. ขนาดการสั่งซื้อหรือผลิตที่ประหยัด (EOQ)

MRPใช้งานอย่างไร

การทำงานของระบบ MRP โดยระบบ MRP จะรวบรวมคำสั่งซื้อที่ได้รับมาประมวลผล จากนั้นจึงจัดทำแผนความต้องการวัสดุประเภทต่างๆ โดยระบบ MRP จะสามารถตอบโจทย์คำถามเหล่านี้ได้ ต้องสั่งซื้อวัตถุดิบชนิดใด เมื่อไหร่ สั่งปริมาณเท่าไหร่ เพื่อให้การผลิตถูกต้อง ไม่ขาดไม่เกินไปกว่าจำนวนผลิตจริง