ค ม อเเละระเบ ยบมาตรฐาน procedure computer ค อ

เดชดนัย จุ้ยชุม และดิชิตชัย เมตตาริกานนท์. (2560) การพัฒนาฐานข้อมูลเกี่ยวกับภูมิปัญญาศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม, 11(1).

ดิชิตชัย เมตตาริกานนท์ และอรรจน์ บัณฑิตย์. (2557). การวิเคราะห์คุณสมบัติงานบรรณารักษ์และสารสนเทศ : กรณีศึกษาการโฆษณาผ่านทางเว็บไซต์รับสมัครงาน ปี พ.ศ. 2553-2555. วารสารสารสนเทศศาสตร์, 32(3), 36-49.

ดิชิตชัย เมตตาริกานนท์ และอรรจน์ บัณฑิตย์. (2554). การรู้สารสนเทศและการบูรณาการสู่การสอนของอาจารย์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 37(1), 71-85.

สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์ และดิชิตชัย เมตตาริกานนท์. (2554). การพัฒนารูปแบบการแลกเปลี่ยนและการสร้างความรู้ที่มีต่อความสามารถด้านนวัตกรรมของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมกลุ่มอุตสาหกรรมการสกัดน้ำมันปาล์มในเขตจังหวัดภาคใต้ตอนบน. วารสารสารสนเทศศาสตร์, 29(1), 1-12.

บทความวิจัย/วิชาการที่เสนอในที่ประชุมวิชาการ

Att Inganinanda Bundit and Dichitchai Mettarikanon. (2016). An Analysis of Thai

Cremation Books Published in 1972- 2012 at the Library of Wat Bavoranives Vihara, Thailand. Proceedings of Library and Information Professionals Summit (LIPS) 2016 International Conference on “From Ownership to Access: Leveraging the Digital Paradigm”. Ambedkar University Delhi and Society for Library Professionalin association with Special Libraries Association, Asian Chapter. New Delhi, India. 19–20 May 2016. pp. 62.

Dichitchai Mettarikanon, Att bundit (2013). Information literacy and its integration into the instructional design of Walailak’s instructors. Proceedings of Special libraries towards Achieving Dynamic, Strategic and Responsible Working Environment. Pasay City, Philippines. April 10-12, 2013. pp. 99.

บทความทางวิชาการ

ดิชิตชัย เมตตาริกานนท์ และเดชดนัย จุ้ยชุม. (2559). สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับนักศึกษาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์: การสร้างความพร้อมเพื่อการเป็นบรรณารักษ์ในศตวรรษที่ 21. วารสารบรรณศาสตร์ มศว., 9(2), 87-97.

ดิชิตชัย เมตตาริกานนท์ และ อรรจน์ บัณฑิตย์. (2555). การใช้ ICTs ในห้องสมุด : การประยุกต์ใช้ ผลกระทบและปัญหาต่อบรรณารักษ์. วารสารสารสนเทศศาสตร์, 30(3), 10-18.

หนังสือ/ตำรา/เอกสารการสอน

ดิชิตชัย เมตตาริกานนท์. (2558). เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการจัดการ สารสนเทศ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อาจารย์ ดร.นภารัตน์ ชูเกิด

บทความวิจัย

นภารัตน์ ชูเกิด และ กฤษมันต์ วัฒนาณรงค์. (2556). การศึกษาความสัมพันธ์ของความผูกพันของผู้เรียน การยอมรับเทคโนโลยีและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้เว็บเป็นฐานการสอน. วารสารวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรม พระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 4(2), 105-114.

ตวงรัตน์ ศรีวงษ์คล, นภารัตน์ ชูเกิด และอมรัตน์ ชีวังกูร. (2551). การเรียนการสอนโดยอาศัยการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนแบบคอนสตรัคติวิสต์. วารสารสารสนเทศ, 9(2), 53-64.

บทความวิจัย/วิชาการที่เสนอในที่ประชุมวิชาการ

ชูศักดิ์ บุญศรีสอาด, วรพล หลังโส๊ะ, และนภารัตน์ ชูเกิด. (2561). การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ Active Learning เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอนแบบ e-Learning สำหรับรายวิชา DIM-364 Web Design for Information Works. รายงานการประชุมระดับชาติ RACNE 2018 เครือข่ายวิจัยอุดมศึกษาทั่วประเทศครั้งที่ 12, 27-29 พฤษภาคม 2561. ตรัง: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ร่วมกับเครือข่ายอุดมศึกษาภาคใต้ตอนล่าง และ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.

บทความทางวิชาการ

หนังสือ/ตำรา/เอกสารการสอน

นภารัตน์ ชูเกิด. (2558). การออกแบบสารเพื่องานสารสนเทศ. หลักสูตรการจัดการสารสนเทศ สำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. (เอกสารคำสอน) นภารัตน์ ชูเกิด. (2558). การออกแบบเว็บเพื่องานสารสนเทศ (Web Design for Information Works).หลักสูตรการจัดการสารสนเทศ สำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. (เอกสารคำสอน) นภารัตน์ ชูเกิด. (2548). การออกแบบและผลิตสื่อสารสนเทศ. นครศรีธรรมราช : หลักสูตรการจัดการสารสนเทศ สำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. (เอกสารคำสอน)

อื่นๆ

นภารัตน์ ชูเกิด. (2559). การออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกแบบร่วมกันบนเว็บเพื่อพัฒนาทักษะการคิดสร้างสรรค์ สำหรับรายวิชาการออกแบบเว็บเพื่องานสารสนเทศ. นครศรีธรรมราช: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.

อาจารย์ยุทธนา เจริญรื่น

บทความวิจัย/วิชาการที่เสนอในที่ประชุมวิชาการ

สุไลมาน สารีเดะ และยุทธนา เจริญรื่น. “การพัฒนาดิจิทัลคอลเล็กชั่นด้านวรรณกรรมพื้นบ้านจากหนังสือบุดของศูนย์วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช” (โปสเตอร์). การประชุมวิชาการวัลยลักษณ์วิจัยครั้งที่ 4 : มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จ.นครศรีธรรมราช. 21/06/2555

บทความทางวิชาการ

ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ WALAI AutoLib Library Automation System: WALAI AutoLib. บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ มข. : Library & Information Science, KKU. เล่มที่ : 26 ฉบับที่ : 1-3 หน้า : 24-37 เดือน/ปี : 01/2551-12/2551

ผศ.ดร.ศิวนาถ นันทพิชัย

บทความวิจัย

  • วิทยา เทวรังษี, ฐิมาพร เพชรแก้ว, และ ศิวนาถ นันทพิชัย. (2558). กรอบแนวคิดสำหรับการตรวจสอบความสัมพันธ์ของหัวเรื่องสำหรับฐานข้อมุลสหบรรณานุกรมสถาบันอุดมศึกษาไทย, วารสาร สนเทศศาสตร์, 33(2), 1-33.
  • วิทยา เทวรังษี, ศิวนาถ นันทพิชัย, และ ฐิมาพร เพชรแก้ว. (2558). การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์เพื่อควบคุมรายการหลักฐานหัวเรื่องสำหรับฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมสถาบันอุดมศึกษาไทย, วารสารสนเทศศาสตร์, 33(3), 30-55.
  • วิทยา เทวรังษี, ศิวนาถ นันทพิชัย, และ ยุทธนา เจริญรื่น. (2557). การสกัดข้อมูลและสร้างระเบียนรายการหลักฐานจากระเบียนสหบรรณานุกรม Pulinet Journal, 1(1), http://pulinet.oas.psu.ac.th/index.php/journal/article/view/18
  • ศิวนาถ นันทพิชัย, พรพิมล วัชรกุล, และ ณรงค์ ทองรักจันทร์. (2557). การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์เพื่อการควบคุมระเบียนบรรณานุกรม. วารสารสารสนเทศศาสตร์, 32(1), 1-32.
  • ศิวนาถ นันทพิชัย, ลำปาง แม่นมาตย์, และ ชลภัสส์ วงษ์ประเสริฐ. (2557). การใช้แนวทางการจัดหมวดหมู่แบบแฟซิทในการจัดระบบความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย. สงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 20(1), 113-160.
  • บานเย็น ภัทรเกียรติเจริญ, ลำปาง แม่นมาตย์, และ ศิวนาถ นันทพิชัย. (2556) การวิเคราะห์ระบบการจัดหมวดหมู่ความรู้ที่มีอยู่ในเอกสารใบลายที่มีอยู่ในปัจจุบัน. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร, 35(2), 208-232.
  • ภามพิภพพ์ ปุณณพุฒิโมกข์ ศิวนาถ นันทพิชัย และ สลิล บุญพราหมณ์. (2556). การวิเคราะห์โครงสร้างระเบียนบรรณานุกรมโดยใช้การวิเคราะห์แฟซิท. วารสารสารสนเทศศาสตร์, 31(3), 1-29.
  • ปกรณ์ ดิษฐกิจ, นวลวรรณ วิริยะนันทวงศ์, สุธีระ ทองขาว,จันทิรา รัตนรัตน์ และศิวนาถ นันทพิชัย.(2559). การเปลี่ยนแปลงในพื้นที่โครงการพัฒนาลุ่มน้ำปากพนังอันเนื่องมาจากพระราชดำริจังหวัด นครศรีธรรมราช: มุมมองด้านทรัพยากรน้ำ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 18, xx-xx.
  • ศิวนาถ นันทพิชัย, สัจจารีย์ ศิริชัย, สิริวัจนา แก้วผนึก, และ คณิตสรณ์ สุริยะไพบูลย์วัฒนา. (2556). การประเมินหลักสูตรการจัดการสารสนเทศ สำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. วารสารสารสนเทศศาสตร์, 31(3), 49-57.

บทความวิจัย/วิชาการที่เสนอในที่ประชุมวิชาการ

  • วชิร ยั่งยืน, ศิวนาถ นันทพิชัย และ ฐิมาพร เพชรแก้ว. (2559). ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ: มุมมองสำหรับวิธีการของระบบ (Information Behavior Model: Perspective for System Approach). การ ประชุมวิชาการระดับประเทศด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (National Conference on Information Technology: NCIT) ครั้งที่ 8
  • Wachira Yangyuen, Siwanath Nuntapichai, and Thimaporn Phetkaew. (2016). System-Based Information Behavior Model: A Research Proposal. Proceedings of the Doctoral Consortium at the 18th International Conference on Asia-Pacific Digital Libraries (ICADL 2016), and Asia-Pacific Forum of Information Schools (APIS 2016) December 6th, 2016

อาจารย์ ดร.สัจจารีย์ ศิริชัย

บทความวิจัย/วิชาการที่เสนอในที่ประชุมวิชาการ

Suthanya Doung-in and Satjaree Sirichai. (2560). The usability testing on initial user interface design of Nakhon Si Thammarat National Museum Web Site (บรรยาย). In International Conference on Cultural Technology (ICCT 2017), pp.142-145.

สุธัญญา ด้วงอินทร์, สัจจารีย์ ศิริชัย และฮานีซะห์ เจ๊ะโก๊ะ. (2559). การพัฒนาคลังสารสนเทศเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาของสาขาวิชาการจัดการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. Development of Repository for Quality Assurance Information Management, Walailak University. ในการประชุมวิชาการระดับประเทศด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (National Conference on Information Technology: NCIT) ครั้งที่ 8. นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์., 335-340.

อาจารย์สิริวัจนา แก้วผนึก

บทความวิจัย

Kaeophanuek, S., Na-Songkhla, J., & Nilsook, P. (2018). How to enhance digital literacy skills among Information Sciences Students. International Journal of Information and Education Technology, 8(4), 292-297. https:// doi:10.18178/ijiet.2018.8.4.1050

มัลลิกา ไชยจิตต์ และ สิริวัจนา แก้วผนึก. (2556). การออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยววัดในจังหวัดนครศรีธรรมราช. การประชุมวิชาการ วลัยลักษณ์วิจัย ครั้งที่ 5 (ประเภทโปสเตอร์)

จักริน วีแก้ว พูลพงษ์ บุญพราหมณ์ กาญจนา หฤหรรษพงศ์ สิริวัจนา แก้วผนึก และสลิล บุญพราหมณ์. การพัฒนาระบบเครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการทำโครงงาน สำหรับโรงเรียน. (2555).การ ประชุมวิชาการ วลัยลักษณ์วิจัย ครั้งที่ 4 (บรรยาย)

Poonpong Boonbrahm, Kanchana Haruhansapong, Jakrin Weekaew, Sirivajana kaeophanuek, Salin Boonbrahm, and Korkarn Chareansat. (2012). Using Social Network to Improve Educational Quality for Schools in Rural Area: A Case Study of Developing Geometry Game Using 3D graphics Model for Primary School. The Fourth Thailand – Malaysia Joint Educational Research Conference 2012. Chieng Mai, Thailand

สิริวัจนา แก้วผนึก และ พูลพงษ์ บุญพราหมณ์. (2550). การเพิ่มประสิทธิภาพของโปรโตคอลป้องกันการชนกันในระบบอาร์เอฟไอดี (Efficiency Enhancement of Anti-Collision Protocol in RFID System). วารสาร มหาวิทยาลัยทักษิณ : Thaksin University Journal, 10(1) : 9-15.

ผศ.ดร.สุธัญญา ด้วงอินทร์

บทความวิจัย

Suthanya Doung-In. (2018). Exploring the Awareness and Use of Web 2.0 Tools by the First Year Information Science Students, Walailak University, Thailand. International Journal of Information and Education Technology. 8(4), 279-284.

Suthanya Doung-in and Satjaree Sirichai. (2017). Usability Testing of Initial User Interface Design of Nakhon Si Thammarat National Museum Website. INFORMATION – An International Interdisciplinary Journal. 20 (9A), 6219-6232. (Scopus indexed)

สุธัญญา ด้วงอินทร์. (มกราคม – เมษายน 2547). การพัฒนาระบบจัดหาหนังสือศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัย ลักษณ์ (The Development of Acquisition System the Center for Library Resources and Education Media, Walailak University). วารสารบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 22(1), 1-12. (TCI กลุ่ม 1)

บทความวิจัย/วิชาการที่เสนอในที่ประชุมวิชาการ

เนตรทรี อภิวันท์บงกช, อัจฉรา บวรศุภศรี และ สุธัญญา ด้วงอินทร์. (2561). การพัฒนาอีเลิร์นนิง เรื่อง การแปลงทรัพยากรดิจิทัล สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 2 หลักสูตรการจัดการสารสนเทศดิจิทัล มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ (บรรยาย). ในการประชุมวิชาการระดับชาติการเรียนรู้เชิงรุก “Active Learning ตอบโจทย์ Thailand 4.0 อย่างไร”. นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.

สุธัญญา ด้วงอินทร์. (2561). Students’ Perceptions about the Use of Digital Formative Assessment Tools in the Contemporary Sexuality Course (โปสเตอร์). ในการประชุมวิชาการระดับชาติการเรียนรู้เชิงรุก “Active Learning ตอบโจทย์ Thailand 4.0 อย่างไร”. นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.

สุธัญญา ด้วงอินทร์. (2561). Enhancing the Effective Learning of the Second Year Digital Information Management Students Through the Use of Infographics (โปสเตอร์). ในการประชุมวิชาการระดับชาติการเรียนรู้เชิงรุก “Active Learning ตอบโจทย์ Thailand 4.0 อย่างไร”. นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.

สุธัญญา ด้วงอินทร์. (2561). Students’ Perceptions toward Flipped Learning and Computer Assisted Instruction in the Digital Collection Development and Preservation Course, School of Informatics, Walailak University (โปสเตอร์). ในการประชุมวิชาการระดับชาติการเรียนรู้เชิงรุก “Active Learning ตอบโจทย์ Thailand 4.0 อย่างไร”. นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.

Suthanya Doung-In. (2017). Exploring the Awareness and Use of Web 2.0 Tools by the FirstYear Information Science Students (บรรยาย). 2017 6th International Conference on Knowledge and Education Technology (ICKET 2017).

Suthanya Doung-in and Satjaree Sirichai. (2560). The usability testing on initial user interface design of Nakhon Si Thammarat National Museum Web Site (บรรยาย). In International Conference on Cultural Technology (ICCT 2017). (pp.142-145).

สุธัญญา ด้วงอินทร์. (2559). การสอนความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาดิจิทัลคอลเล็กชันที่ดีให้กับนักศึกษา หลักสูตรการจัดการสารสนเทศดิจิทัล สำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์โดยใช้รูปแบบปริศนาความคิด Teaching in Building Good Digital Collections in Digital Information Management Student’s teaching by Jigsaw Methods (บรรยาย). ในการเรียนรู้เชิงรุก “Active Learning: Challenges and Innovations”. นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.

สุธัญญา ด้วงอินทร์, สัจจารีย์ ศิริชัย และฮานีซะห์ เจ๊ะโก๊ะ. (2559). การพัฒนาคลังสารสนเทศเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาของสาขาวิชาการจัดการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. Development of Repository for Quality Assurance Information Management, Walailak University (บรรยาย). ในการประชุมวิชาการระดับประเทศด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (National Conference on Information Technology: NCIT) ครั้งที่ 8. (หน้า 335-340). นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.

บทความทางวิชาการ

สุธัญญา ด้วงอินทร์. (กรกฎาคม 2560- ธันวาคม 2560). บทวิจารณ์หนังสือเรื่อง Flip your classroom: Reach every student in every class every day. วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. 3(2), 63-70.

สุธัญญา ด้วงอินทร์ (กันยายน-ธันวาคม 2556).การประยุกต์ใช้เครื่องมือทางสังคมกับห้องสมุดดิจิทัล (Applying Social tools to Digital Libraries).วารสารสารสนเทศศาสตร์. 31(3), 78-95. (TCI กลุ่ม 1)

หนังสือ/ตำรา/เอกสารการสอน

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา DIM-372 การจัดการห้องสมุดดิจิทัลสุธัญญา ด้วงอินทร์ (2558). เอกสารประกอบการสอนรายวิชา DIM-372 การจัดการห้องสมุดดิจิทัล (Management of Digital Libraries). นครศรีธรรมราช: ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. 325 หน้า.

อาจารย์คณิตสรณ์ สุริยะไพบูลย์วัฒนา

บทความวิจัย/วิชาการที่เสนอในที่ประชุมวิชาการ

ชื่อบทความ : An Effective Safety Alert Broadcast Algorithm for VANET ผู้เขียน : Kanitsorn Suriyapaiboonwattana, Chotipat Pornavalai แหล่งตีพิมพ์ : : International Symposium on Communications and Information Technologies 2008 (ISCIT 2008) October 21-23, 2008, Lao PRD เล่มที่ : 1 ฉบับที่ : 1 หน้า : 1 เดือน/ปี : 10/2552-10/2552

ชื่อบทความ : An Adaptive Alert Message Dissemination Protocol for VANET to Improve Road Safety ผู้เขียน : Chotipat Pornavalai, K. Suriyapaiboonwattana, G. Chakraborty แหล่งตีพิมพ์ : : Fuzz-IEEE 2009: 2009 IEEE International Conference on Fuzzy Systems, August 20-24, 2009, Korea เล่มที่ : 1 ฉบับที่ : 1 หน้า : 1 เดือน/ปี : 09/2552-09/2552

อาจารย์ธนภร เจริญธัญสกุล

บทความวิจัย/วิชาการที่เสนอในที่ประชุมวิชาการ

ธนภร เจริญธัญสกุล เกียรติกร แทนสุวรรณ และคณะ. (2559). การศึกษารูปแบบการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยในภาคใต้. การประชุมวิชาการระดับชาติวลัยลักษณ์ วิจัย ครั้งที่ 8. 7-8 กรกฎาคม 2559 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ นครศรีธรรมราช.

หนังสือ/ตำรา/เอกสารการสอน

ธนภร เจริญธัญสกุล (2557). เอกสารการสอนรายวิชา การสื่อสารการตลาดเชิงบูรณาการ. นครศรีธรรมราช: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.

อาจารย์ ดร.ฟารีดา เจะเอาะ

บทความวิจัย

ฟารีดา เจะเอาะ. (2561). ปรากฏการณ์ข่าวบนสื่อออนไลน์ต่อประเด็นการขายเบียร์สดในร้านสะดวกซื้อ. รายงานวิจัย. สนับสนุนโดยศูนย์วิจัยปัญหาสุรา (in process)

เสริมศักดิ์ ขุนพล และฟารีดา เจะเอาะ. (2561). การส่งเสริมทรัพยากรวัฒนธรรมในการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ผ่านสื่อภาพยนตร์โฆษณาของชุมชน ระโนด จังหวัดสงขลา. รายงานวิจัย. สนับสนุนโดยมหาวิทยาลัยทักษิณ. (in process)

ฟารีดา เจะเอาะ. (2560). การสื่อสารสุขภาพในท้องถิ่นเกี่ยวกับ “โรคไข้เลือดออก” ผ่านสื่อนิตยสาร (ชุดโครงการ การสื่อสารคุณค่าของงานความรู้เพื่อการพัฒนาพื้นที่). รายงานวิจัย. สนับสนุนโดยสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

บทความวิจัย/วิชาการที่เสนอในที่ประชุมวิชาการ

เสริมศักดิ์ ขุนพล และฟารีดา เจะเอาะ. (2561). การศึกษาและประเมินคุณค่าทรัพยากรวัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ของชุมชนเทศบาลตาบลระโนด อาเภอระโนด จังหวัด

สงขลา. การประชุมวิชาการระดับชาติ “วลัยลักษณ์วิจัย” ครั้งที่ 10. หัวข้อพิเศษ งานวิชาการรับใช้สังคม (se32). วันที่ 27-28 มีนาคม 2561 ณ อาคารนวัตกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.

ฟารีดา เจะเอาะ. (2560). การใช้ประโยชน์จากงานวิจัยเพื่อการสื่อสารสุขภาพเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ครั้งที่ 10, “นวัตกรรมสรรสร้างชุมชนกับการพัฒนางานวิจัยอย่างยั่งยืน”. วันที่ 14 ธันวาคม 2560 ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต.งานบริการวิชาการ

ฟารีดา เจะเอาะ. (2560). สถานภาพองค์ความรู้ด้านการสื่อสารสถานการณ์จังหวัดชายแดนภาคใต้กับ 10 ปีไฟใต้. วารสารปาริชาต. 30(2) (กรกฎาคม-ธันวาคม 2560). มหาวิทยาลัยทักษิณ. น.193-216.

ฟารีดา เจะเอาะ. (2560). ความคาดหวังและความต้องการเนื้อหาสุขภาพของประชาชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 8. วันที่ 22 มิถุนายน 2560 ณ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

อาจารย์วรรณรัตน์ นาที

หนังสือ/ตำรา/เอกสารการสอน

วรรณรัตน์ นาที. (2559). เอกสารการสอนรายวิชา หลักการจัดรายการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์. นครศรีธรรมราช: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

วรรณรัตน์ นาที. (2559). เอกสารการสอนรายวิชา ภาษาในงานสื่อสารมวลชน. นครศรีธรรมราช: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

อาจารย์ ดร.อัตนันท์ เตโชพิศาลวงศ์

บทความวิจัย

วิลาวัณย์ พุทธพงค์และอัตนันท์ เตโชพิศาลวงศ์. (2559). ความรู้ ทัศนคติและการเปิดรับสื่อเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนของนักศึกษามหาวิทยาลัยในภาคใต้. การประชุมวิชาการระดับชาติ ม.อ.ตรัง วิจัย ประจาปี 2559. 1 เมษายน 2559 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง, ตรัง.

อรรจน์ บัณฑิตและอัตนันท์ เตโชพิศาลวงศ์. (2557). รอยสักความสัมพันธ์เชิงอัตลักษณ์ สัญญะและมายาคติ :กรณีศึกษารอยสักของผู้ต้องขังชายทัณฑสถานและเรือนจ้าจังหวัดนครศรีธรรมราช. นครศรีธรรมราช:มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.

อัตนันท์ เตโชพิศาลวงศ์. (2554). วาทกรรมสะท้อนภาพไทยผ่านหนังสือพิมพ์ประเทศอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง.(วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อัตนันท์ เตโชพิศาลวงศ์. (2545). สถานภาพปัจจุบันและแนวโน้มการใช้สื่ออินเทอร์เน็ตในการสื่อสารการตลาด. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น)

Att Inganinanda Bundit and Attanan Tachopisalwong. (2016). Tattoo: Identical Relation,Symbol and Illistion, a Case Study of Male Prisoner in Nakhon Si Thammarat Center Prison. International Conference on Information and Social Science. June 24-2, Supporo Japan.

Attanan Tachopisalwong. (2008). Mekong Community TV: The Beginning of InternationalNews Cooperation. The 10th International Conference on Thai Studies. January 9-11, 2008 at Thammasat University, Thailand.

อาจารย์กาญจนา หฤหรรษพงศ์

บทความวิจัย

พูลพงษ์ บุญพราหมณ์, สลิล บุญพราหมณ์, จงสุข คงเสน, และ กาญจนา หฤหรรษพงศ์. (2557). รูปแบบการจัดการเทคโนโลยีที่เหมาะสมต่อการบริหารราชการจังหวัด. นครศรีธรรมราช: รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.

กาญจนา หฤหรรษพงศ์. (2555). การพัฒนาแบบจำลองในการวิเคราะห์พฤติกรรมการย้ายสาขาวิชาของนักศึกษาโดยการทำเหมืองข้อมูล. นครศรีธรรมราช: รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.

บทความวิจัย/วิชาการที่เสนอในที่ประชุมวิชาการ

เสาวลักษณ์ หนูราช, อรทิวา คงศักดิ์, ฐะปะนีย์ ตรีรัตนภรณ์ และ กาญจนา หฤหรรษพงศ์. (2559). แบบจำลองเพื่อช่วยในการวิเคราะห์ความเสี่ยงในการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ โดยการจำแนกประเภทข้อมูล กรณีศึกษาผู้สูงอายุโรงพยาบาลท่าศาลา. วลัยลักษณ์วิจัย ครั้งที่ 8, 7-8 กรกฎาคม 2559, จ. นครศรีธรรมราช.

กาญจนา หฤหรรษพงศ์. (2559). แบบจำลองเพื่อช่วยทำนายผลการย้ายสาขาวิชา โดยการจำแนกประเภทข้อมูล กรณีศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. การประชุมวิชาการระดับประเทศทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ครั้งที่ 7, 29-30 ตุลาคม 2558, จ. เชียงใหม่.

  1. Boonbrahm, K. Chareansat, K. Haruehansapong, J. Weekaew, S. Kaeophanuek &S. Boonbrahm. (2012). Using Social Network to Improve Educational Quality of School in Rural Area: A Case Study of Developing Geometry Game using 3D Graphic Model for Primary School, The Fourth Thailand-Malaysia Joint Educational Research Conference 2012, Chiengmai, Thailand, 3-5 July 2012.