การลดการก กกร อนของสน ม ว ธ แคโทรด ด

เผยแพร่: 6 ก.ค. 2559 00:01 ปรับปรุง: 6 ก.ค. 2559 00:05 โดย: MGR Online

"กกร." รับสภาพหั่นเป้าหมายการส่งออกปี 2559 ลดลงจากเดิมโต 0-2% เป็นติดลบ 2%-0%แต่ยังคงเป้า GDPโต3-3.5% เหตุมีการลงทุนจากรัฐ การท่องเที่ยว และการบริโภคที่เริ่มฟื้นตัว เผยการประเมินตัวแปรหลักที่ฉุดส่งออกคืออุตสาหกรรมยานยนต์ฯและไฟฟ้าและอิเล็คทรอนิกส์ ที่ทิศทางเริ่มไม่ดีนัก

นายปรีดี ดาวฉาย กรรมการผู้จัดการ ธนาคารกสิกรไทย ในฐานะประธานคณะกรรมการร่วมภาคเอกชน 3 สถาบันหรือ กกร. เปิดเผยหลงกรประชุม"กกร."เมื่อวันที่ 5 ก.ค.ว่า กกร.ได้ประเมินภาวะการส่งออกและแนวโน้มเศรษฐกิจภาพรวมในปี 2559 พบว่าเศรษฐกิจโลกยังคงผันผวนและไม่แน่นอนโดยเฉพาะหลังประชามติของอังกฤษ(BREXIT) ที่สนับสนุนการถอนตัวออกจากสมาชิกสหภาพยุโรป(อียู) ดังนั้นจึงปรับเป้าการส่งออกจากเดิม0-2% เป็นลบ2-0% แต่ยังคงเป้าการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ(GDP) ในระดับ 3-3.5% เนื่องจากการลงทุนจากรัฐ การท่องเที่ยว และการบริโภคเริ่มขยายตัวเพิ่มขึ้น

"การส่งออกทั้งปีจะติดลบ 2% ซึ่งถือว่า ไม่มากหากเทียบกับหลายประเทศทั่วโลก อย่างไรก็ตามที่ประชุมเห็นว่ากรณี BREXIT นั้นแม้จะไม่กระทบต่อเศรษฐกิจไทยมากแต่กระบวนการเจรจาระหว่างอังกฤษกับอียูยังต้องใช้เวลานานอีกพอสมควรจึงมอบให้คณะอนุกรมการด้านเขตการค้าเสรี(FTA)เข้ามาดูแลเรื่องนี้อย่างใกล้ชิด" นายปรีดีกล่าว

นายเจนนำชัย ศิริ ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย(ส.อ.ท.) กล่าวว่า การส่งออกของไทยภาพรวมนั้นยอมรับว่าจากตัวเลข 5 เดือนแรกที่ติดลบ 1.9% ไปแล้วนั้นจึงได้มาทำการประเมินในช่วงครึ่งปีหลังซึ่งแม้ว่าสัญญาณจะดีขึ้นแต่ภาพรวมก็ยังคงมองว่ายังมีโอกาสติดลบ 2% -0% แต่ก็หวังว่าสัญญาณต่างๆ และความเชื่อมั่นจากการที่สหรัฐฯปรับรายงานการค้ามนุษย์ของไทยเป็น Tier 2

นายวัลลภ วิตนากร รองประธานส.อ.ท.กล่าวว่า การส่งออกที่ปรัลดลงเนื่องจากมีการประเมินทิศทางการส่งออกในครึ่งปีหลังและภาพรวมจากอุตสาหกรรมหลักๆ แล้วพบว่า 2 อุตสาหกรรมหลักได้แก่ ยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์จะติดลบ 4% อุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ภาพจะติดลบประมาณ 5-6% ซึ่งทั้งสองอุตสาหกรรมนี้มีมูลค่าการส่งออกคิดเป็น 37% ของการส่งออกทั้งหมด

" กรณีรถยนต์ขณะนี้ประเทศตะวันออกกลางซึ่งเป็นตลาดหลักเริ่มชะลอซื้อเพราต้องการระบายสต็อกเก่าเพื่อปรับสู่มาตรฐานใหม่ที่จะลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลง เช่นเดียวกับอินโดนีเซียเริ่มผลิตรถรุ่นวีออสทำให้การนำเข้าลด ขณะที่อิเล็กทรอนิกส์เองการส่งออกฮาร์ดดิสไดรท์(HDD)เริ่มชะลอตัว ฯลฯ ขณะที่อุตสาหกรรมอื่นๆเช่นข้าว น้ำตาล อาหารน่าจะเป็นบวกแต่มูลค่ายังต่ำ"นายวัลลภกล่าว

�繡�û�ͧ�ѹ��á��͹�ͧ���硴��¡�÷�����Ǣͧ��������µ�ͻ�ԡ����� �¹�����仪غ���µ���͡��䴫��� �ô乵�ԡ ���Դ���͡䫴�ҧ � ���ͺ����Ǣͧ���� ���͡������������������ŧ����͹��ö¹���л�ͧ�ѹ����Դʹ�����蹡ѹ

เซลล์ไฟฟ้าเบื้องต้น

ไฟฟ้าเกิดจากการทำปฏิกิริยาเคมี ทำได้โดยการนำแท่งวัตถุต่างกัน 2 ชนิด เช่นแท่งสังกะสีและแท่งทองแดง นำไปจุ่มลงในกรดกำมะถันเจือจางหรือกรดซัลฟูริก ที่ถูกเรียกว่า อิเล็กโตรไลต์ (Electrolyte) ใส่ไว้ในโถแก้ว ผลดังกล่าวทำให้เกิดการแยกตัวของประจุไฟฟ้าขึ้น แท่งสังกะสีแสดงศักย์ไฟฟ้าออกมาเป็นลบ แท่งทองแดงแสดงศักย์ไฟฟ้าออกมาเป็นบวก การตรวจสอบโดยการนำมิเตอร์ไปต่อคร่อมระหว่างขั้วทั้งสอง มิเตอร์จะแสดงค่าแรงดันออกมา ส่วนประกอบของไฟฟ้าเกิดจากการทำปฏิกิริยาทางเคมีเบื้องต้นนี้ เรียกว่า โวลตาอิกเซลล์ (Voltaic cell) หรือเซลล์กัลวานิก

การลดการก กกร อนของสน ม ว ธ แคโทรด ด

ภาพประกอบบทเรียนเซลล์ไฟฟ้าเบื้องต้น ที่มา https://pixabay.com ,OpenClipart-Vectors

เซลล์กัลวานิก (Galvanic cell) คือ เซลล์ไฟฟ้าเคมีชนิดหนึ่งที่เปลี่ยนพลังงานเคมีเป็น พลังงานไฟฟ้า โดยทั่วไป ประกอบด้วยครึ่งเซลล์ 2 ครึ่งเซลล์มาต่อเข้าด้วยกัน และเชื่อมวงจรภายในให้ครบวงจรโดยใช้สะพานไอออนต่อไว้ระหว่างสารละลายในแต่ละครึ่งเซลล์

การลดการก กกร อนของสน ม ว ธ แคโทรด ด

รูปที่ 1 แสดงอิเล็กตรอนไหลในเซลล์จากขั้วแอโนด (-) ไปยังขั้วแคโทด (+) อิเล็กตรอนเกิดจากปฏิกิริยาออกซิเดชันที่ขั้วแคโทด และอิเล็กตรอนไหลเข้าหาขั้วแคโทดเกิดปฏิกิริยารีดักชัน ที่มา : https://binicookese.wordpress.com/2015

ครึ่งเซลล์ (Half cell) คือ ระบบที่มีสารจุ่มอยู่ในไอออนของสารนั้น ถ้าสารที่จุ่มเป็นโลหะก็ใช้โลหะนั้นเป็นขั้ว เช่น Zn จุ่มใน Zn2+ Zn ทำหน้าที่เป็นขั้วไฟฟ้า

การลดการก กกร อนของสน ม ว ธ แคโทรด ด

แสดงครึ่งเซลล์สังกะสี และครึ่งเซลล์ทองแดง ที่มา : http://119.46.166.126/self_all/selfaccess12/m6/704/lesson1/index4.php

แต่ถ้าสารที่จุ่มเป็นก๊าซหรือไอออนของสารในรูปสารละลาย จะต้องใช้ขั้วเฉื่อย เช่น Pt หรือ ขั้ว C (แกร์ไฟต์) เป็นขั้วแทน เช่น

  1. ก๊าซ H2 (g) จุ่มใน H+ (aq) โดยมี Pt เป็นขั้ว
  2. ก๊าซ Cl2 จุ่มใน Cl- (aq) โดยมี Pt เป็นขั้ว
  3. Fe2+ (aq) จุ่มในสาระลาย Fe3+ (aq) โดยมี Pt เป็นขั้ว

สะพานไอออน (Salt bridge)

สะพานไอออน (Salt bridge) คือ ตัวเชื่อมต่อวงจรภายในของแต่ละครึ่งเซลล์เข้าด้วยกันให้ครบวงจร ไอออนในแต่ละครึ่งเซลล์สามารถไหลผ่านสะพานไอออนนี้ได้ สะพานไอออนเป็น ตัวกันไม่ให้สารละลายในครึ่งเซลล์ทั้งสองผสมกัน

การสร้างสะพานไอออน

ทำได้โดยบรรจุสารระลายอิ่มตัวของเกลือ KNO3 ปนวุ้นที่ร้อนลงในหลอดแก้วรูปตัวยูให้เต็มพอดี เมื่อเย็นลงสารละลายที่ปนวุ้นนี้จะแข็งตัวในหลอดแก้ว แต่ละปลายอุดด้วยใยแก้ว ซึ่งนำไปใส่วางค่อมให้ปลายหลอดแก้วแต่ละปลายจุ่มอยู่ในสารละลายของแต่ละครึ่งเซลล์ หลักจากเสร็จต้องทำความสะอาดด้วยน้ำ แล้วแช่ไว้ในสารละลายอิ่มตัวของ KNO3 ในน้ำ สะพานไอออนดังกล่าวสามารถนำไปใช้ซ้ำกันหลายครั้งได้

การลดการก กกร อนของสน ม ว ธ แคโทรด ด

แสดงสะพานไอออน ที่มา : https://my.dek-d.com/mowii/writer/viewlongc.php?id=688154&chapter=4

ในการปฏิบัติการเคมี เราทำสะพานไอออนง่าย ๆ ด้วยกระดาษกรองกว้างประมาณ 1 cm ยาว ๆ ชุบสารละลายอิ่มตัว KNO3 ให้เปียกหมดทั้งแผ่น นำไปใช้แทนสะพานไอออนได้

สมบัติของสารที่ใช้ทำสะพานไอออน

  1. เป็นสารประกอบไอออนิกที่ละลายน้ำแตกเป็นไอออนได้ดี มีปริมาณไอออนเกิดขึ้นมาก
  2. ไอออนต้องไม่ทำปฏิกิริยาเคมีกับสารใด ๆ ในสารละลายของครึ่งเซลล์ทั้งสอง
  3. ไอออนบวกและลบที่แตกตัวได้จากสารต้องสามารถในการเคลื่อนที่เร็วใกล้เคียงกัน
  4. สารที่ใช้ทำสะพานไอออน มีหลายชนิด เช่น KNO3 KCl NH4Cl
  5. ต้องเป็นสารละลายอิ่มตัว ประกอบด้วยไอออนมาก

หน้าที่ของสารที่ใช้ทำสะพานไอออน

  1. ทำให้ครบวงจรไฟฟ้า เพราะเชื่อมทั้งสองเซลล์เข้าด้วยกัน
  2. รักษาสมดุลระหว่างไอออนบวก และไอออนลบ ของสารละลายอิเล็กโตรไลต์แต่ละ ครึ่งเซลล์ตลอดเวลาที่มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนเกิดขึ้นในเซลล์กัลวานิก โดยไอออนบวกและไอออนลบจะเคลื่อนที่จากสะพานไอออนลงสู่สารละลายในแต่ละครึ่งเซลล์ เพื่อทำให้ประจุในแต่ละครึ่งเซลล์สมดุล

การรักษาสมดุลของประจุ ที่เกิดจากไอออนของสารละลายอิเล็กโตรไลต์ ในแต่ละครึ่งเซลล์ ด้วยการระบายไอออน ที่ทำให้เกิดการสะสมประจุผ่านสะพานไอออนลงสู่สารละลายอีกครึ่งเซลล์หนึ่ง เพื่อทำให้ประจุในสารละลายแต่ละครึ่งเซลล์สมดุล เช่น เซลล์กัลวานิก ครึ่งเซลล์ที่เกิด ปฏิกิริยาออกซิเดชันสารละลายในครึ่งเซลล์จะเกิดการสะสมประจุบวก เนื่องจากมีปริมาณไอออนบวกมากกว่าปริมาณไอออนลบเพื่อรักษาสมดุลประจุ จึงระบายไอออนบวก ขึ้นสู่สะพานไอออนไป

ลักษณะสำคัญของเซลล์กัลวานิก

  1. กระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้นเป็นกระแสตรง คือ กระแสอิเล็กตรอน
  2. อิเล็กตรอนจะไหลจากครึ่งเซลล์ที่ศักย์ไฟฟ้าต่ำไปสู่ครึ่งเซลล์ที่มีศักย์ไฟฟ้าสูง
  3. เซลล์กัลวานิกต่างชนิดกัน จะมีค่าศักย์ไฟฟ้าของเซลล์ต่างกัน และจะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับครึ่งเซลล์ที่นำมาต่อกัน
  4. เซลล์กัลวานิกที่มีขั้วว่องไวในครึ่งเซลล์ที่แอโนด (ขั้วลบ) โลหะนั้นจะสึกกร่อนมวลลดลง เพราะเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน ให้อิเล็กตรอนเกิดเป็นไอออนบวก ส่วนขั้วแคโทด (ขั้วบวก) จะมีมวลมากขึ้นเพราะเกิดปฏิกิริยารีดักชัน (รับอิเล็กตรอน)
  5. ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในเซลล์กัลวานิกมีการถ่ายโอนอิเล็กตรอน เป็นปฏิกิริยารีดอกซ์
  6. เมื่อเกิดอิเล็กตรอนไหลนาน ๆ ในวงจรของเซลล์กัลวานิก จะเกิดการสะสมประจุใน ครึ่งเซลล์กล่าวคือ ครึ่งเซลล์แอโนดที่เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันจะเกิดการสะสมประจุบวก และ ครึ่งเซลล์แคโทด เกิดปฏิกิริยารีดักชัน จะเกิดการสะสมประจุลบ ทั้งนี้เนื่องจากสะพานไอออนไม่สามารถรักษาภาวะสมดุลของประจุไว้ได้ทัน ทำให้อิเล็กตรอนไหลในวงจรลดลง เป็นผลให้ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์ลดลงด้วย และเมื่อแต่ละครึ่งเซลล์สะสมประจุจนถึงขีดหนึ่งจะไม่มีอิเล็กตรอนไหลออกนอกวงจร ขณะนั้นเข็มโวลต์มิเตอร์จะชี้ที่เลขศูนย์ ทั้งนี้เพราะขณะนั้นเกิดภาวะสมดุลเคมีขึ้นในแต่ละครึ่งเซลล์นั้น

แหล่งที่มา

แฟรงค์ เดวิด วี. (2547). ชุดสำรวจโลกวิทยาศาสตร์องค์ประกอบพื้นฐานทางเคมี. กรุงเทพฯ: เพียร์สัน เอ็ดดูเคชัน อินโดไชน่า.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.). (2551).หนังสือเรียนเคมีพื้นฐานและเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 เล่ม 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว.