การบร หารการตลาด ว เคราะห วางแผน ปฏ บ ต และควบค ม

1 หนว่ ยที่ 2 สอนครัง้ ที่ 2 ใบความรู้ ชั่วโมงรวม 4 ชื่อวิชา หลกั การตลาด ชอ่ื หน่วย แนวคดิ ทางการตลาด

ช่ือเร่อื งหรอื ชอ่ื งาน แนวคดิ ทางการตลาด จำนวนช่ัวโมง 4

หวั ข้อเร่อื งและงาน

1. ความหมายของแนวความคดิ ทางการตลาด 2. แนวความคดิ ทางการตลาดของ Philip Kotler 3. การบรหิ ารการตลาด 4. กระบวนการบริหารการตลาด 5. การวางแผนการตลาด 6. แนวคิดแบบเศรษฐกิจพอเพียง

สาระสำคัญ

แนวความคิดทางการตลาดเป็นแนวทางการบริหารการตลาด เพื่อให้องค์กรประสบความสำเร็จตาม เป้าหมายที่กำหนดไว้ แนวความคิดทางการตลาดตามแนวความคิดของ ฟิลิป คอตเลอร์ ได้แบ่งแนวความคิดทาง การตลาดเป็น 5 แนวความคิด ซึ่งองค์กรทางการตลาดสามารถนำมาใช้เป็นแนวทางในการบริหารงานด้ าน การตลาดให้เหมาะสมสอดคลอ้ งกับองค์กรและผบู้ รโิ ภคได้

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. เพ่อื ใหม้ คี วามรคู้ วามเข้าใจเกย่ี วกบั แนวความคิดทางการตลาดทั้ง 5 แนวความคดิ 2. เพ่ือให้มคี วามรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับการตลาดสีเขียวและบอกหลักการดำเนนิ การของการตลาดสเี ขยี ว 3. เพอื่ ใหม้ คี วามรู้ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั ความหมายของการบริหารการตลาด 4. เพื่อให้มคี วามรู้ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั ข้นั ตอนของกระบวนการบริหารการตลาด 5. เพื่อใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ความแตกต่างระหวา่ งแผนกลยุทธแ์ ละแผนยุทธวธิ ี 6. เพื่อใหม้ คี วามรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ขนั้ ตอนของการวางแผนการตลาด 7. เพ่ือใหม้ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจเก่ยี วกับวิเคราะห์ SWOT ผลติ ภณั ฑใ์ นท้องตลาด 8. ใหผ้ ู้เรยี นมีคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 9. เพอ่ื ให้มีความร้คู วามเขา้ ใจแนวคิดแบบเศรษฐกิจพอเพยี ง

2

1. แนวคดิ ทางการตลาด

1.1 แนวความคิดทางการตลาด (Marketing Concept) แนวความคดิ ทางการตลาด คือ ปรัชญาหรือแนวความคิดการบริหารการตลาดเพอื่ ให้องค์การ

ประสบความสำเรจ็ บรรลุวัตถปุ ระสงค์ ตามเปา้ หมายที่กำหนดไว้ โดยใหค้ วามสำคญั กับความต้องการของ ตลาดเป้าหมาย และนำเสนอผลิตภณั ฑท์ ล่ี ูกคา้ ตอ้ งการใหม้ ีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเหนอื คแู่ ข่งขัน

แนวคิดทางการตลาด มีส่ิงท่ีต้องทำความเขา้ ใจ 3 ประการ คือ - การมงุ่ ให้ความสำคัญกบั ลูกคา้ - การดำเนินกิจกรรมทางการตลาด ตลอดจนกจิ กรรมดา้ นตา่ งๆ ทกุ ด้านขององค์การ - การดำเนนิ กิจกรรมใดๆ ขององค์กร ตอ้ งทำให้องค์กรบรรลสุ ่เู ป้าหมายตามท่ีองค์กร

กำหนดไว้ ฟลิ ิป คอตเลอร์ (Philip Kotler) ได้แยกแนวความคิดการดำเนนิ งานทางการตลาด ไวด้ งั น้ี - แนวความคดิ มุ่งการผลิต (Production Concept) - แนวความคดิ มุง่ ผลติ ภัณฑ์ (Product Concept) - แนวความคิดมุ่งการขาย (Selling Concept) - แนวความคดิ มงุ่ การตลาด (Marketing Concept) - แนวความคิดม่งุ การตลาดเพ่ือสังคม (Societal Marketing Concept)

1.2 การบริหารการตลาด การดำเนนิ ธรุ กจิ หรือองคก์ าร กค็ อื การทำงานร่วมกนั ของกลุ่มบุคคลภายใต้โครงสรา้ ง

และการประสานงานทชี่ ัดเจนแนน่ อน โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์เพ่อื ให้บรรลุเป้าหมายตามท่ีกำหนดไว้ ซึ่ง ต้องอาศัย ปัจจัยทางธุรกจิ ได้แก่ คน (Man) เงนิ (Money) วัสดุ (Material) เครือ่ งจกั ร (Machine) วิธกี าร (Method) และการบรหิ าร (Management)

1.3 กระบวนการบรหิ ารการตลาด ในการบรหิ ารการตลาด ไดม้ ีการจัดลำดบั ข้ันตอนของการดำเนินงานทางการตลาด

เพอื่ ใหบ้ รรลวุ ัตถุประสงค์ขององค์การ 3 ขน้ั ตอน คือ 1. การวางแผน (Planning) 2. การปฏบิ ตั งิ านตามแผน (Implementation) 3. การประเมินผล (Evaluation)

1.4 การวางแผนการตลาด การวางแผนการตลาด คือ การกำหนดทิศทาง และแนวทางในการใช้ความพยายามทาง

การตลาด เพื่อให้กิจการสามารถบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่มุ่งหวัง โดยคำนึงถึงการใช้ ทรัพยากรทางการตลาดให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการตอบรับกับความเป็นไปและแนวโน้ม การ เปลยี่ นแปลงของสภาพแวดลอ้ มในการดำเนินธุรกจิ ท้ังภายนอกและภายในกจิ การ

3

การวางแผนการตลาด (Marketing Plan) หมายถึง เอกสารที่อธิบายถึงการวิเคราะห์ สถานการณ์กลยุทธ์ทางการตลาด และโปรแกรมการตลาด เพื่อใช้เป็นเครื่องมือส่วนกลาง สำหรับ อำนวยการและการประสานงาน

ดังนั้น การวางแผนการตลาด คือ การกำหนดแนวทางในการปฏิบัติงานทางการตลาด เพือ่ ใหบ้ รรลวุ ัตถุประสงค์ตามที่กจิ การกำหนดไว้

ส่วนประกอบของแผนการตลาด ของแต่ละองค์กรอาจแตกต่างกัน โดยทั่วไป ประกอบดว้ ยประเด็นสำคัญ ดงั นี้

  1. บทสรปุ ผู้บรหิ าร (Executive Summery)
  2. การวิเคราะหส์ ถานการณ์การตลาดในปัจจุบนั
  3. การวิเคราะห์ SWOT (SWOT Analysis)
  4. การกำหนดกล่มุ ตลาดเปา้ หมาย (Target Segments)
  5. การกำหนดวตั ถปุ ระสงค์ทางการตลาด
  6. การกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาด
  7. การจดั ทำแผนปฏิบัติการ (Action Programs)
  8. งบกำไรขาดทนุ โดยประมาณการ
  9. การควบคุมการปฏิบัตงิ าน (Implementation Controls)

แนวความคดิ แบบเศรษฐกิจพอเพยี ง

“ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่มีคุณค่าและเป็นประโยชน์สำหรับผู้นำมาใช้ ซึ่งการ ใช้กลยทุ ธ์การตลาดอย่างเหมาะสมน้ัน ย่อมนำมาสปู่ ระโยชน์ทผี่ ู้ใชจ้ ะไดร้ ับ รวมถึงประโยชน์ท่ีประเทศจะ ได้รับตามมา แนวคิดทางด้านการตลาดเบื้องต้น (Principle of Marketing) ซึ่งเรารู้จักกันดีว่า แนวคิด ทางด้าน “4P” อันประกอบไปด้วย Price, Place, Promotion, และ Product มาจำแนกวิเคราะห์ สำหรับการนำมาใช้กบั เศรษฐกจิ พอเพยี ง เพื่อเปน็ แนวทางในการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงใหส้ ัมฤทธ์ผลใน อนาคตต่อไป

4

Price: ทฤษฎีทางด้านการตลาดให้ความสำคัญของการตั้งราคาสินค้าที่เหมาะสม ซึ่งจะดึงดูด ผ้บู ริโภคใหม้ าซื้อสินค้าของตน และสรา้ งกำไรใหก้ ับผู้ขาย ผบู้ รโิ ภคจะเลอื กซื้อสินค้าที่ตนเห็นว่ามีคุณภาพ สมกับราคาทต่ี ้ังไว้ แต่ปัญหาก็คือ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งเป็นปรชั ญาอนั ทรงคุณค่าท่ีไม่ได้มีการซ้ือขาย ในท้องตลาด ดังนั้นเราจงึ ไม่สามารถที่จะตมี ูลค่าทีแ่ นน่ อนของปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งนีไ้ ด้ แนวคิดหนึ่ง ของทางด้านเศรษฐศาสตร์ที่สามารถนำมาประเมินมูลค่าของเศรษฐกิจพอเพียงนี้ได้ก็คือ แนวคิดทางด้าน “ค่าเสียโอกาส” (Opportunity Cost) โดยมนุษย์ที่เลือกบริโภคในทางเลือกใดทางเลือกหนึ่งจะต้องเสีย โอกาสกับการท่ไี มไ่ ด้บริโภคในอกี ทางเลือกหนึง่

ยกตัวอย่างเชน่ ถ้าคนเราพยายามทำงานให้มากเพ่ือที่จะไดเ้ งนิ เยอะๆ แนน่ อนว่า คนๆนั้นจะต้อง เสียค่าเสียโอกาสในการที่เขาจะได้พักผ่อนอยู่กับบ้าน หรือมีเวลาให้กับครอบครัว ซึ่งสิ่งที่สูญเสียนี้ก็จะ เปรียบเสมือนกับค่าเสียโอกาสที่คนๆนั้นต้องเสียไปจากการไม่ใช้เศรษฐกิจพอเพียง ในทางกลับกัน มูลค่า (หรือราคา) ของการดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงก็คือ คณุ ค่าและความสุขท่ีคนๆน้ันจะได้จากการใช้ ชวี ติ กับครอบครวั และทำงานใหน้ อ้ ยลงนัน้ เอง

ดังนั้นในการที่จะใช้กลยุทธ์ทางด้านราคา (Price Strategy) นี้ให้ประสบความสำเร็จได้ก็คือ การ พยายามให้คนเห็นว่าถ้าเลือกดำเนินชีวิตตามหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงแล้วนั้น คนๆนั้นจะได้รับ ประโยชน์อะไรบ้าง และถ้าไม่ดำเนินคนๆนั้นจะมตี น้ ทนุ ค่าเสียโอกาสอย่างไรบ้าง แต่ที่เราจะต้องตระหนกั ไว้ก็คือ ในแต่ละบุคคลนั้นจะมีต้นทุนค่าเสียโอกาสไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับสถานะภาพของแต่ละคน ยกตัวอย่าง เช่น คนที่มีรายได้สูงอาจจะมีต้นทุนค่าเสียโอกาสที่จะใช้เศรษฐกิจพอเพียงสูงกว่าคนท่ีมีรายได้น้อยกว่า เพราะการใช้เศรษฐกิจพอเพียง (เช่นการลดการทำงาน) อาจจะทำให้เขาจะต้องสูญเสียรายไดเ้ ป็นจำนวน มาก ในขณะที่คนที่มีรายได้น้อยจะมีต้นทุนในการใช้เศรษฐกิจพอเพียงที่ต่ำกว่า ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบ ระหว่างคน 2 กลุ่มนี้แล้ว ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจะมีราคา (คุ ณค่า) ในมุมมองของ แตล่ ะคนทไ่ี มเ่ ท่ากัน

Place: สถานที่ในการจำหน่ายสินค้าเป็นปัจจัยสำคัญสำหรับกลยุทธ์การตลาด การนำเสนอ เศรษฐกิจพอเพยี งควรท่จี ะมีการนำเสนอในทกุ ๆสถานท่ี และทกุ ระดบั และทุกสถานการณ์ ไม่ว่าจะเป็นใน เขตชนบท เขตเมอื ง ภายในครอบครัว ภายในบริษัท หรอื ในระดับการวางนโยบายของชาติ ดงั นั้น สถานท่ี เศรษฐกิจพอเพียงในที่นี้ก็หมายถึง “ทุกคน” กลยุทธ์ทางด้านสถานที่ (Place Strategy) นั้นจะประสบ ความสำเรจ็ ไดก้ ็ด้วยการยกกรณศี ึกษาและแนวทางในการบริหารจัดการเศรษฐกิจพอเพยี งของทกุ ภาคส่วน มาอธิบายให้เกิดความเข้าใจ และมกี ารกำหนดความตั้งม่ัน หรือตัง้ ปณธิ านสำหรบั สมาชิกในสังคมทุกระดับ ท่จี ะดำเนินการใช้ชวี ิตตามเศรษฐกิจพอเพียง ในระดับครอบครับ หัวหน้าครอบครวั สามารถกระทำตัวเป็น แบบอย่างในการเปน็ ผนู้ ำของการดำเนนิ ชีวติ อย่างพอเพียง ซ่งึ เป็นตวั อย่างทีด่ ขี องคนในสมาชกิ ได้ เชน่ การ ออม การใช้จ่ายที่ไม่สุรุ่ยสุร่าย ในภาคธุรกิจ อาจมีการกำหนดแนวทางการวางแผนกลยุทธ์ของธุรกิจ (Business Strategic Planning) ที่มีตัวชี้วัดความสำเร็จ (Key Performance Indicators: KPI) ที่แสดง ถงึ ความพอเพียงในการดำเนนิ ธุรกจิ เช่นการซอ้ื ประกันความเสย่ี งจากอตั ราแลกเปลีย่ น หรอื การใชส้ ัดส่วน ทางการเงิน (Financial Ratio) ต่างๆเช่น สัดส่วนหนี้สินต่อทรัพย์สิน เพื่อแสดงว่าบริษัทนั้น (ไม่ว่าจะ ขนาดเล็กหรอื ขนาดใหญ่) ไดด้ ำเนินกลยทุ ธต์ ามหลกั ของเศรษฐกจิ พอเพียงท่ถี ูกต้อง โดยตัวชีว้ ดั ความสำเร็จ นั้นเป็น “เครื่องเตือน” (Warning) ให้กับบริษัทไม่ให้ออกนอกลู่นอกทางของวิถีเศรษฐกิจพอเพียง เช่นไม่ก่อ หนี้หรือลงทุนจนเกินตัว เป็นต้น ในด้านการบริหารประเทศ ผู้ดำเนินนโยบาย (Policy Maker) สามารถ กำหนดนโยบายเศรษฐกิจอย่างพอเพียงได้ เช่นการสนับสนุนการออม หรือการลดโครงการลงทุนขนาด ใหญ่ของภาครัฐ (Mega-Project) ท่ไี มจ่ ำเปน็ ลง ทัง้ นีเ้ ศรษฐกิจพอเพยี งทถ่ี กู นำไปใชก้ บั ทุกท่ี ทกุ เวลา และ

5

ทุกสถานการณ์นี้ จะเป็นการสร้างความกลมกลืนให้กับทุกภาคส่วนให้ประสบความสำเร็จจากการดำเนิน แนวทางทางเศรษฐกิจพอเพยี งมากยิ่งขน้ึ

Product: นักการตลาดเห็นพร้องต้องกันว่า การสร้างความแตกต่างของตวั สินค้า (Differentiate Product) เป็นการสร้างคุณคา่ ของตัวสนิ ค้าในสายตาของผู้บริโภค คงไม่ต้องอธิบายว่า เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่มคี ุณคา่ ในตัวเองอยู่แลว้ ซง่ึ การนำเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้นจี้ ะทำให้ผู้นำไปใช้มีความสุขและ มคี วามม่ันคงในทุกๆเร่ือง ดงั นน้ั กลยทุ ธท์ างด้านผลิตภัณฑ์ (Product Strategy) ทส่ี ามารถทำได้ก็คือ จะ ทำอย่างไรที่จะทำให้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนั้น “มีคุณค่ามากขึ้น” ไม่เฉพาะในสายตาของประชาชน ชาวไทย แตม่ คี ุณค่าในสายตาของประชาคมโลก

โดยเฉพาะ ทั้งนี้ผลที่ได้จากงานวิจัยที่เพิ่มขึ้นนี้ไม่เพียงแต่จะเป็นการต่อยอดองค์ความรู้ทางด้าน เศรษฐกิจพอพียงให้มากย่ิงขนึ้ แต่ยงั เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มแก่ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในระดับสากลโลกอีก ด้วย

Promotion: กลยุทธ์การส่งเสริมการขาย (Promotion Strategy) เป็นกลยุทธ์ที่สำคัญอีกกลยุทธ์ หนึ่งในภาคการตลาด การส่งเสริมการขายเป็นได้ทั้งการให้ข้อมูลข่าวสาร (Informative) และการเชื้อเชิญ (Persuasive) ให้ลูกคา้ มาใช้สินค้าของตนมากขึน้ จากข้อสงั เกตนีพ้ บวา่ กลยุทธก์ ารประชาสัมพันธ์ เป็นกลยทุ ธ์ที่ ทำใหก้ ลยุทธ์การตลาดประเภทอื่นๆประสบความสำเรจ็ อย่างรวดเร็ว ทีผ่ ่านมา ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงได้นำ กลยุทธ์ทางด้านนี้มาใช้บ้าง ไม่ว่าจะเป็นการโฆษณาตามสื่อโทรทัศน์ การติดป้ายเชิญชวน ซึ่งถือได้ว่า ความสำเร็จในระดับหนึง่ แต่ทว่า สิ่งที่ยังขาดอยู่ก็คือ เนื้อหาและอารมณ์ (Theme) ของการโฆษณานั้นยงั ไมไ่ ด้ บอกถึงวิถีการดำเนินชีวิตอย่างเศรษฐกิจพอเพียงอย่างครบถว้ นและเพียงพอ จนทำให้ภาพลักษณ์ท่ีออกมาของ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนั้นสื่อไปในทางที่ “ต้องมีฐานะยากจนลง” (จากการขายปาท่องโก๋) หรือต้อง “ไปทำ การเกษตร” ซึ่งผลท่อี อกมานอ้ี าจจะใหผ้ ้เู สพสื่อเข้าใจถงึ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งไปในทางทีค่ ลาดเคล่ือนได้

6

ใบงานที่ 2

จุดประสงค์การเรยี นรู้ เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนนำความรทู้ ไี่ ดร้ บั จากการศกึ ษาแนวความคดิ ทางการตลาดมาวิเคราะห์

สถานการณ์ทางการตลาดได้

วัสด/ุ อุปกรณ์ 1. Case Study เรื่อง การตลาดของ Coke กบั แคมเปญต้องซ่า ต้องกลา้ สง่ โค้กให้ 2. กระดาษเขียนตอบและกระดาษ A4 3. Future Board 4. เทปกาว 2 หนา้ ชนิดบาง 5. สเี มจิก

ขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน 1. แบง่ ผเู้ รยี นออกเปน็ กล่มุ กลุม่ ละ 4-5 คน 2. ผูเ้ รียนศกึ ษา Case Study เรื่องการตลาดของ Coke กับแคมเปญต้องซา่ ตอ้ งกล้าส่งโค้กให้ 3. ทำเปน็ รายงานส่งภายใน 1 ชั่วโมง 4. ตวั แทนกล่มุ ทุกกลุ่มออกนำเสนอรายงานหนา้ ช้นั เรียน ในชั่วโมงตอ่ ไป 5. ผเู้ รยี นทุกคนร่วมกนั วพิ ากษว์ จิ ารณ์และประเมนิ ผลงานตามใบงาน

การประเมนิ ผล เฉลยใบงานที่ 2 ตามความคดิ เหน็ ของผ้เู รียน และอย่ใู นดลุ ยพนิ ิจของครผู ้สู อน

เอกสารอา้ งองิ 1. จนั ทรา ส่งศรีและคณะ.หลักการตลาด. กรุงเทพฯ : ศนู ย์สง่ เสริมวิชาการ, 2563. 2. Case Study เรื่องการตลาดของ Coke กบั แคมเปญตอ้ งซ่า ต้องกลา้ ส่งโค้กให้

7

แบบทดสอบหนว่ ยท่ี 2 แนวความคิดทางการตลาด

คำส่งั จงทำเครื่องหมายกากบาท (x) ลงหนา้ ข้อท่ีถกู ต้องท่ีสดุ 1. แนวความคดิ ทางการตลาด หมายถึงข้อใด

ก. ปรัชญาการจดั การทางการตลาด ข. การบริหารการตลาด ค. การดำเนนิ งานทางการตลาด ง. การกำหนดเปา้ หมายทางการตลาด จ. ความเห็นเก่ียวกบั การตลาด 2. แนวความคิดมุ่งการผลิต หมายถึงข้อใด ก. ผลิตสนิ ค้าให้ไดม้ ากท่ีสดุ เท่าทจี่ ะทำได้ ข. ผลติ สนิ คา้ ใหไ้ ด้มากทสี่ ุดด้วยต้นทุนตำ่ ทีส่ ดุ ค. ผลติ สินค้าใหต้ รงกับความตอ้ งการของลูกค้ามากทสี่ ดุ ง. ใช้เครอ่ื งจักรในการผลิตใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ จ. ผลติ สินค้าเพือ่ การวางจำหนา่ ยใหก้ ว้างขวางทส่ี ุด 3. การใชก้ ารสง่ เสริมการตลาดรูปแบบต่าง ๆ เพื่อชว่ ยให้ขายสินคา้ ไดม้ ากขึน้ เป็นแนวความคดิ ทาง การตลาดข้อใด ก. แนวความคดิ มุ่งการผลติ ข. แนวความคิดมงุ่ การขาย ค. แนวความคิดมุ่งตัวผลิตภัณฑ์ ง. แนวความคดิ มุ่งการตลาด จ. แนวความคดิ มุง่ การตลาดเพ่ือสังคม 4. การบรหิ ารการตลาด หมายถึงอะไร ก. การวางแผนด้านการตลาด ข. การปฏบิ ัตงิ านตามแผน ค. การควบคุมการปฏบิ ัติงาน ง. วางแผนและบริหารแนวความคิดเกี่ยวกับสนิ ค้าหรือบริการ จ. การวางแผนด้านการปฏบิ ัติงานและการควบคุมการปฏิบตั ิงานด้านการตลาด เพื่อให้บรรลุ

วัตถุประสงค์ขององค์กร 5. “การดำเนนิ งาน การสงั่ การ” เป็นขั้นตอนใดของการวางแผนการตลาด

ก. การวเิ คราะหส์ ถานการณ์ทางการตลาด ข. การกำหนดเป้าหมายทางการตลาด ค. การวางแผน ง. การปฏิบตั งิ านตามแผน จ. การควบคมุ การปฏิบตั งิ าน

8

6. การวางแผนการตลาดข้นั ตอนใด ท่ีใช้ตรวจสอบว่าการปฏบิ ัติงานเปน็ ไปตามแผนท่ีกำหนดไว้ ก. การวเิ คราะหส์ ถานการณ์ทางการตลาด ข. การกำหนดเปา้ หมายทางการตลาด ค. การวางแผน ง. การปฏิบตั ิงานตามแผน จ. การควบคุมการปฏิบัติงาน

7. ปจั จัยทางธุรกจิ คอื ข้อใด ก. สถานประกอบการ คน เงิน การจดั การ ข. ทนุ แรงงาน วัสดุ การจดั การ ค. คน เงิน วสั ดุ เคร่อื งจักร วิธีการ การบริหาร ง. คน เงนิ วสั ดุ เคร่อื งจักร จ. สถานประกอบการ คน เงิน วัสดุ

8. ขอ้ ใดคือแนวความคิดทางการตลาดมงุ่ การตลาด ก. ออกแบบสินค้าตามแนวคิดของผู้ประกอบการ ข. กระจายสนิ คา้ ให้เข้าถึงตลาดใหม้ ากที่สุด ค. วิจัยตลาดเพอื่ หาความต้องการของลกู คา้ ง. ผลิตสินค้าคุณภาพดีท่ีสุดสำหรับลกู คา้ จ. ผลติ สินคา้ ดว้ ยต้นทนุ ท่ตี ่ำทส่ี ุด

9. แผนหลกั ของกจิ การคอื ขอ้ ใด ก. แผนกลยุทธ์ ข. แผนยทุ ธวิธี ค. แผนการตลาด ง. แผนธุรกจิ จ. โปรแกรมการตลาด

10. การกำหนดรายละเอียดการดำเนนิ งานของแผน หมายถงึ ข้อใด ก. แผนกลยทุ ธ์ ข. แผนยทุ ธวิธี ค. แผนการตลาด ง. แผนธุรกิจ จ. โปรแกรมการตลาด