ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับคลื่นเสียง

1. �ѡ�Է����ʵ�줹��繼��鹾����ͧᾹ�����

�. ��������
�. ������᫤��ǵѹ
�. ������� �����Թ
�. ������쵠 �͹��䵹�

2. ��ѡ�ͧᾹ�������任���ء�������ª���������ҧ ?

�. �ԧ���
�. ����ͧ��Шѧ������§�����
�. �١�������ԡ�
�. �١�ء���

3.���������ÿѧ���§�ѧ�Թ���ഫ��� ( dB ) ?

�. 82� ഫ��
�. 83� ഫ���
�. 84� ഫ���
�. 85� ഫ���

4. ��������㹡����觢ͧ�ԧ���Ᾱ������ �������Ѻ���� ?

�. ���˹ѡ�ͧ�ѵ��
�. ������Ǣͧ��͡������
�. ����͡�ç㹡������
�. �١�ء���

5. ���§��ǹ�˭��ͺ�����Ҡ �Թ�ҧ��ҹ�Ҷ֧�٢ͧ��Ҩе�ͧ����������繵�ǡ�ҧ ?

�. ���俿��
�. ��鹴Թ
�. �ҡ��
�. �����

6. ���㴡���ǼԴ����ǡѺ� � �͡ �

�. ����ͧ�ŷ������ӹ�¤����дǡ
�. ����ͧ�ŷ����¼�͹�ç㹡�÷ӧҹ
�. ���ѡɳС��ẹ�����ع����¡Ѻǧ���
�. ���ѡɳ�ẹ�������ըش��ع�����ҹ��ҧ

7. �͡�������ӹ�¤����дǡ㹡�÷ӧҹ� �������¼�͹�ç��͢���

� . �͡����ǵ�µ��
�. �͡���������͹���
�. �͡�ǧ
�. �١�ء���

8. ���§�Դ�ҡ����

�. �Դ�ҡ������Թ
�. �Դ�ҡ���Ѵ���ҡ�з��Ѻ��
�. �Դ�ҡ����������͹�ͧ�ѵ��
�. �Դ�ҡ����з�͹����ѡ��

9. �ѡɳТͧ�������§����¡Ѻ����㹢���

�.�����ʧ
�. ���蹹��
�. �����Է��
�. ����俿��

10. ���㴡���Ƕ١��ͧ����ش����ǡѺ� � Ᾱ����� �

�. �������͹���ͧ�ѵ��������ç�֧�ٴ�ͧ�š
�. ����з�͹�ͧ�ѵ��������ç�֧�ٴ�ͧ�š
�. �����觢ͧ�ѵ��������ç�֧�ٴ�ͧ�š
�. �١�ء���

��ṹ���س����= ��ṹ �ҡ��ṹ��� 10 ��ṹ��¤ӵͺ :

เด็กหญิงฟ้าตะโกนที่ผาและได้ยินเสียงสะท้อนกลับมาอีก 2 วินาที ถ้าขณะนั้นเสียงเดินทางได้วินาทีละ 360 เมตร เด็กหญิงฟ้าอยู่ห่างจากหน้าผาเป็นระยะกี่เมตร

ในการใช้คลื่นเสียงวัดความลึกของทะเลแห่งหนึ่ง เมื่อปล่อยคลื่นเสียงจากเรือปรากฏว่าใช้เวลา 6 วินาที ก็ได้ยินเสียงสะท้อนกลับมา จงหาว่าทะเลนี้ลึกกี่เมตร (เสียงเดินทางในน้ำได้ 1,480 เมตรต่อวินาที)

ฟ้าได้ยินเสียงฟ้าผ่าหลังจากเห็นฟ้าแลป 4 วินาที จุดที่ฟ้าอยู่ห่างจากจุดที่เกิดฟ้าแลปประมาณเท่าไหร่ (ถ้าความเร็วของเสียงในอากาศคือ 343 เมตรต่อวินาที)

เสียงสะท้อนได้ดีกับวัตถุแบบใด

การเกิดเสียงสูง เสียงต่ำขึ้นอยู่กับอะไร

ระดับเสียงถูกควบคุมโดยอะไร




เสียงทุ้มเสียงแหลมขึ้นอยู่กับองค์ประกอบใด

ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับคลื่นเสียง

นำแผ่นไม้ขนาดเท่าๆกัน แต่มีความยาวไม่เท่ากันมาแขวนไว้ดังรูป เมื่อเคาะทั้ง 4 แผ่น แผ่นใดให้เสียงต่ำที่สุด

ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับคลื่นเสียง

ถ้านักเรียนต้องการไล่ลำดับเสียงจากต่ำไปสูง ควรจะเริ่มจากขวดใดไปยังขวดใด

ระดับเสียงของกีตาร์จะสูงขึ้นเมื่อใด
1. ใช้สายกีตาร์ที่มีขนาดเล็กลง
2. เพิ่มความตึงของสาย
3. ใช้สายที่มีขนาดใหญ่ขึ้น
4. ทำให้สายสั้นลง

คนเราสามารถหาความลึกของทะเลโดยใช้ความจริงข้อใด

อัลตราซาวด์นำไปใช้ประโยชน์ในเรื่องใด




ข้อใดกล่าวถึงการใช้โซนาร์ไม่ถูกต้อง

ดูคะแนน ดูเฉลย รีเซท กลับไปข้อแรก



ในการเข้าใช้งานเวบไซต์ของเรา ท่านได้อ่าน เข้าใจ และยอมรับข้อกำหนดการใช้งาน นโยบายความเป็นส่วนตัว และนโยบายคุกกี้ของเราแล้ว โดยท่านสามารถอ่านนโยบายของเราได้ ที่นี่

คลื่นเสียง (Sound wave) คือ คลื่นกล (Mechanical wave) ตามยาวที่เกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุ หรือ “แหล่งกำเนิดเสียง” ซึ่งต้องอาศัยตัวกลาง (Medium) ในการเคลื่อนที่ ซึ่งลักษณะของคลื่นเสียง ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ ส่วนอัด และส่วนขยาย ดังรูป

ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับคลื่นเสียง

ทั้งนี้ การเคลื่อนที่ของเสียงผ่านตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง ความถี่จะมีค่าคงที่ โดยความเร็วของคลื่นเสียงจะขึ้นอยู่กับชนิดของตัวกลางและอุณหภูมิ ดังรูป

ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับคลื่นเสียง

ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับคลื่นเสียง

 

สมบัติของเสียง

  • การสะท้อน (Reflection) คือ การเคลื่อนที่ของเสียงไปกระทบสิ่งกีดขวาง ส่งผลให้เกิดการสะท้อนกลับของเสียงที่เรียกว่า “เสียงสะท้อน” (Echo)
  • การหักเห (Refraction) คือ การเคลื่อนที่ของเสียงผ่านตัวกลางต่างชนิดกัน หรือการเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่มีอุณหภูมิต่างกัน ส่งผลให้อัตราเร็วและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงเปลี่ยนไป
  • การเลี้ยวเบน (Diffraction) คือ การเดินทางอ้อมสิ่งกีดขวางหรือเลี้ยวเบนผ่านช่องว่างต่างๆของเสียง โดยคลื่นเสียงที่มีความถี่และความยาวคลื่นมาก สามารถเดินทางอ้อมสิ่งกีดขวางได้ดีกว่าคลื่นสั้นที่มีความถี่ต่ำ
  • การแทรกสอด (Interference) เกิดจากการปะทะกันของคลื่นเสียงจากหลายแหล่งกำเนิด ซึ่งอาจทำให้เกิดเสียงที่ดังขึ้นหรือเบาลงกว่าเดิม หากคลื่นเสียงที่มีความถี่ต่างกันเล็กน้อย (ไม่เกิน 7 เฮิรตซ์) เมื่อเกิดการแทรกสอดกันจะทำให้เกิดเสียงบีตส์ (Beats)

 

การได้ยินเสียงและความเข้มของเสียง

เสียงที่เราได้ยิน คือ อัตราการถ่ายโอนพลังงานของแหล่งกำเนิดเสียงต่อหนึ่งหน่วยเวลา หรือที่เรียกว่า กำลังเสียง (Power of sound wave) ซึ่งมีหน่วยเป็นจูลต่อวินาที (J/s) หรือ วัตต์ (Watt)

โดยเสียงเคลื่อนที่ออกจากแหล่งกำเนิดในลักษณะของการแผ่ขยายออกไปในรูปทรงกลม มีแหล่งกำเนิดเสียงเป็นจุดศูนย์กลาง ซึ่งกำลังของเสียงที่ส่งออกจากแหล่งกำเนิดต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ผิวทรงกรม เรียกว่า “ความเข้มของเสียง” (Intensity) และระดับความเข้มของเสียงนั้น ถูกตรวจวัดในรูปของ “ความดัง” (Volume) ในหน่วยเดซิเบล (Decibel) ซึ่งมนุษย์สามารถรับรู้ถึงเสียงได้ตั้งแต่ที่ระดับเสียง 0 จนถึงราว 120 เดซิเบล โดยเสียงที่ดังเกินกว่า 120 เดซิเบล คือเสียงที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้รับฟังได้

ทั้งนี้ นอกจากความเข้มของเสียงแล้ว ความถี่ (Frequency) ของคลื่นเสียง ยังเป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญต่อการได้ยินเสียงของมนุษย์ ความถี่มีหน่วยเป็น เฮิรตซ์ (Hertz) ซึ่งมนุษย์สามารถรับคลื่นเสียงที่ระดับความถี่ ตั้งแต่ 20 ถึง 20,000 เฮิรตซ์ หรือเป็นช่วงความถี่ที่เรียกว่า โซนิค (Sonic)

ข้อควรรู้

  • มนุษย์สามารถรับเสียงได้ดีที่สุด ในช่วงความถี่ 1,000 ถึง 6,000 เฮิรตซ์ โดยเสียงที่มีระดับความถี่ต่ำกว่า 20 เฮิรตซ์ เรียกว่า คลื่นใต้เสียง หรือ อินฟราโซนิค (Infrasonic)
  • เสียงที่เกิดจากแหล่งกำเนิดขนาดใหญ่ เช่น การสั่นสะเทือนของสิ่งก่อสร้าง เป็นเสียงที่มนุษย์ไม่สามารถรับรู้ได้เช่นเดียวกับคลื่นเสียงที่มีความถี่สูงกว่า 20,000 เฮิรตซ์ หรือที่เรียกว่า คลื่นเหนือเสียง หรือ อัลตร้าโซนิค (Ultrasonic) ยกเว้น สัตว์บางชนิด เช่น ค้างคาว หรือโลมา สัตว์เหล่านี้จะสามารถใช้ประโยชน์คลื่นเสียงในความถี่นี้ ในการสื่อสารและการระบุตำแหน่งได้
  • มนุษย์สามารถจำแนกเสียงต่าง ๆ ตามระดับเสียงหรือเรียกเสียงที่มี ความถี่ต่ำ ว่า “เสียงทุ้ม” และเรียกเสียงที่มีความถี่สูงว่า “เสียงสูง/แหลม”

 

ปรากฏการการกำทอนของเสียง คืออะไร

ปรากฏการการกำทอนของเสียง คือ ปรากฏการณ์ที่เสียงเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางแล้วอนุภาคของตัวกลางมีการสั่นด้วยความถี่เดียวกับความถี่ของแหล่งกำเนิดเสียง ถ้าเราให้คลื่นเสียงเคลื่อนที่ผ่านอากาศที่อยู่ในท่อกำทอนซึ่งมีปริมาตรต่างๆ กัน ณ ตำแหน่งที่เกิดการกำทอนเราจะได้ยินเสียงดังที่สุด ในขณะที่เกิดการกำทอนของเสียงในท่อกำทอนจะมีการแทรกสอดระหว่างคลื่นเสียงจากแหล่งกำเนิดกับเสียงที่สะท้อนจากท่อกำทอน ทำให้เกิดคลื่นนิ่งขึ้น และระยะทางระหว่างตำแหน่งถัดกันที่ได้ยินเสียงดังสองครั้งจะเท่ากับครึ่งหนึ่งของความยาวคลื่นเสียง

 

ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง คืออะไร

ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง คือ ปรากฏการณ์ที่เกิดจากการรับคลื่นของผู้ฟังหรือผู้สังเกต อันเนื่องมาจากการเคลื่อนที่สัมพัทธ์กันของแหล่งกำเนิดคลื่นหรือการเคลื่อนที่ของผู้ฟัง “ความเร็วสัมพัทธ์ระหว่างผู้ฟังกับแหล่งกำเนิดไม่เท่ากับศูนย์”

ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับคลื่นเสียง

ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับคลื่นเสียง
สรุปสูตรคลื่นเสียง
ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับคลื่นเสียง
สรุปสูตรคลื่นเสียง

 

ตัวอย่างข้อสอบเรื่อง คลื่นเสียง

1. ตัวกลางที่คลื่นเสียงผ่าน 3 ชนิด คือ น้ำทะเล เหล็ก และอากาศ ณ อุณหภูมิเดียวกัน ข้อใดเรียงลำดับความสามารถในการถ่ายทอดคลื่นเสียงจากดีที่สุดไปหาน้อยที่สุด

ก. น้ำทะเล เหล็ก อากาศ
ข. เหล็ก น้ำทะเล อากาศ
ค. อากาศ น้ำทะเล เหล็ก
ง. ทุกข้อถ่ายทอดได้ดีเท่ากัน เนื่องจากอุณหภูมิเท่ากัน

2. อัตราเร็วเสียงในอากาศที่มีอุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส มีค่าเป็น 350 เมตร/วินาที อัตราเร็วเสียงในอากาศที่มีอุณหภูมิ 927 องศาเซลเซียสจะมีค่าเท่าใด

ก. 900 เมตร/วินาที
ข. 700 เมตร/วินาที
ค. 1,250 เมตร/วินาที
ง. 1,050 เมตร/วินาที

3. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับอัตราเร็วเสียงในอากาศ

ก. เพิ่มขึ้นตามอุณหภูมิอากาศที่เพิ่มขึ้น
ข. เพิ่มขึ้นตามแอมปลิจุดของคลื่นเสียง
ค. ลดลง เมื่ออุณหภูมิอากาศเพิ่มขึ้น
ง. มีค่าคงที่เสมอ

4.ความดังและระดับเสียงขึ้นกับปัจจัยในข้อใด

ก. ความถี่และความยาวคลื่น ตามลำดับ
ข. อัมปลิจูดและความถี่ ตามลำดับ
ค. อัตราเร็วและความถี่ ตามลำดับ
ง. ความยาวคลื่นและอัมปลิจุด ตามลำดับ

5. เสียงที่มีความเข้มเสียง 10-8 w/m2 มีระดับความเข้มเสียงเท่าไร

ก. 40 dB
ข. 60 dB
ค. 80 dB
ง. 50 dB

 

 

ฟิสิกส์ ม. ปลาย ต้องเรียนเรื่องอะไรบ้าง

การเรียนฟิสิกส์ ม.ปลาย ตั้งแต่ฟิสิกส์ ม.4 ฟิสิกส์ ม.5 หรือ ฟิสิกส์ ม.6 นอกจากเรื่องคลื่นเสียงที่จะต้องเจอแล้ว การเรียนวิชานี้ยังครอบคลุมไปถึงเรื่องอื่น ๆ ด้วย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการเคลื่อนที่แนวตรง, การเคลื่อนที่แบบต่างๆ, กฎนิวตัน, โมเมนตัม, การหมุน, งานและพลังงาน, แรงและกฏการเคลื่อนที่, การเคลื่อนที่แนวโค้ง, การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย, สมดุลกล, คลื่นกล, แสง, ของไหล, ความร้อน, ของแข็งและของไหล, ไฟฟ้าสถิต, ไฟฟ้ากระแสตรง, สนามแม่เหล็ก สนามไฟฟ้า, ไฟฟ้ากระแสสลับ, ฟิสิกส์อะตอม, ฟิสิกส์นิวเคลียร์ และอื่น ๆ ดังนั้น ใครที่กำลังเตรียมตัวจะเลือกเรียนสายวิทย์ หรือกำลังเรียนสายวิทย์อยู่ ก็จะต้องเจอกับการเรียนเรื่องต่าง ๆ เหล่านี้อย่างแน่นอน

 

ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับคลื่นเสียง

 

คอร์สเรียน Private ตัวต่อตัว

เป็นคอร์สเรียนที่ผู้เรียนสามารถออกแบบการเรียนให้เหมาะกับตัวเองได้เป็นอย่างดี ไม่ว่าจะเรียนเพื่อติวสอบปลายภาค, ติวเพิ่มเกรด, กวดวิชาเข้ามหาวิทยาลัย ก็สามารถเลือกได้ตามแบบที่เราต้องการได้ด้วยหลักสูตรจำนวน 10 ชม. แต่หากใครที่พื้นฐานอ่อนหรืออยากมาเรียนเนื้อหาล่วงหน้าก็สามารถเพิ่มชั่วโมงเรียนให้เหมาะสมกับเราได้