ว ฒนธรรมต างชาต ท ม ผลกระทบต อฉ นและครอบ

Page 52 - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อมวลชน

  1. 52

` 12-42 ความรู้เบือ้ งตน้ เกีย่ วกบั สือ่ มวลชน เกี่ยวกับสินค้าเหล่านี้ ยังมีตัวอย่างของสินค้าอีกมากมายที่เราจะสามารถสังเกตได้จากความนิยมสั่งซื้อ ทำ� ใหย้ อดขายเพมิ่ ขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ เพราะคา่ นยิ มทเี่ กดิ จากมายาคตทิ สี่ อื่ มวลชนสรา้ งขนึ้ โดยเฉพาะโทรทศั น์ และสอ่ื ออนไลนท์ ี่มีทั้งภาพและเสียงทำ� ให้มีความรู้สกึ เหมอื นจรงิ น่าเชือ่ ถอื

  1. ส่อื มวลชนทำ� ใหเ้ กดิ การครอบงำ� ทางวฒั นธรรม เนอื่ งจากความเจรญิ กา้ วหนา้ ของเทคโนโลยี การสอื่ สารทสี่ ามารถตดิ ตอ่ เชอื่ มโยงสว่ นตา่ งๆ ของโลกเขา้ ดว้ ยกนั ทำ� ใหโ้ ลกมคี วามเปน็ อนั หนงึ่ อนั เดยี วกนั หรือเรียกว่าโลกไร้พรมแดนหรือโลกาภิวัตน์ (globalization) ประชาชนไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของโลก และ ไมว่ า่ เหตกุ ารณน์ นั้ เกดิ ขนึ้ ทใี่ ดกส็ ามารถรบั รขู้ า่ วสารไดด้ ว้ ยระยะเวลาทรี่ วดเรว็ นอกจากขา่ วสารแลว้ ยงั นำ� วฒั นธรรมจากชาตอิ นื่ ไปเผยแพร่ บางวฒั นธรรมไดร้ บั ความนยิ มอยา่ งมาก จนทำ� ใหค้ นในชาตนิ น้ั ๆ ยอมรบั วัฒนธรรมอื่น จนสูญเสียเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของตนเอง ซึ่งเป็นประเด็นท่ีประเทศต่างๆ ก�ำลัง หวน่ั วติ กกนั มาก โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ประเทศทกี่ ำ� ลงั พฒั นากำ� ลงั หวน่ั เกรงวา่ ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยี การส่ือสารจะใหป้ ระเทศของตนจะถกู ครอบงำ� จากวฒั นธรรมตา่ งชาตทิ ่ีมคี วามเจริญกวา่
       เฮอร์เบิร์ต ชิลเลอร์ (Herbert Schiller) ผู้เขียนหนังสือชื่อ “Mass Communication and  
    
    American Empire” เชอ่ื ว่า การส่อื สารระหว่างประเทศมผี ลในทางลบกอ่ ให้เกดิ ลัทธจิ ักรวรรดินิยมทาง วฒั นธรรม (cultural imperialism) โดยมองวา่ สอื่ มวลชนมลี กั ษณะเชน่ เดยี วกบั นกั ลา่ อาณานคิ มของยโุ รป ในศตวรรษท่ี 19 ทใี่ ชอ้ ำ� นาจบบี บงั คบั ใหป้ ระเทศอาณานคิ มยอมรบั วฒั นธรรมของตน ผดิ กนั แตว่ า่ ประเทศ สหรฐั อเมรกิ าและยุโรปตะวนั ตกในปัจจบุ ันใช้ผลประโยชน์เป็นเครอื่ งมือในการบีบบงั คับแทนอาวธุ โดยไม่ ค�ำนึงถึงผลกระทบท่ีมีต่อประเทศอื่น และลัทธิจักรวรรดินิยมทางวัฒนธรรมนี้สามารถแพร่กระจายไปยัง ประเทศต่างๆ ทั่วโลกได้อย่างรวดเร็วโดยการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพสูง เช่น การสื่อสารผ่านดาวเทียม หรอื การส่ือสารผ่านเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ ดังน้นั จึงมคี วามรนุ แรงมากกว่าลทั ธจิ ักรวรรดนิ ิยมในอดีต เรา จะเหน็ วา่ การไหลของขา่ วสารในโลกปจั จบุ นั มลี กั ษณะเปน็ การไหลทางเดยี ว จากประเทศมหาอ�ำนาจไปยงั ประเทศท่ีด้อยพัฒนาหรือประเทศในโลกท่ีสาม ประเทศเหล่าน้ันจ�ำเป็นต้องรับค่านิยมตะวันตกอย่างไม่ สามารถต้านทานได้ สถานีโทรทัศน์ของประเทศโลกที่สามบางประเทศส่ังซ้ือรายการที่ออกอากาศแล้วใน สหรฐั อเมรกิ ามาฉายในประเทศของตนเพราะมรี าคาถกู กวา่ ทผี่ ลติ เองในประเทศ นอกจากรายการโทรทศั น์ แลว้ ยงั มภี าพยนตร์ วดี ทิ ศั น์ เพลง หนงั สอื นติ ยสาร การโฆษณา สง่ิ เหลา่ นลี้ ว้ นสะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ วฒั นธรรม อเมริกันที่แพร่ไปทั่วโลกแม้แต่ในประเทศจีนหรือประเทศญ่ีปุ่นท่ีมีวัฒนธรรมแข็ง ในปัจจุบันก็ยังมีการ ยอมรับวฒั นธรรมตะวนั ตกเช่นเดียวกับประเทศอื่น
  2. ส่ือมวลชนท�ำให้เกิดกระแสคล่ังไคล้วัฒนธรรมชาติอ่ืน นอกจากจะเป็นตัวการการครอบง�ำ

    ของวัฒนธรรมตะวนั ตกแล้ว ปจั จบุ ันวฒั นธรรมตะวันออก เช่น วัฒนธรรมเกาหลี วัฒนธรรมญปี่ ุ่น ก็มีการ เผยแพรผ่ า่ นสอื่ ในรปู ของดนตรี ภาพยนตร์ ละครโทรทศั น์ การต์ นู เกม เปน็ ตน้ จนเปน็ ทย่ี อมรบั กนั อยา่ ง กว้างขวาง โดยเฉพาะประเทศในแถบเอเชียรวมทั้งประเทศไทย จะเห็นได้ว่าวัยรุ่นไทยพากันคล่ังไคล้ นักรอ้ งนกั แสดงเกาหลี ญีป่ นุ่ โดยการเป็นแฟนคลับติดตามไปดกู ารแสดงคอนเสริ ต์ ไปรวมตัวกนั ทุกหน ทุกแห่งท่ีนักร้องนักแสดงท่ีตนชื่นชอบไป กระแสความคล่ังไคล้อาจไม่ถาวรเป็นไปตามกระแสความนิยม ในแต่ละยุคสมัย แต่ระหว่างที่อยู่ในกระแสน้ันก็มีการเลียนแบบการแต่งกายของศิลปินเกาหลีและญี่ปุ่น นยิ มรับประทานอาหาร เรียนภาษา การต้ังชือ่ ตามศิลปินเกาหลีและญ่ปี นุ่ เป็นต้น

    `