Icd 10 อ บ ต เหต รถมอเตอไซด ล ม

Show

ICD-10 บทที่ 19: การบาดเจ็บ การเป็นพิษ และผลสืบเนื่องบางอย่างจากสาเหตุภายนอก เป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2535 โดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดประเภทการเจ็บป่วยตามเกณฑ์เพื่อใช้บันทึกเพื่อรวบรวมเป็นข้อมูลทางสถิติในการวางแผนสุขภาพในระดับสากล

S00-T14 - การบาดเจ็บ[แก้]

(S00-S09) การบาดเจ็บที่ศีรษะ[แก้]

  • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวของศีรษะ
    • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวของหนังศีรษะ
    • () การฟกช้ำของหนังตาและบริเวณรอบตา
      • ตาเขียวช้ำ
    • () การบาดเจ็บบริเวณอื่นที่ชั้นผิวของหนังตาและบริเวณรอบตา
    • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวของจมูก
    • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวของหู
    • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวของริมฝีปากและช่องปาก
    • () การบาดเจ็บหลายตำแหน่งที่ชั้นผิวของศีรษะ
    • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวของส่วนอื่นของศีรษะ
    • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวของศีรษะ ไม่ระบุส่วน
  • () แผลเปิดที่ศีรษะ
  • () กะโหลกศีรษะร้าวและกระดูกหน้าหัก
    • () กระดูกยอดโค้งของกะโหลกศีรษะร้าว
    • () กระดูกฐานกะโหลกศีรษะร้าว
    • () กระดูกจมูกหัก
    • () กระดูกพื้นเบ้าตาหัก
    • () กระดูกแก้มและขากรรไกรบนหัก
    • () ฟันหัก
    • () กระดูกขากรรไกรล่างหัก
    • () กะโหลกศีรษะและกระดูกหน้าหักหลายตำแหน่ง
    • () ส่วนอื่นของกะโหลกศีรษะและกระดูกหน้าหัก
    • () กะโหลกศีรษะและกระดูกหน้าหัก ไม่ระบุส่วน
  • () การเคลื่อน แพลง และเคล็ดของข้อและเอ็นของศีรษะ
  • () การบาดเจ็บของเส้นประสาทสมอง
    • () การบาดเจ็บของเส้นประสาทตาและทางเดิน
    • () การบาดเจ็บของเส้นประสาทอ็อกคูโลมอเตอร์
    • () การบาดเจ็บของเส้นประสาทโทรเคลียร์
    • () การบาดเจ็บของเส้นประสาทไตรเจมินัล
    • () การบาดเจ็บของเส้นประสาทแอ็บดูเซนต์
    • () การบาดเจ็บของเส้นประสาทหน้า
    • () การบาดเจ็บของเส้นประสาทอะคูสติก
    • () การบาดเจ็บของเส้นประสาทแอ็คเซสซอรี
    • () การบาดเจ็บของเส้นประสาทสมองเส้นอื่น
    • () การบาดเจ็บของเส้นประสาทสมองที่ไม่ระบุรายละเอียด
  • () การบาดเจ็บของตาและเบ้าตา
    • () การบาดเจ็บของเยื่อตาและการถลอกของกระจกตาโดยไม่กล่าวถึงสิ่งแปลกปลอม
    • () การฟกช้ำของเบ้าตาและเนื้อเยื่อเบ้าตา
    • () การฉีกขาดและแตกของลูกตาร่วมกับมีเนื้อเยื่อภายในลูกตายื่นออกมาหรือสูญหายไป
    • () การฉีกขาดของลูกตาที่ไม่มีเนื้อเยื่อภายในลูกตายื่นออกมาหรือสูญหายไป
    • () แผลทิ่มแทงของเบ้าตาร่วมกับหรือไม่ร่วมกับมีสิ่งแปลกปลอม
    • () แผลทิ่มแทงของลูกตาร่วมกับมีสิ่งแปลกปลอม
    • () แผลทิ่มแทงของลูกตาที่ไม่มีสิ่งแปลกปลอม
    • () การหลุดออกมาของตา
    • () การบาดเจ็บอื่นของตาและเบ้าตา
    • () การบาดเจ็บของตาและเบ้าตา ไม่ระบุรายละเอียด
  • () การบาดเจ็บในกะโหลกศีรษะ
    • () การกระทบกระเทือน
    • () สมองบวมจากการบาดเจ็ย
    • () การบาดเจ็บของสมองแบบกระจายทั่วไป
    • () การบาดเจ็บที่สมองเฉพาะที่
    • () เลือดออกเหนือเยื่อหุ้มสมองชั้นนอก
    • () เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นนอกจากการบาดเจ็บ
    • () เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางจากการบาดเจ็บ
    • () การบาดเจ็บในกะโหลกศีรษะร่วมกับโคม่าเป็นเวลานาน
    • () การบาดเจ็บอื่นในกะโหลกศีรษะ
    • () การบาดเจ็บในกะโหลกศีรษะ ไม่ระบุรายละเอียด
  • () การบาดเจ็บแบบบดอัดของศีรษะ
  • () ส่วนของศีรษะถูกตัดเพราะบาดเจ็บ
  • () การบาดเจ็บอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของศีรษะ

(S10-S19) การบาดเจ็บที่คอ[แก้]

  • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวของคอ
  • () แผลเปิดที่คอ
  • () กระดูกคอหัก
    • () กระดูกสันหลังส่วนคอท่อนที่ 1 หัก
    • () กระดูกสันหลังส่วนคอท่อนที่ 2 หัก
    • () กระดูกสันหลังส่วนคอท่อนอื่นที่ระบุรายละเอียดหัก
    • () กระดูกสันหลังส่วนคอหักหลายตำแหน่ง
    • () กระดูกส่วนอื่นของคอหัก
    • () กระดูกคอหัก ไม่ระบุส่วน
  • () การเคลื่อน แพลง และเคล็ดของข้อและเอ็นที่ระดับคอ
    • () การแตกของหมอนรองกระดูกสันหลังส่วนคอจากการบาดเจ็บ
    • () การเคลื่อนของกระดูกสันหลังส่วนคอ
    • () การเคลื่อนของส่วนอื่นและส่วนที่ไม่ระบุรายละเอียดของคอ
    • () การเคลื่อนหลายตำแหน่งของคอ
    • () การแพลงและล้าของกระดูกสันหลังส่วนคอ
      • การบาดเจ็บจากการสะบัด
    • () การแพลงและล้าบริเวณไทรอยด์
    • () การแพลงและล้าของข้อและเอ็นของส่วนอื่นและส่วนที่ไม่ระบุรายละเอียดของคอ
  • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทและไขสันหลังที่ระดับคอ
    • () การกระแทกกระเทือนและบวมของไขสันหลังส่วนคอ
    • () การบาดเจ็บอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของไขสันหลังส่วนคอ
    • () การบาดเจ็บที่รากประสาทของไขสันหลังส่วนคอ
    • () การบาดเจ็บที่ข่ายประสาทแขน
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทส่วนปลายของคอ
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทซิมพาทีติกส่วนคอ
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของคอ
  • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดที่ระดับคอ
  • () การบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและเอ็นที่ระดับคอ
  • () การบาดเจ็บแบบบดอัดของคอ
  • () การถูกตัดเพราะบาดเจ็บที่ระดับคอ
  • () การบาดเจ็บอื่นที่ไม่ระบุรายละเอียดที่คอ

(S20-S29) การบาดเจ็บที่ทรวงอก[แก้]

  • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวของทรวงอก
  • () แผลเปิดที่ทรวงอก
  • () กระดูกซี่โครง กระดูกหน้าอก และกระดูกสันหลังส่วนอกหัก
    • () กระดูกสันหลังส่วนอกหัก
    • () กระดูกสันหลังส่วนอกหักหลายตำแหน่ง
    • () กระดูกหน้าอกหัก
    • () กระดูกซี่โครงหัก
    • () กระดูกซี่โครงหักหลายตำแหน่ง
    • () อกยุบ
    • () กระดูกทรวงอกส่วนอื่นหัก
    • () กระดูกทรวงอกหัก ไม่ระบุส่วน
  • () การเคลื่อน แพลง และเคล็ดของข้อและเอ็นของทรวงอก
  • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทและไขสันหลังที่ระดับอก
  • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดของทรวงอก
    • () การบาดเจ็บที่เอออร์ตาส่วนอก
    • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดแดงอินโนมิเนตหรือซับเคลเวียน
    • () การบาดเจ็บที่สุพีเรีย เวนา คาวา
    • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดดำอินโนมิเนตหรือซับเคลเวียน
    • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดของปอด
    • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดระหว่างซี่โครง
    • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดหลายตำแหน่งของทรวงอก
    • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดอื่นของทรวงอก
    • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดที่ไม่ระบุรายละเอียดของทรวงอก
  • () การบาดเจ็บที่หัวใจ
    • () การบาดเจ็บที่หัวใจร่วมกับมีเลือดในโพรงเยื่อหุ้มหัวใจ
    • () การบาดเจ็บอื่นที่หัวใจ
    • () การบาดเจ็บที่หัวใจ ไม่ระบุรายละเอียด
  • () การบาดเจ็บที่อวัยวะอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดในช่องอก
    • () โพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศเพราะบาดเจ็บ
    • () โพรงเยื่อหุ้มปอดมีเลือดเพราะบาดเจ็บ
    • () โพรงเยื่อหุ้มปอดมีเลือดและอากาศเพราะบาดเจ็บ
    • () การบาดเจ็บแบบอื่นที่ปอด
    • () การบาดเจ็บที่หลอดลม
    • () การบาดเจ็บที่ท่อลมส่วนอก
    • () การบาดเจ็บที่เยื่อหุ้มปอด
    • () การบาดเจ็บหลายตำแหน่งของอวัยวะในช่องอก
    • () การบาดเจ็บที่อวัยวะอื่นที่ระบุรายละเอียดในช่องอก
    • () การบาดเจ็บที่อวัยวะที่ไม่ระบุรายละเอียดในช่องอก
  • () การบาดเจ็บแบบบดอัดของทรวงอกและส่วนของทรวงอกถูกตัดเพราะบาดเจ็บ
  • () การบาดเจ็บอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของทรวงอก

(S30-S39) การบาดเจ็บที่ท้อง หลังส่วนล่าง กระดูกสันหลังส่วนเอว และเชิงกราน[แก้]

  • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวของท้อง หลังส่วนล่าง และเชิงกราน
  • () แผลเปิดที่ท้อง หลังส่วนล่าง และเชิงกราน
  • () กระดูกสันหลังส่วนเอว และกระดูกเชิงกรานหัก
  • () การเคลื่อน แพลง และเคล็ดของข้อและเอ็นของกระดูกสันหลังส่วนเอว และเชิงกราน
  • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทและไขสันหลังส่วนเอวที่ระดับท้อง หลังด้านล่าง และเชิงกราน
  • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดที่ระดับท้อง หลังส่วนล่าง และเชิงกราน
    • () การบาดเจ็บที่เอออร์ตาส่วนท้อง
    • () การบาดเจ็บที่อินฟีเรีย เวนา คาวา
    • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดแดงซีลิแอก
    • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดดดำพอร์ตอลหรือหลอดเลือดดำของม้าม
    • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดของไต
    • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดไอลิแอก
    • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดหลายตำแหน่งที่ระดับท้อง หลังส่วนล่าง และเชิงกราน
    • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดอื่นที่ระดับท้อง หลังส่วนล่าง และเชิงกราน
    • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดที่ไม่ระบุรายละเอียดที่ระดับท้อง หลังส่วนล่าง และเชิงกราน
  • () การบาดเจ็บที่อวัยวะในช่องท้อง
    • () การบาดเจ็บที่ม้าม
      • ม้ามแตก
  • () การบาดเจ็บที่อวัยวะระบบปัสสาวะและอวัยวะในอุ้งเชิงกราน
  • () การบาดเจ็บแบบบดอัดและการถูกตัดเพราะบาดเจ็บของส่วนของท้อง หลังส่วนล่าง และเชิงกราน
  • () การบาดเจ็บอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดที่ท้อง หลังส่วนล่าง และเชิงกราน

(S40-S49) การบาดเจ็บที่ไหล่ และต้นแขน[แก้]

  • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวของไหล่และต้นแขน
  • () แผลเปิดที่ไหล่และต้นแขน
  • () กระดูกไหล่และต้นแขนหัก
    • () กระดูกไหปลาร้าหัก
    • () กระดูกสะบักหัก
    • () กระดูกต้นแขนปลายบนหัก
    • () กระดูกต้นแขนส่วนกลางหัก
    • () กระดูกต้นแขนปลายล่างหัก
    • () กระดูกไหปลาร้า กระดูกสะบัก และกระดูกต้นแขนหักหลายตำแหน่ง
    • () กระดูกส่วนอื่นของไหล่และต้นแขนหัก
    • () กระดูกโอบไหล่หัก ไม่ระบุส่วน
  • () การเคลื่อน แพลง และเคล็ดของข้อและเอ็นของกระดูกโอบไหล่
    • () การเคลื่อนของข้อไหล่
    • () การเคลื่อนของข้อระหว่างกระดูกสะบักกับกระดูกไหปลาร้า
    • () การเคลื่อนของข้อระหว่างกระดูกหน้าอกกับกระดูกไหปลาร้า
    • () การเคลื่อนของส่วนอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของกระดูกโอบไหล่
    • () การแพลงและเคล็ดของข้อไหล่
    • () การแพลงและเคล็ดของข้อระหว่างกระดูกสะบักกับกระดูกไหปลาร้า
    • () การแพลงและเคล็ดของข้อระหว่างกระดูกหน้าอกกับกระดูกไหปลาร้า
    • () การแพลงและเคล็ดของส่วนอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของกระดูกโอบไหล่
  • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทที่ระดับไหล่และต้นแขน
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทอัลนาร์ที่ระดับต้นแขน
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทมีเดียนที่ระดับต้นแขน
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทเรเดียลที่ระดับต้นแขน
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทรักแร้
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทกล้ามเนื้อและผิวหนัง
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทรับความรู้สึกที่ผิวหนังที่ระดับไหล่และต้นแขน
    • () การบาดเจ็บหลายตำแหน่งของเส้นประสาทที่ระดับไหล่และต้นแขน
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทอื่นที่ระดับไหล่และต้นแขน
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทที่ไม่ระบุรายละเอียดที่ระดับไหล่และต้นแขน
  • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดที่ระดับไหล่และต้นแขน
  • () การบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและเอ็นที่ระดับไหล่และต้นแขน
    • () การบาดเจ็บที่เอ็นของกลุ่มกล้ามเนื้อรอบไหล่
    • () การบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและเอ็นส่วนหัวของไบเซพส์
    • () การบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและเอ็นส่วนอื่นของไบเซพส์
    • () การบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและเอ็นของไตรเซพส์
    • () การบาดเจ็บหลายตำแหน่งที่กล้ามเนื้อและเอ็นที่ระดับไหล่และต้นแขน
    • () การบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและเอ็นอื่นที่ระดับไหล่และต้นแขน
    • () การบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและเอ็นที่ไม่ระบุรายละเอียดที่ระดับไหล่และต้นแขน
  • () การบาดเจ็บแบบบดอัดที่ไหล่และต้นแขน
  • () ไหล่และต้นแขนถูกตัดเพราะบาดเจ็บ
  • () การบาดเจ็บอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของไหล่และต้นแขน

(S50-S59) การบาดเจ็บที่ข้อศอกและแขนท่อนปลาย[แก้]

  • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวของข้อศอกและแขนท่อนปลาย
  • () แผลเปิดที่ข้อศอกและแขนท่อนปลาย
  • () กระดูกข้อศอกและแขนท่อนปลายหัก
    • () กระดูกอัลนาร์หักที่ปลายบน
      • กระดูกหักมอนเตกเกีย
    • () กระดูกเรเดียสหักที่ปลายบน
    • () กระดูกอัลนาร์หักที่ส่วนกลาง
    • () กระดูกเรเดียสหักที่ส่วนกลาง
      • กระดูกหักกาเลียซซี
    • () กระดูกอัลนาร์และเรเดียสหักที่ส่วนกลางทั้งคู่
    • () กระดูกเรเดียสหักที่ปลายล่าง
      • กระดูกหักคอลลีส์
      • กระดูกหักสมิท
    • () กระดูกอัลนาร์และเรเดียสหักที่ปลายล่างทั้งคู่
    • () กระดูกแขนท่อนปลายหักหลายตำแหน่ง
    • () กระดูกแขนท่อนปลายหักที่ส่วนอื่น
    • () กระดูกแขนท่อนปลายหัก ไม่ระบุส่วน
  • () การเคลื่อน แพลง และเคล็ดของข้อและเอ็นของข้อศอก
    • () การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส
    • () การเคลื่อนของข้อศอก ไม่ระบุรายละเอียด
    • () เอ็นด้านข้างของกระดูกเรเดียสขาดเพราะบาดเจ็บ
    • () เอ็นด้านข้างของกระดูกอัลนาร์ขาดเพราะบาดเจ็บ
    • () การแพลงและเคล็ดของข้อศอก
  • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทที่ระดับแขนท่อนปลาย
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทอัลนาร์ที่ระดับแขนท่อนปลาย
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทมีเดียนที่ระดับแขนท่อนปลาย
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทเรเดียลที่ระดับแขนท่อนปลาย
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทรับความรู้สึกที่ผิวหนังที่ระดับแขนท่อนปลาย
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทหลายเส้นที่ระดับแขนท่อนปลาย
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทอื่นที่ระดับแขนท่อนปลาย
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทที่ไม่ระบุรายละเอียดที่ระดับแขนท่อนปลาย
  • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดที่ระดับแขนท่อนปลาย
  • () การบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและเอ็นที่ระดับแขนท่อนปลาย
  • () การบาดเจ็บแบบบดอัดของแขนท่อนปลาย
  • () แขนท่อนปลายถูกตัดเพราะบาดเจ็บ
  • () การบาดเจ็บอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของแขนท่อนปลาย

(S60-S69) การบาดเจ็บที่ข้อมือและมือ[แก้]

  • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวของข้อมือและมือ
  • () แผลเปิดของข้อมือและมือ
  • () กระดูกหักที่ระดับข้อมือและมือ
    • () กระดูกนาวิคูลาร์ (สแคฟฟอยด์) ของมือหัก
    • () กระดูกข้อมืออื่นหัก
    • () กระดูกฝ่ามือชิ้นที่หนึ่งหัก
      • กระดูกหักแบบเบนเน็ตต์
    • () กระดูกฝ่ามือชิ้นอื่นหัก
    • () กระดูกฝ่ามือหักหลายตำแหน่ง
    • () กระดูกนิ้วหัวแม่มือหัก
    • () กระดูกนิ้วมืออื่นหัก
    • () กระดูกนิ้วหัวแม่มือและนิ้วมือหักหลายตำแหน่ง
    • () กระดูกส่วนอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของข้อมือและมือหัก
  • () การเคลื่อน แพลง และเคล็ดของข้อและเอ็นที่ระดับข้อมือและมือ
  • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทที่ระดับข้อมือและมือ
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทอัลนาร์ที่ระดับข้อมือและมือ
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทมีเดียนที่ระดับข้อมือและมือ
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทเรเดียลที่ระดับข้อมือและมือ
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทนิ้วของนิ้วหัวแม่มือ
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทนิ้วของนิ้วมืออื่น
    • () การบาดเจ็บหลายตำแหน่งของเส้นประสาทที่ระดับข้อมือและมือ
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทอื่นที่ระดับข้อมือและมือ
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทที่ไม่ระบุรายละเอียดที่ระดับข้อมือและมือ
  • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดที่ระดับข้อมือและมือ
  • () การบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและเอ็นที่ระดับข้อมือและมือ
  • () การบาดเจ็บแบบบดอัดของข้อมือและมือ
  • () ข้อมือและมือถูกตัดเพราะบาดเจ็บ
  • () การบาดเจ็บอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของข้อมือและมือ

(S70-S79) การบาดเจ็บที่สะโพกและต้นขา[แก้]

  • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวของสะโพกและต้นขา
  • () แผลเปิดที่สะโพกและต้นขา
  • () กระดูกต้นขาหัก
    • () กระดูกต้นขาส่วนคอหัก
      • กระดูกสะโพกหัก มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
    • () กระดูกต้นขาหักผ่านปุ่มกระดูกโคนขา
    • () กระดูกหักใต้ปุ่มประดูกโคนขา
    • () กระดูกต้นขาส่วนกลางหัก
    • () กระดูกต้นขาปลายล่างหัก
    • () กระดูกต้นขาหักหลายตำแหน่ง
    • () กระดูกต้นขาส่วนอื่นหัก
    • () กระดูกต้นขาหัก ไม่ระบุส่วน
  • () การเคลื่อน แพลง และเคล็ดของข้อและเอ็นของสะโพก
    • () การเคลื่อนของข้อสะโพก
    • () การแพลงและเคล็ดของสะโพก
  • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทที่ระดับสะโพกและต้นขา
  • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดที่ระดับสะโพกและต้นขา
  • () การบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและเอ็นที่ระดับสะโพกและต้นขา
  • () การบาดเจ็บแบบบดอัดของสะโพกและต้นขา
  • () สะโพกและต้นขาถูกตัดเพราะบาดเจ็บ
  • () การบาดเจ็บอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของสะโพกและต้นขา

(S80-S89) การบาดเจ็บที่เข่าและขาท่อนปลาย[แก้]

  • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวของเข่าและขาท่อนปลาย
  • () แผลเปิดที่เข่าและขาท่อนปลาย
  • () กระดูกขาท่อนปลายหัก รวมข้อเท้า
    • () กระดูกสะบ้าหัก
    • () กระดูกแข้งปลายบนหัก
    • () กระดูกแข้งส่วนกลางหัก
    • () กระดูกแข้งปลายล่างหัก
    • () กระดูกน่องหักโดยลำพัง
    • () กระดูกตาตุ่มด้านในหัก
    • () กระดูกตาตุ่มด้านนอกหัก
    • () กระดูกขาท่อนปลายหักหลายตำแหน่ง
    • () กระดูกขาท่อนปลายส่วนอื่นหัก
      • กระดูกไตรมาลิโอลาร์หัก
    • () กระดูกขท่อนปลายหัก ไม่ระบุส่วน
  • () การเคลื่อน แพลง และเคล็ดของข้อและเอ็นของเข่า
    • () สะบ้าเคลื่อน
    • () เข่าเคลื่อน
    • () หมอนรองเข่าฉีกขาด ปัจจุบัน
    • () กระดูกอ่อนข้อเข่าฉีกขาด ปัจจุบัน
    • () การแพลงและเคล็ดของเอ็นข้างเข่า (ของกระดูกแข้ง) (ของกระดูกน่อง)
    • () การแพลงและเคล็ดของเอ็นไขว้เข่า
    • () การแพลงและเคล็ดของเอ็นของส่วนอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของเข่า
    • () การบาดเจ็บหลายตำแหน่งของเข่า
  • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทที่ระดับขาท่อนปลาย
  • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดที่ระดับขาท่อนปลาย
  • () การบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและเอ็นที่ระดับขาท่อนปลาย
  • () การบาดเจ็บแบบบดอัดของเข่าและขาท่อนปลาย
  • () เข่าและขาท่อนปลายถูกตัดเพราะบาดเจ็บ
  • () การบาดเจ็บอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของเข่าและขาท่อนปลาย

(S90-S99) การบาดเจ็บที่ข้อเท้าและเท้า[แก้]

  • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวของข้อเท้าและเท้า
  • () แผลเปิดที่ข้อเท้าและเท้า
  • () กระดูกเท้าหัก ยกเว้นข้อเท้า
    • () กระดูกแคลคาเนียสหัก
    • () กระดูกทาลัสหัก
    • () กระดูกข้อเท้าอื่นหัก
    • () กระดูกฝ่าเท้าหัก
      • กระดูกหักแบบโจนส์
    • () กระดูกนิ้วหัวแม่เท้าหัก
    • () กระดูกนิ้วเท้าอื่นหัก
    • () กระดูกเท้าหักหลายตำแหน่ง
    • () กระดูกเท้าหัก ไม่ระบุรายละเอียด
  • () การเคลื่อน แพลง และเคล็ดของข้อและเอ็นที่ระดับข้อเท้าและเท้า
    • () ข้อเท้าเคลื่อน
    • () นิ้วเท้าเคลื่อน
    • () เอ็นฉีกขาดที่ระดับข้อเท้าและเท้า
    • () การเคลื่อนของส่วนอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของเท้า
    • () การแพลงและเคล็ดของข้อเท้า
    • () การแพลงและเคล็ดของนิ้วเท้า
      • ระหว่างกระดูกนิ้วเท้า (ข้อ)
      • ระหว่างกระดูกฝ่าเท้ากับกระดูกนิ้วเท้า (ข้อ))
    • () การแพลงและเคล็ดของส่วนอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของเท้า
  • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทที่ระดับข้อเท้าและเท้า
  • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดที่ระดับข้อเท้าและเท้า
  • () การบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและเอ็นที่ระดับข้อเท้าและเท้า
  • () การบาดเจ็บแบบบดอัดของข้อเท้าและเท้า
  • () ข้อเท้าและเท้าถูกตัดเพราะบาดเจ็บ
  • () การบาดเจ็บแบบอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของข้อเท้าและเท้า

(T00-T07) การบาดเจ็บที่หลายบริเวณของร่างกาย[แก้]

  • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวหลายบริเวณของร่างกาย
  • () แผลเปิดที่หลายบริเวณของร่างกาย
  • () กระดูกหักที่หลายบริเวณของร่างกาย
  • () การเคลื่อน แพลง และเคล็ดที่ร่างกายหลายบริเวณ
  • () การบาดเจ็บแบบบดอัดหลายบริเวณของร่างกาย
  • () การถูกตัดเพราะบาดเจ็บที่หลายบริเวณของร่างกาย
  • () การบาดเจ็บอื่นที่หลายบริเวณของร่างกาย มิได้จำแนกไว้ที่ใด
  • () การบาดเจ็บหลายตำแหน่งที่ไม่ระบุรายละเอียด

(T08-T14) การบาดเจ็บที่ส่วนที่ไม่ระบุรายละเอียดของลำตัว แขนขา หรือร่างกาย[แก้]

  • () กระดูกสันหลังหัก ไม่ระบุระดับ
  • () การบาดเจ็บแบบอื่นของกระดูกสันหลังและลำตัว ไม่ระบุระดับ
    • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวที่ลำตัว ไม่ระบุระดับ
    • () แผลเปิดที่ลำตัว ไม่ระบุระดับ
    • () การเคลื่อน แพลง และเคล็ดของข้อและเอ็นที่ลำตัวซึ่งไม่ระบุรายละเอียด
    • () การบาดเจ็บที่ไขสันหลัง ไม่ระบุระดับ
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาท รากประสาทไขสันหลัง และข่ายประสาทที่ลำตัวซึ่งไม่ระบุรายละเอียด
    • () การบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและเอ็นที่ลำตัวซึ่งไม่ระบุรายละเอียด
    • () ลำตัวถูกตัดเพราะบาดเจ็บ ไม่ระบุระดับ
    • () การบาดเจ็บที่ลำตัวแบบอื่นซึ่งระบุรายละเอียด ไม่ระบุระดับ
    • () การบาดเจ็บที่ลำตัวซึ่งไม่ระบุรายละเอียด ไม่ระบุระดับ
  • () กระดูกแขนหัก ไม่ระบุระดับ
  • () การบาดเจ็บแบบอื่นที่แขน ไม่ระบุระดับ
  • () กระดูกขาหัก ไม่ระบุระดับ
  • () การบาดเจ็บแบบอื่นที่ขา ไม่ระบุระดับ
  • () การบาดเจ็บที่ไม่ระบุบริเวณของร่างกาย
    • () การบาดเจ็บที่ชั้นผิวที่ไม่ระบุบริเวณของร่างกาย
      • การถลอก มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
      • ตุ่มพอง (ไม่เกิดจากความร้อน) มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
      • จ้ำเลือด มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
      • การฟกช้ำ มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
      • ก้อนเลือด มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
      • การบาดเจ็บจากสิ่งแปลกปลอมที่ชั้นผิว (เสี้ยน) โดยไม่มีแผลเปิดชัดเจน มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
      • แมลงกัด (ไม่มีพิษ) มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
    • () แผลเปิดที่ไม่ระบุบริเวณของร่างกาย
      • แผลสัตว์กัด มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
      • แผลถูกบาด มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
      • การฉีกขาด มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
      • แผลเปิด มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
      • แผลเจาะร่วมกับมีสิ่งแปลกปลอม (ทิ่มแทง)
    • () กระดูกหักบริเวณที่ไม่ระบุรายละเอียด
    • () การเคลื่อน แพลง และเคล็ดที่ไม่ระบุบริเวณของร่างกาย
    • () การบาดเจ็บที่เส้นประสาทที่ไม่ระบุบริเวณของร่างกาย
    • () การบาดเจ็บที่หลอดเลือดที่ไม่ระบุบริเวณของร่างกาย
    • () การบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อและเอ็นที่ไม่ระบุบริเวณของร่างกาย
    • () การบาดเจ็บแบบบดอัดและการถูกตัดเพราะบาดเจ็บที่ไม่ระบุบริเวณของร่างกาย
    • () การบาดเจ็บแบบอื่นที่ไม่ระบุบริเวณของร่างกาย
    • () การบาดเจ็บ ไม่ระบุรายละเอียด

T15-T98 - การเป็นพิษ และผลสืบเนื่องบางอย่างจากสาเหตุภายนอก[แก้]

(T15-T19) ผลของสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกายผ่านช่องเปิดธรรมชาติ[แก้]

  • () สิ่งแปลกปลอมที่ตาส่วนนอก
  • () สิ่งแปลกปลอมในหู
  • () สิ่งแปลกปลอมในทางเดินหายใจ
  • () สิ่งแปลกปลอมในทางเดินอาหาร
  • () สิ่งแปลกปลอมในทางเดินปัสสาวะและระบบสืบพันธุ์

(T20-T32) แผลถูกความร้อนและสารกัดกร่อน[แก้]

  • () แผลถูกความร้อนและสารกัดกร่อนที่ศีรษะและคอ
  • () แผลถูกความร้อนและสารกัดกร่อนที่ลำตัว
  • () แผลถูกความร้อนและสารกัดกร่อนที่ไหล่และแขน ยกเว้นข้อมือและมือ
  • () แผลถูกความร้อนและสารกัดกร่อนที่ข้อมือและมือ
  • () แผลถูกความร้อนและสารกัดกร่อนที่สะโพกและขา ยกเว้นข้อเท้าและเท้า
  • () แผลถูกความร้อนและสารกัดกร่อนที่ข้อเท้าและเท้า
  • () แผลถูกความร้อนและสารกัดกร่อนที่หลายส่วนของร่างกาย
  • () แผลถูกความร้อนและสารกัดกร่อน ไม่ระบุบริเวณของร่างกาย
  • () แผลถูกความร้อนจำแนกตามขนาดพื้นที่ผิวกายที่เป็นแผล
  • () แผลถูกสารกัดกร่อนจำแนกตามขนาดพื้นที่ผิวกายที่เป็นแผล

(T33-T35) หิมะกัด[แก้]

  • () หิมะกัดที่ชั้นผิว
  • () หิมะกัดร่วมกับมีเนื้อตาย
  • () หิมะกัดที่หลายบริเวณของร่างกายและที่ไม่ระบุรายละเอียด

(T36-T50) การเป็นพิษจากยา ตัวยา และสารชีวภาพ[แก้]

  • () การเป็นพิษจากยาปฏิชีวนะที่ออกฤทธิ์ทั่วร่างกาย
  • () การเป็นพิษจากยาต้านการติดเชื้อและยาต้านปรสิตอื่นที่ออกฤทธิ์ทั่วร่างกาย
    • () ซัลโฟนาไมด์
    • () ยาต้านไมโคแบคทีเรีย
    • () ยาต้านมาลาเรียและยาที่ออกฤทธิ์ต่อโปรโตซัวในเลือด
    • () ยาต้านโปรโตซัวชนิดอื่น
    • () ยาต้านหนอนพยาธิ
    • () ยาต้านไวรัส
    • () ยาต้านการติดเชื้อและยาต้านปรสิตอื่นที่ระบุรายละเอียดที่ออกฤทธิ์ทั่วร่างกาย
    • () ยาต้านการติดเชื้อและยาต้านปรสิตอื่นที่ออกฤทธิ์ทั่วร่างกาย ไม่ระบุรายละเอียด
  • () การเป็นพิษจากฮอร์โมนรวมทั้งสารสังเคราะห์ทดแทนและสารต้าน มิได้จำแนกไว้ที่ใด
  • () การเป็นพิษจากยาระงับปวดชนิดไม่เข้าฝิ่น ยาลดไข้ และยาต้านรูมาติก
  • () การเป็นพิษจากสารเสพติดและสารก่อประสาทหลอน
    • () ฝิ่น
    • () เฮโรอีน
    • () สารเข้าฝิ่นอื่น
      • โคดิอีน
      • มอร์ฟีน
    • () เมทาโดน
    • () สารเสพติดสังเคราะห์อื่น
      • เพติดีน
    • () โคเคน
    • () สารเสพติดอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียด
    • () กัญชา (อนุพันธ์)
    • () ไลเซอร์ไจด์ (แอลเอสดี)
    • () สารก่อประสาทหลอนอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียด
      • เมสคาลีน
      • ซิโลซิน
      • ซิโลไซบีน
  • () การเป็นพิษจากยาระงับความรู้สึกและแก๊สที่ใช้ในการรักษา
  • () การเป็นพิษจากยาต้านชัก ยาระงับประสาท-ยานอนหลับ และยาต้านพาร์คินสัน
    • () อนุพันธ์ไฮแดนโตอิน
    • () อิมิโนสติลบีน
    • () ซักซินิไมด์และออกซาลิดีนไดโอน
    • () บาร์บิทูเรต
    • () เบนโซไดอะซีปีน
    • () ยาต้านชักชนิดผสม มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • () ยาต้านชักและยาระงับประสาท-ยานอนหลับอื่น
    • () ยาต้านชักและยาระงับประสาท-ยานอนหลับ ไม่ระบุรายละเอียด
    • () ยาต้านพาร์คินสันและยาอื่นที่ออกฤทธิ์ส่วนกลางเพื่อลดความตึงของกล้ามเนื้อ
  • () การเป็นพิษจากยาจิตประสาท มิได้จำแนกไว้ที่ใด
  • () การเป็นพิษจากยาที่ออกฤทธิ์เบื้องต้นต่อระบบประสาทอัตโนมัติ
  • () การเป็นพิษจากสารที่ออกฤทธิ์เบื้องต้นต่อทั้งร่างกายและระบบเลือด มิได้จำแนกไว้ที่ใด
  • () การเป็นพิษจากสารที่ออกฤทธิ์เบื้องต้นต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด
  • () การเป็นพิษจากสารที่ออกฤทธิ์เบื้องต้นต่อระบบกระเพาะอาหารและลำไส้
  • () การเป็นพิษจากสารที่ออกฤทธิ์เบื้องต้นต่อกล้ามเนื้อเรียบและกล้ามเนื้อโครงร่าง และระบบหายใจ
  • () การเป็นพิษจากสารใช้เฉพาะที่ซึ่งออกฤทธิ์เบื้องต้นต่อผิวหนังและเยื่อเมือก รวมทั้งยาที่ใช้กับตา หู จมูก กล่องเสียง และฟัน
  • () การเป็นพิษจากยาขับปัสสาวะ รวมทั้งยา ตัวยา และสารชีวภาพอื่น และที่ไม่ระบุรายละเอียด

(T51-T65) การเป็นพิษจากสารที่ไม่ใช้เป็นยา[แก้]

  • () การเป็นพิษจากแอลกอฮอล์
    • () เอทานอล
    • () เมทานอล
    • () 2-โปรปานอล
    • () ฟูเซล ออยล์
  • () การเป็นพิษจากตัวทำละลายอินทรีย์
    • () เบนซีน
  • () การเป็นพิษจากอนุพันธ์ฮาโลเจนของสารอะลิฟาติกและอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน
    • () คลอโรฟอร์ม
      • ไตรคลอโรมีเทน
    • () ไตรคลอโรเอทิลีน
      • ไตรคลอโรอีเทน
    • () เตตราคลอโรเอทิลีน
      • เปอร์คลอโรเอทิลีน
      • เตตราคลอโรอีเทน
    • () ไดคลอโรมีเทน
      • เมทิลีน คลอไรด์
    • () คลอโรฟลูออโรคาร์บอน
  • () การเป็นพิษจากสารกัดกร่อน
    • () ฟีนอลและคู่เหมือน
    • () สารประกอบกัดกร่อนอินทรีย์อื่น
    • () กรดกัดกร่อนและสารคล้ายกรด
    • () ด่างกัดกร่อนและสารคล้ายด่าง
  • () การเป็นพิษจากสบู่และผงซักฟอก
  • () การเป็นพิษจากโลหะ
    • () ตะกั่วและสารประกอบ
    • () ปรอทและสารประกอบ
    • () โครเมียมและสารประกอบ
    • () แคดเมียมและสารประกอบ
    • () ทองแดงและสารประกอบ
    • () สังกะสีและสารประกอบ
    • () ดีบุกและสารประกอบ
    • () เบอริลเลียมและสารประกอบ
    • () โลหะอื่น
  • () การเป็นพิษจากสารอนินทรีย์อื่น
    • () สารหนูและสารประกอบ
    • () ฟอสฟอรัสและสารประกอบ
    • () แมงกานีสและสารประกอบ
    • () ไฮโดรเจนไซยาไนด์
  • () การเป็นพิษจากคาร์บอน โมนอกไซด์
  • () การเป็นพิษจากแก๊ส ควัน และไอชนิดอื่น
    • () ไนโตรเจนออกไซด์
    • () ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
    • () ฟอร์มาลดีไฮด์
    • () แก๊สสร้างน้ำตา
      • แก๊สน้ำตา
    • () แก๊สคลอรีน
    • () แก๊สฟลูออรีนและไฮโดรเจนฟลูออไรด์
    • () ไฮโดรเจนซัลไฟด์
    • () คาร์บอนไดออกไซด์
  • () การเป็นพิษจากสารฆ่าศัตรูพืชและสัตว์
    • () สารฆ่าแมลงกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟตและคาร์บาเมต
    • () สารฆ่าแมลงกลุ่มฮาโลเจน
    • () สารฆ่าแมลงอื่น
    • () สารฆ่าวัชพืชและรา
    • () สารฆ่าหนู
  • () การเป็นพิษจากสารมีพิษที่รับประทานเป็นอาหารทะเล
    • () การเป็นพิษจากปลาซิกัวเทอรา
    • () การเป็นพิษจากปลาสคอมบรอยด์
  • () การเป็นพิษจากสารมีพิษอื่นที่รับประทานเป็นอาหาร
    • () รับประทานเห็ด
    • () รับประทานลูกเบอร์รี
    • () รับประทาน (ส่วนของ) พืชอื่น
    • () สารมีพิษอื่นที่รับประทานเป็นอาหาร
    • () สารมีพิษที่รับประทานเป็นอาหาร ไม่ระบุรายละเอียด
  • () การเป็นพิษจากการสัมผัสสัตว์มีพิษ
    • () พิษงู
    • () พิษสัตว์เลื้อยคลานอื่น
    • () พิษแมงป่อง
    • () พิษแมงมุม
    • () พิษสัตว์ขาปล้องอื่น
    • () การเป็นพิษจากการสัมผัสปลา
    • () การเป็นพิษจากการสัมผัสสัตว์ทะเลอื่น
    • () การเป็นพิษจากการสัมผัสสัตว์มีพิษอื่น
    • () การเป็นพิษจากการสัมผัสสัตว์มีพิษที่ไม่ระบุรายละเอียด
  • () การเป็นพิษจากอะฟลาท็อกซินและท็อกซินอื่นจากราที่ปนเปื้อนในอาหาร
  • () การเป็นพิษจากสารอื่นและสารที่ไม่ระบุรายละเอียด
    • () ไซยาไนด์
    • () สตริกนินและเกลือของมัน
    • () ยาสูบและนิโคติน

(T66-T78) ผลแบบอื่นและผลที่ไม่ระบุรายละเอียดของสาเหตุภายนอก[แก้]

  • () ผลที่ไม่ระบุรายละเอียดของการฉายรังสี
    • การป่วยจากการฉายรังสี
  • () ผลของความร้อนและแสง
    • () เป็นลมเพราะความร้อนและเป็นลมแดด
    • () หมดสติชั่วคราวเพราะความร้อน
      • ฟุบลงไปเพราะความร้อน
    • () ตะคริวเพราะความร้อน
    • () หมดแรงเพราะความร้อน จากการขาดน้ำ
    • () หมดแรงเพราะความร้อนจากการขาดเกลือ
    • () หมดแรงเพราะความร้อน ไม่ระบุรายละเอียด
    • () ล้าเพราะความร้อน ชั่วคราว
    • () บวมเพราะความร้อน
    • () ผลขอื่นองความร้อนและแสง
    • () ผลของความร้อนและแสง ไม่ระบุรายละเอียด
  • () อุณหภูมิกายต่ำผิดปกติ
  • () ผลแบบอื่นของอุณหภูมิที่ลดลง
    • () มือและเท้าแช่น้ำ
      • เนื้อตายที่เท้า
    • () นิ้วมือ นิ้วเท้า และหูอักเสบจากความเย็น
  • () ผลของความกดอากาศและความดันน้ำ
    • () การบาดเจ็บของหูเพราะความกดอากาศ
    • () การบาดเจ็บของโพรงอากาศเพราะความกดอากาศ
    • () ผลแบบอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของระดับความสูง
      • อัลไพน์ ซิกเนส
      • ภาวะขาดออกซิเจนจากอยู่ในที่สูง
      • การบาดเจ็บจากความกดอากาศ มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
      • ป่วยจากความกดอากาศต่ำ
      • เมาท์เทน ซิกเนส
    • () โรคเคซอง (ป่วยจากการลดความกดอากาศ)
  • () การขาดอากาศหายใจ
  • () ผลของความขาดแคลนแบบอื่น
    • () ผลของความหิวโหย
      • การขาดแคลนอาหาร
      • การอดอยาก
    • () ผลของความกระหาย
      • การขาดแคลนน้ำ
    • () หมดแรงเพราะสัมผัสความขาดแคลน
    • () หมดแรงเพราะออกกำลังมากเกิน
      • ออกกำลังมากเกิน
    • () ผลอื่นของความขาดแคลน
    • () ผลของความขาดแคลน ไม่ระบุรายละเอียด
  • () กลุ่มอาการถูกกระทำทารุณ
    • () ถูกละเลยหรือทอดทิ้ง
    • () ถูกทำร้ายร่างกาย
    • () ถูกทำร้ายทางเพศ
    • () ถูกทำร้ายทางจิตใจ
  • () ผลของสาเหตุภายนอกแบบอื่น
    • () ผลของฟ้าผ่า
    • () จมน้ำตายและจมน้ำแต่ไม่ตาย
    • () ผลของการสั่นสะเทือน
      • รู้สึกหมุนจากคลื่นใต้เสียง
    • () ป่วยจากการเคลื่อนไหว
      • เมาเครื่องบิน
      • เมาเรือหรือเมาคลื่น
      • เมารถ
    • () ผลของกระแสไฟฟ้า
      • ไฟฟ้าช็อต
      • ช็อกจากกระแสไฟฟ้า
  • () ผลร้าย มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • () ช็อกแบบอะนาไฟแล็กติกจากปฏิกิริยาแพ้อาหาร
    • () ปฏิกิริยาแพ้อาหารแบบอื่น มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • () ช็อกแบบอะนาไฟแล็กติก มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • () การบวมแบบแองจิโอนิวโรติก
    • () ภูมิแพ้ ไม่ระบุรายละเอียด
      • ปฏิกิริยาภูมิแพ้ มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
      • ภาวะไวเกิน มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
      • ภาวะไวผิดเพี้ยน มิได้ระบุรายละเอียดเป็นอย่างอื่น
    • () ผลร้ายแบบอื่น มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • () ผลร้าย ไม่ระบุรายละเอียด

(T79) ภาวะแทรกซ้อนบางอย่างในระยะแรกของการบาดเจ็บ[แก้]

  • () ภาวะแทรกซ้อนบางอย่างในระยะแรกของการบาดเจ็บ มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • () ฟองอากาศอุดหลอดเลือด (เพราะบาดเจ็บ)
    • () ไขมันอุดหลอดเลือด (เพราะบาดเจ็บ)
    • () เลือดออกทุติยภูมิและเลือดออกซ้ำหลังการบาดเจ็บ
    • () แผลติดเชื้อหลังการบาดเจ็บ มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • () ช็อกเพราะบาดเจ็บ
    • () ภาวะไม่มีปัสสาวะเพราะบาดเจ็บ
      • กลุ่มอาการถูกบดอัด
    • () กล้ามเนื้อขาดเลือดเพราะบาดเจ็บ
      • กลุ่มอาการคอมพาร์ตเมนต์
      • กล้ามเนื้อหดค้างจากขาดเลือดแบบโวล์คแมนน์
    • () ภาวะมีอากาศใต้ผิวหนังจากการบาดเจ็บ
    • () ภาวะแทรกซ้อนแบบอื่นในระยะแรกของการบาดเจ็บ
    • () ภาวะแทรกซ้อนที่ไม่ระบุรายละเอียดในระยะแรกของการบาดเจ็บ

(T80-T88) ภาวะแทรกซ้อนของการดูแลทางศัลยกรรมและอายุรกรรม มิได้จำแนกไว้ที่ใด[แก้]

  • () ภาวะแทรกซ้อนหลังการให้ของเหลวทางหลอดเลือด การถ่ายเลือด และการฉีดยาเพื่อรักษา
    • () ฟองอากาศอุดหลอดเลือดหลังการให้ของเหลวทางหลอดเลือด การถ่ายเลือด และการฉีดยาเพื่อรักษา
    • () ภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดหลังการให้ของเหลวทางหลอดเลือด การถ่ายเลือด และการฉีดยาเพื่อรักษา
    • () การติดเชื้อหลังการให้ของเหลวทางหลอดเลือด การถ่ายเลือด และการฉีดยาเพื่อรักษา
    • () ปฏิกิริยาจากความไม่เข้ากันของกลุ่มเลือดเอบีโอ
    • () ปฏิกิริยาจากความไม่เข้ากันของกลุ่มเลือดอาร์เอช
    • () อะนาไฟแล็กติกช็อกจากซีรัม
    • () ปฏิกิริยาอื่นต่อซีรัม
      • ป่วยจากซีรัม
    • () ภาวะแทรกซ้อนอื่นหลังการให้ของเหลวทางหลอดเลือด การถ่ายเลือด และการฉีดยาเพื่อรักษา
    • () ภาวะแทรกซ้อนที่ไม่ระบุรายละเอียดหลังการให้ของเหลวทางหลอดเลือด การถ่ายเลือด และการฉีดยาเพื่อรักษา
  • () ภาวะแทรกซ้อนของหัตถการ มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • () เลือดออกและก้อนเลือดที่แทรกซ้อนการทำหัตถการ มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • () ช็อกระหว่างหรือเป็นผลจากการทำหัตถการ มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • () การเจาะและฉีกขาดโดยอุบัติเหตุระหว่างการทำหัตถการ มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • () แผลผ่าตัดแยก มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • () การติดเชื้อหลังการทำหัตถการ มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • () สิ่งแปลกปลอมที่ตกค้างโดยอุบัติเหตุในช่องของร่างกายหรือแผลผ่าตัดหลังการทำหัตถการ
    • () ปฏิกิริยาเฉียบพลันต่อสารแปลกปลอมที่ตกค้างโดยอุบัติเหตุระหว่างการทำหัตถการ
    • () ภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดหลังการทำหัตถการ มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • () ภาวะแทรกซ้อนแบบอื่นของการทำหัตถการ มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • () ภาวะแทรกซ้อนที่ไม่ระบุรายละเอียดของการทำหัตถการ
  • () ภาวะแทรกซ้อนของอุปกรณ์เทียม อุปกรณ์ฝัง และสิ่งปลูกถ่ายของหัวใจและหลอดเลือด
  • () ภาวะแทรกซ้อนของอุปกรณ์เทียม สิ่งฝัง และสิ่งปลูกถ่ายของระบบสืบพันธุ์และปัสสาวะ
  • () ภาวะแทรกซ้อนของอุปกรณ์เทียม สิ่งฝัง และสิ่งปลูกถ่ายทางออร์โธปิดิกส์ที่อยู่ภายใน
  • () ภาวะแทรกซ้อนของอุปกรณ์เทียม สิ่งฝัง และสิ่งปลูกถ่ายแบบอื่นที่อยู่ภายใน
  • () ความล้มเหลวและการปฏิเสธอวัยวะและเนื้อเยื่อที่ถูกปลูกถ่าย
  • () ภาวะแทรกซ้อนจำเพาะของการต่อและการตัดอวัยวะ
  • () ภาวะแทรกซ้อนแบบอื่นของการดูแลทางศัลยกรรมและอายุรกรรม มิได้จำแนกไว้ที่ใด
    • () ไข้สูงอย่างร้ายจากการระงับความรู้สึก

(T90-T98) ผลที่ตามมาของการบาดเจ็บ การเป็นพิษ และผลสืบเนื่องอื่นของสาเหตุภายนอก[แก้]

  • () ผลที่ตามมาของการบาดเจ็บที่ศีรษะ
  • () ผลที่ตามมาของการบาดเจ็บที่คอและลำตัว
  • () ผลที่ตามมาของการบาดเจ็บที่แขน
  • () ผลที่ตามมาของการบาดเจ็บที่ขา
  • () ผลที่ตามมาของการบาดเจ็บที่หลายบริเวณของร่างกายและที่ไม่ระบุบริเวณ
  • () ผลที่ตามมาของการถูกความร้อน สารกัดกร่อน และหิมะกัด
  • () ผลที่ตามมาของการเป็นพิษจากยา ตัวยา และสารชีวภาพ
  • () ผลที่ตามมาของผลเป็นพิษของสารที่ไม่ใช่ยา
  • () ผลที่ตามมาของผลแบบอื่นและที่ไม่ระบุรายละเอียดของสาเหตุภายนอก

ดูเพิ่ม[แก้]

  • รายการอาการในรหัส ICD-10
  • บัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • ICD-10-TM Online บัญชีจำแนกโรคระหว่างประเทศ ฉบับประเทศไทย