โรงเรียนฝึกหัดครูแห่งแรกอยู่ที่ใด

เป็นมหาวิทยาลัยที่เน้นการเรียนการสอนอย่างมีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล ต่อการพัฒนาท้องถิ่นและสังคมไทยอย่างยั่งยืน 

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กำหนดวัตถุประสงค์ ดังนี้


1. จัดการเรียนการสอนบูรณาการเข้ากับการวิจัยและพัฒนา ให้บัณฑิตมีคุณภาพระดับนานาชาติ และเป็นผู้มีปัญญา  ทักษะวิชาชีพและมีคุณธรรมที่ตรงกับความต้องการของท้องถิ่น และสังคมในยุคเศรษฐกิจฐานความรู้และฐานปัญญา


2. จัดการศึกษาที่หลากหลาย ยืดหยุ่น เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การเรียนรู้ด้วยตนเองและเรียนรู้ตลอดชีวิต ทั้งในระบบ นอกระบบ ตามอัธยาศัย และให้โอกาสทางการศึกษาแก่ทุกคนอย่างเสมอภาค


3. พัฒนา วิจัยและสร้างนวัตกรรมที่มุ่งสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนอุตสาหกรรมขนาดย่อมและท้องถิ่นอย่างยั่งยืน


4. ให้บริการวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่ชุมชนและสังคมอย่างมีคุณภาพ และเป็นศูนย์กลางบริการข้อมูลและสารสนเทศทางด้านการศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม


5. ปรับปรุงและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบ และการใช้ทรัพยากรร่วมกัน โดยมุ่งเน้นผลงานเป็นสาคัญ เพื่อก้าวไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยในกากับอย่างมีคุณภาพและมั่นคงต่อไป


6. สร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายในด้านวิชาการและการวิจัย สู่ระดับสากลและนานาชาติ


7. เสริมสร้างความเป็นไทยและการดาเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงความรู้ระหว่างชุมชนและท้องถิ่น

...อธิการบดี...

โรงเรียนฝึกหัดครูแห่งแรกอยู่ที่ใด

รองศาสตราจารย์ ดร.พงศ์ หรดาล

ที่มา : ประวัติ PNRU

ราชภัฏพระนคร เป็นสถาบันในการให้การศึกษาเพื่อผลิตบุคลากรทางการศึกษา ผลิตครูอาจารย์เป็นแห่งแรกของประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2435 ซึ่งได้รับการสถาปนาโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในรัชกาลที่ 5 ในนาม โรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ 

โรงเรียนฝึกหัดครูแห่งแรกอยู่ที่ใด

ตั้งอยู่ที่โรงเลี้ยงเด็ก ตำบลสวนมะลิ  ถนนบำรุงเมือง  สังกัดกรมศึกษาธิการ  กระทรวงธรรมการ มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตครู และรองรับการขยายตัวของระบบราชการแบบใหม่ ในปี พ.ศ. 2461 โรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ได้เปลี่ยนชื่อเป็น โรงเรียนฝึกหัดครู เปิดให้มีการเรียนการสอนในหลักสูตรประโยคครูประถม 

และได้เปลี่ยนชื่อในปี พ.ศ. 2477 ได้เปลี่ยนชื่อจากโรงเรียนฝึกหัดครู เป็น โรงเรียนฝึกหัดครูประถมพระนคร ต่อมาในปี พ.ศ. 2490 ได้เปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็นโรงเรียนฝึกหัดครูพระนคร ให้การศึกษาเพื่อผลิตครูตามหลักสูตรประกาศนียบัตรประโยคครูประถม และได้ย้ายสถานที่ ในปี พ.ศ. 2499 ได้ย้ายโรงเรียนฝึกหัดครูพระนคร

จากวังจันทรเกษมมาเปิดสอนที่ เลขที่ 3 หมู่ 6 ถนนแจ้งวัฒนะ ตำบลอนุสาวรีย์  อำเภอบางเขน จังหวัดพระนคร หลัง วัดพระศรีมหาธาตุ ในปีพ.ศ. 2509 กระทรวงศึกษาธิการได้ยกฐานะจากโรงเรียนฝึกหัดครูพระนครขึ้นเป็น วิทยาลัยครูพระนคร จึงสามารถเปิดหลักสูตร ระดับประกาศนียบัตรวิชาการชั้นสูง และได้เปิดหลักสูตรสาขาวิชาเพิ่มเติม 

ราชภัฏพระนคร ยังมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

โรงเรียนฝึกหัดครูแห่งแรกอยู่ที่ใด

ในขณะนั้นวิทยาลัยครูพระนครร่วมกับวิทยาลัยวิชาการศึกษาพระนคร ในปีพ.ศ. 2517 ได้เปิดสอนประโยคครูอุดมศึกษาโดยใช้หลักสูตรของวิทยาลัยวิชาการศึกษา และปีต่อมาได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติวิทยาลัยครู มีผลทำให้วิทยาลัยครูพระนครสามารถเปิดสอนได้ถึงระดับปริญญาตรี 

และได้เปิดสอนหลักสูตรในหลายสาขาวิชานอกเหนือจากวิชาชีพครู และได้รับการยกระดับฐานะในปี พ. ศ. 2538 ตามพระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏเป็นสถาบันราชภัฏพระนคร โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ พระราชทานตราพระราชลัญจกร  

ซึ่งเป็นตราประจำพระองค์มาเป็นตราสัญลักษณ์ประจำสถาบัน และในปี พ.ศ. 2547 สถาบันราชภัฏพระนครได้มีสถานะเป็นนิติบุคคล ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ จึงได้เปลี่ยนชื่อเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งนี้จนถึงปัจจุบัน เพื่อปฏิบัติภารกิจให้การศึกษาในระดับอุดมศึกษา เพื่อพัฒนาชุมชนท้องถิ่น 

เป็นมหาวิทยาลัยไทยเพื่อความเป็นไท และเปิดสอนนักศึกษาในระดับปริญญาตรี ไม่ว่าจะเป็นวิทยาลัยฝึกหัดครู วิทยาลัยชัยบาดาลพิพัฒน์ คณะที่เปิดให้การศึกษา มี 4 คณะด้วยกัน คือ คณะวิทยาการจัดการ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนในการจัดตั้งมหาวิทยาลัย

โรงเรียนฝึกหัดครูแห่งแรกอยู่ที่ใด

มหาวิทยาลัยแห่งนี้ต้องการที่จะจัดการเรียนการสอนวิชาการและวิชาชีพ บูรณาการเข้ากับการวิจัยและพัฒนา ให้บัณฑิตมีคุณภาพในระดับนานาชาติ และเป็นผู้มีปัญญา ทักษะวิชาการในด้านต่างๆและมีคุณธรรมที่ตรงกับความต้องการของท้องถิ่นเป็นรากฐานของความรู้และปัญญา 

มุ่งเน้นที่จะจัดการศึกษาที่หลากหลาย มีความยืดหยุ่น เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองตลอดชีวิต ในส่วนของวิสัยทัศน์มหาวิทยาลัย ต้องการที่จะเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศโดยจัดการศึกษาและวิจัย ให้บริการวิชาการในการผลิตและพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา 

เพื่อขับเคลื่อนและการพัฒนาท้องถิ่นอย่างมั่นคงและยั่งยืน พันธกิจของมหาวิทยาลัย ต้องการที่จะพัฒนาท้องถิ่น ผลิตบัณฑิตและพัฒนาครูให้มีความรู้คู่คุณธรรม สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการจัดการศึกษา ทั้งภาครัฐ เอกชน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ พัฒนาระบบบริหารจัดการให้สอดรับกับการเปลี่ยนแปลง โดยใช้หลักธรรมาภิบาล

ภาพจาก

ป้าย และ ประวัติมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร – essnattawut093

facebook.com/PhranakhonRajabhatUniversity

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ในเมืองเขตบางเขน (worldorgs.com)

บทความที่คุณอาจสนใจ ราชภัฏบ้านสมเด็จ เกียรติประวัติมาอย่างยาวนาน

Shape

Shape

We'll Find You A Home

Explore More Properties

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incid idunt ut labore ellt dolore magna the alora aliqua alora the tolda on fouter.

โรงเรียนฝึกหัดครู/อาจารย์แห่งแรกของประเทศไทยถูกจัดตั้งขึ้น ณ จังหวัดใด

ยุคโรงเรียนฝึกหัด ซึ่งโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์แห่งแรกเปิดสอนเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2435 ซึ่งตั้งขึ้นบริเวณโรงเลี้ยงเด็ก ตำบลสวนมะลิ ถนนบำรุงเมือง จังหวัดพระนคร (ปัจจุบัน คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร) หลังจากนั้น จึงได้ขยายไปตั้งอยู่ทุกภาคของประเทศ

ราชภัฏพระนคร ที่ไหน

มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร (พุทธวิชชาลัย อาคารเรียนรวม ศูนยวัฒนธรรมพระนคร) เลขที่9 ถนนแจงวัฒนะ แขวงอนุสาวรียเขตบางเขน จังหวัดกรุงเทพฯ 10220 โทรศัพท 02-5448456. การเดินทาง

ม.ราชภัฏมีที่ไหนบ้าง

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ (มรร.) มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี (มรท.) มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ (มรว.).
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (มรส.).
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช (มร.นศ.).
มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต (มรภ.).
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สข.).
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา (มรย.).

ครูใหญ่คนแรก และนักเรียนรุ่นแรกของโรงเรียนฝึกหัดครูคือใครบ้าง

นักเรียนรุ่นแรกของโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์มีเพียง 3 คน คือ นายนกยูง วิเศษกุล (พระยาสุรินทราชา), นายบุญรอด เศรษฐบุตร (พระยาภิรมย์ภักดี), และนายสุ่ม ในปีนั้นเอง นายบุญรอดและนายสุ่มได้ลาออกไป จึงเหลือแต่นายนกยูงคนเดียวที่เรียนต่อไป.

โรงเรียนฝึกหัดครู/อาจารย์แห่งแรกของประเทศไทยถูกจัดตั้งขึ้น ณ จังหวัดใด ราชภัฏพระนคร ที่ไหน ม.ราชภัฏมีที่ไหนบ้าง ครูใหญ่คนแรก และนักเรียนรุ่นแรกของโรงเรียนฝึกหัดครูคือใครบ้าง โรงเรียนฝึกหัดครู ต่างจังหวัดแห่งแรกของไทยคือโรงเรียนฝึกหัดครูแห่งใด โรงเรียนฝึกหัดครูแห่งแรก คือ นักเรียนที่ศึกษาอยู่ในโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์แต่เดิมมีกี่คน มีใครบ้าง มหาวิทยาลัยราชภัฏ 38 แห่ง อาคารเรียนจุดเริ่มต้นของ มหาวิทยาลัยคืออาคารอะไร กระทรวงศึกษาธิการได้ยกฐานะโรงเรียนฝึกหัดครูพระนคร ขึ้นเป็น “วิทยาลัยครูพระนคร” ข้อใดคือวันพระราชทานนาม สถาบันราชภัฏ