สื่อบันทึกข้อมูล มี ประโยชน์ อย่างไร บาง

คือ หน่วยความจำที่สามารถเก็บข้อมูลไว้ได้ โดยไม่จำเป็นต้องจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับหน่วยความจำ ข้อมูลสำคัญต่าง ๆ จำเป็นต้องมีการจัดเก็บไว้บนหน่วยความจำถาวรก่อนที่จะทำการปิดเครื่อง เพื่อเก็บไว้ใช้งานวันข้างหนเต่อไป ได้แก่ ROM (Read Only Memory)

สื่อต่าง ๆ ที่ใช้สำหรับเก็บข้อมูลนั้นต้องใช้ควบคู่กับอุปกรณ์อ่านข้อมูล หรือเขียนข้อมูลที่เรียกว่า “อุปกรณ์บันทึกข้อมูล (Storage Media)”  เช่น ฟลอปปี้ดิสก์ ใช้คู่กับฟลอปปี้ดิสก์ไดรฟ์ หรือแผ่นซีดีที่ใช้คู่กับเครื่องเล่นแผ่นซีดี สื่อบันทึกข้อมูลมีชื่อเรียกกันหลายชื่อ คือ Secondary Storage, Auxilliary Storage, Permanent Storage หรือ Mass Storage ปัจจุบันมีสื่อบันทึกข้อมูลหลาย ๆ ประเภทด้วยกันให้เลือกใช้งาน การพิจารณา ว่าจะใช้สื่อใดเป็นอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล สามารถพิจารณาได้จากหลายปัจจัยด้วยกัน เช่น ต้นทุน ขนาด ความจุ  และความเร็วในการเข้าถึงข้อมูล สื่อเก็บจัดข้อมูลได้พัฒนาขึ้นมาก เช่น แผ่นซี

18 JULเทคโนโลยีสื่อบันทึกข้อมูล คือ สื่อที่หลายๆคนนิยมใช้เก็บข้อมูล

ปกติแล้ว สื่อบันทึกข้อมูล ที่เรามักจะเห็นได้อย่างชัดเจน จะเป็นในส่วนของสื่อบันทึกข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะเห็นได้ว่าคอมพิวเตอร์เป็นเทคโนโลยีชนิดหนึ่งที่ได้ถูกการพัฒนาให้มีรูปแบบที่สามารถจะเก็บรวบรวมข้อมูลที่เราต้องการได้ ซึ่งข้อมูลที่เราสามารถจะเก็บได้นั้นก็มีทั้งภาพ เสียง หรือแม้แต่วิดีโอก็สามารถที่จะเก็บได้

สื่อบันทึกข้อมูล มี ประโยชน์ อย่างไร บาง

สื่อบันทึกข้อมูล เป็นเทคโนโลยีหนึ่งในหลายๆเทคโนโลยีที่มนุษย์ได้มีการสร้างขึ้นมาเพื่อต้องการที่จะเก็บข้อมูลที่มีความสำคัญ ไม่ว่าข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บนั้นจะเป็นข้อมูลที่เกี่ยวกับชีวิตส่วนตัวหรือจะเป็นข้อมูลในการเรียนหรือการทำงาน สื่อบันทึกข้อมูลก็สามารถที่จะเก็บได้ โดยสื่อบันทึกข้อมูลนั้น จะเห็นได้ว่า มีทั้งแผ่นซีดีหรือว่าเป็นจำพวกแฟลชไดรฟ์ก็มีให้เห็น

สื่อบันทึกข้อมูล มี ประโยชน์ อย่างไร บาง

เทคโนโลยีที่มีความเกี่ยวข้องกับการเก็บข้อมูลที่หมายถึงสื่อบันทึกข้อมูลนั้นก็มักจะมีความสัมพันธ์กับอุปกรณ์ที่เป็นคอมพิวเตอร์ซะส่วนใหญ่ เพราะคอมพิวเตอร์สามารถที่จะเป็นตัวอุปกรณ์ที่มีการส่งผ่านไปยังสื่อบันทึกข้อมูลที่กล่าวมานั้นได้

สื่อบันทึกข้อมูล มี ประโยชน์ อย่างไร บาง

และในปัจจุบันนั้นเราจะเห็นว่า สื่อบันทึกข้อมูลที่เป็นเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่มีการใช้งานมากที่สุดก็จะเป็นหน่วยความจำที่เรียกว่าแฟลช หรือที่เรารู้จักกันในนามว่าแฟลชไดรฟ์นั่นเอง อุปกรณ์ชนิดนี้สามารถที่จะทำให้คุณนั้นเก็บข้อมูลได้เยอะมาก แต่ทั้งนี้ ก็ขึ้นอยู่กับหน่วยความจำของแต่ละแฟลชนั้นๆด้วย

จะเห็นได้ว่า สื่อบันทึกข้อมูล คือ เทคโนโลยีชนิดหนึ่งที่เป็นตัวเก็บข้อมูลต่างๆได้เป็นอย่างดี ไม่ว่าข้อมูลที่คุณต้องการเก็บนั้นจะเป็นข้อมูลในลักษณะของภาพหรือเสียงก็ตามสื่อบันทึกข้อมูลก็สามารถที่จะรองรับข้อมูลต่างๆนั้นได้เป็นอย่างดี

#ข่าวเทคโนโลยี  #ข้อควรรู้เกี่ยวกับ Machine Learning #ข่าวไอที

Categories: TECHNOLOGY / by Mint July 18, 2020

Post Author: Mint

สื่อบันทึกข้อมูล

อุปกรณ์ สื่อบันทึกข้อมูลและเทคโนโลยีบันทึกข้อมูล

1.    Floppy Disk

         แผ่นดิสก์แบบอ่อน หรือ ฟลอปปีดิสก์ หรือที่นิยมเรียกว่า แผ่นดิสก์ หรือ ดิสเกตต์ เป็น    อุปกรณ์เก็บข้อมูล ที่อาศัยหลักการเหนี่ยวนำของสนามแม่เหล็ก โดยทั่วไปมีลักษณะบางกลมและบรรจุอยู่ในแผ่นพลาสติกสี่เหลี่ยม คอมพิวเตอร์สามารถอ่านและเขียนข้อมูลลงบนฟลอปปีดิสก์ ผ่านทางฟลอปปีดิสก์ไดร์ฟ (floppy disk drive)

         ฟลอปปี้ดิสก์เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่ถือได้ว่าอยู่ยั่งยืนมานานแสนนานและยังคงใช้กันอยู่จนถึงทุกวันนี้ ในอดีตฟลอปปี้ดิสก์จะมีขนาด 5.25 นิ้ว ซึ่งเป็นแผ่นใหญ่บรรจุข้อมูลได้ 1.2 เมกะไบต์จะบรรจุได้น้อยกว่าฟลอปปี้ดิสก์รุ่นใหม่ขนาด 3.5 นิ้ว ซึ่งจะบรรจุข้อมูลได้มากกว่า 1.44 เมกะไบต์ในขนาดของแผ่นที่เล็กกว่า 

1.1    ระบบการทำงานของฟลอปปี้ดิสก์

กลไกการทำงานของฟลอปปี้ดิสก์จะค่อนข้างง่ายเมื่อเทียบกับฮาร์ดดิสก์ โดยตัวจานหมุนจะเป็นวัสดุที่อ่อนนิ่ม เช่น ไมลาร์ (Mylar ) ที่เป็นพลาสติกสังเคราะห์เคลือบสารแม่เหล็กเอาไว้ ในดิสก์ 1 แผ่นจะมีจานเดียว หัวอ่านจะเลื่อนเข้าไปอ่านข้อมูลและจะสัมผัสกับแผ่นดิสก์โดยตรง ทำให้แผ่นมีการสึกหรอได้ง่าย เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลจะมีการส่งสัญญาณไปเปลี่ยนแปลงค่าสนามแม่เหล็กที่หัวอ่าน เมื่อตัวไดรว์ของดิสก์อ่านข้อมูลได้แล้วจะทำการส่งต่อให้กับคอนโทรลเลอร์ควบคุมแบบอนุกรมทีละบิตต่อเนื่องกัน ขณะที่ฟลอปปี้ไดรว์ทำงาน อุปกรณ์อื่น ๆ ต้องหยุดรอ ทำให้การทำงานของระบบเกือบจะหยุดชะงักไป ที่มุมด้านหนึ่งของฟลอปปี้ดิสก์จะมีกลไกป้องกันการเขียนทับข้อมูล (write-protect) หากเป็นแผ่น 5.25 นิ้ว จะเป็นรอยบากซึ่งหากปิดรอยนี้จะไม่สามารถเขียนข้อมูลได้ ต่างกับ ดิสก์ 3.5 นิ้ว ที่จะเป็นสลักพลาสติกเลื่อนไปมา หากเลื่อนเปิดเป็นช่องจะบันทึกไม่ได้

1.2    ความจุของฟลอปปี้ดิสก์แบบต่าง ๆ

ขนาด

แบบที่เรียกว่า

ด้านที่บันทึก

ความจุข้อมูล

5.2 นิ้ว

Single sided-Double Density

1

160/180 KB

5.2นิ้ว

Double sided-Double Density

2

320/360 KB

5.2นิ้ว

HD(High Density)

2

1.2 MB

3.5 นิ้ว

Double sided-Single Density

2

720 KB

3.5 นิ้ว

Double sided-High Density

2

1.44 MB

3.5 นิ้ว

Double sided-Quad Density

2

2.88 MB

3.5 นิ้ว

Floptical Disk

2

120 MB




2.    Harddisk

ฮาร์ดดิสก์ หรือ จานบันทึกแบบแข็ง ( hard disk ) คืออุปกรณ์บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน      มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็กซึ่งหมุนอย่างรวดเร็วเมื่อทำงาน การติดตั้งเข้ากับตัวคอมพิวเตอร์สามารถทำได้ผ่านการต่อเข้ากับมาเธอร์บอร์ด (motherboard ) ที่มีอินเตอร์เฟซแบบขนาน ( PATA ) แบบอนุกรม ( SATA ) และแบบเล็ก ( SCSI ) ทั้งยังสามารถต่อเข้าเครื่องจากภายนอกได้ผ่านทางสายยูเอสบีสายไฟร์ไวร์ของบริษัท Apple ที่เป็นที่รู้จักน้อยกว่า รวมไปถึงอินเตอร์เฟซอนุกรมแบบต่อนอก (eSATA ) ซึ่งทำให้การใช้ฮาร์ดดิสก์ทำได้สะดวกยิ่งขึ้นเมื่อไม่มีคอมพิวเตอร์ถาวรเป็นของตนเอง ความจุของฮาร์ดดิสก์โดยทั่วไปในปัจจุบันนั้นมีตั้งแต่ 20 ถึง 250 กิกะไบต์ ยิ่งมีความจุมาก ก็จะยิ่งทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น



สื่อบันทึกข้อมูล มี ประโยชน์ อย่างไร บาง

3.    CD-ROM Drive

 แผ่นซีดีรอมเป็นสื่อในการเก็บข้อมูลแบบออปติคอล (Optical Storage) ใช้ลำแสงเลเซอร์ในการอ่านข้อมูล แผ่นซีดีรอม ทำมาจากแผ่นพลาสติกเคลือบด้วยอลูมิเนียม เพื่อสะท้อนแสงเลเซอร์ที่ยิงมา เมื่อแสงเลเซอร์ที่ยิงมาสะท้อนกลับไป ที่ตัวอ่านข้อมูลที่เรียกว่า Photo Detector ก็อ่านข้อมูลที่ได้รับกลับมาว่าเป็นอะไร และส่งค่า 0 และ 1 ไปให้กลับซีพียู เพื่อนำไปประมวลผลต่อไป

ความเร็วของไดรว์ซีดีรอม มีหลายความเร็ว เช่น 2x 4x หรือ16x เป็นต้น ซึ่งค่า 2x หมายถึงไดรว์ซีดีรอมมี ความเร็วในการหมุน2 เท่า ไดรว์ตัวแรกที่เกิดขึ้นมามีความเร็ว 1x จะมีอัตราในการโอนถ่ายข้อมูล (Data Tranfer Rate) 150 KB ต่อวินาที ส่วนไดรว์ที่มีความเร็วสูงกว่านี้ ก็จะมีความเร็วในการโอนถ่ายข้อมูล ตามตาราง

3.1        การทำงานของ CD-ROM

ภายในซีดีรอมจะแบ่งเป็นแทร็กและเซ็กเตอร์เหมือนกับแผ่นดิสก์ แต่เซ็กเตอร์ในซีดีรอมจะมีขนาดเท่ากัน ทุกเซ็กเตอร์ ทำให้สามารถเก็บข้อมูลได้มากขึ้น เมื่อไดรว์ซีดีรอมเริ่มทำงานมอเตอร์จะเริ่มหมุนด้วยความเร็ว หลายค่า ทั้งนี้เพื่อให้อัตราเร็วในการอ่านข้อมูลจากซีดีรอมคงที่สม่ำเสมอทุกเซ็กเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นเซ็กเตอร์ ที่อยู่รอบนอกหรือวงในก็ตาม จากนั้นแสงเลเซอร์จะฉายลงซีดีรอม โดยลำแสงจะถูกโฟกัสด้วยเลนส์ที่เคลื่อนตำแหน่งได้ โดยการทำงานของขดลวด ลำแสงเลเซอร์จะทะลุผ่านไปที่ซีดีรอมแล้วถูกสะท้อนกลับ ที่ผิวหน้าของซีดีรอมจะเป็น หลุมเป็นบ่อ ส่วนที่เป็นหลุมลงไปเรียก แลนด์ สำหรับบริเวณที่ไม่มีการเจาะลึกลงไปเรียก พิต ผิวสองรูปแบบนี้เราใช้แทนการเก็บข้อมูลในรูปแบบของ และ แสงเมื่อถูกพิตจะกระจายไปไม่สะท้อนกลับ แต่เมื่อแสงถูกเลนส์จะสะท้อนกลับผ่านแท่งปริซึม จากนั้นหักเหผ่านแท่งปริซึมไปยังตัวตรวจจับแสงอีกที ทุกๆช่วงของลำแสงที่กระทบตัวตรวจจับแสงจะกำเนิดแรงดันไฟฟ้า หรือเกิด และ ที่ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ ส่วนการบันทึกข้อมูลลงแผ่นซีดีรอมนั้นต้องใช้แสงเลเซอร์เช่นกัน โดยมีลำแสงเลเซอร์จากหัวบันทึกของเครื่อง บันทึกข้อมูลส่องไปกระทบพื้นผิวหน้าของแผ่น ถ้าส่องไปกระทบบริเวณใดจะทำให้บริเวณนั้นเป็นหลุมขนาดเล็ก บริเวณทีไม่ถูกบันทึกจะมีลักษณะเป็นพื้นเรียบสลับกันไปเรื่อยๆตลอดทั้งแผ่น


4.    DVD-ROM Drive

         ดีวีดี (DVD; Digital Versatile Disc) เป็นแผ่นข้อมูลแบบบันทึกด้วยแสง (optical disc) ที่ใช้บันทึกข้อมูลต่างๆ เช่น ภาพยนตร์ โดยให้คุณภาพของภาพและเสียงที่ดี ดีวีดีถูกพัฒนามาใช้แทนซีดีรอม โดยใช้แผ่นที่มีขนาดเดียวกัน ( เส้นผ่าศูนย์กลาง12 เซนติเมตร ) แต่ว่าใช้การบันทึกข้อมูลที่แตกต่างกัน และความละเอียดในการบันทึกที่หนาแน่นกว่า เดิมทีดีวีดีมาจากชื่อย่อว่าdigital video disc แต่ในภายหลังผู้ผลิตบางรายเห็นว่าควรเปลี่ยนชื่อเป็น digital versatile disc ปัจจุบันตามคำนิยามอย่างเป็นทางการแล้ว DVD ไม่ได้ย่อมาจากชื่อเต็มแต่อย่างใด เครื่องเขียนแผ่นดีวีดี ( DVD Writer ) คือ เครื่องสำหรับการบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นดีวีดี

         4.1    คุณสมบัติของดีวีดี

                      4.1.1 สามารถบันทึกข้อมูลวิดีโอที่ความละเอียดสูงได้ถึง 133 นาที

                      4.1.2 การบีบอัดของวิดีโอในรูปแบบ MPEG-2นั้นมีอัตราส่วนอยู่ที่ 4 : 0 : 1

                      4.1.3 สามารถมีเสียงในฟิล์มได้มากถึง 8 ภาษา โดยในแต่ละภาษาอาจจะเป็นระบบเสียงสเตอริโอ 2.0 ช่อง (รูปแบบ PCM) หรือ ระบบเสียงรอบทิศทาง (เช่น 4.0, 5.1, 6.1 ช่อง) ในรูปแบบ Dolby Digital (AC-3) หรือ Digital Theater System (DTS)

                      4.1.4 มีคำบรรยาย (Subtitle) ได้มากสูงสุดถึง32 ภาษา

                      4.1.5 ภาพยนตร์ดีวีดีบางแผ่นนั้น สามารถเปลี่ยนมุมกล้องได้ด้วย (Multiangle)

                      4.1.6 สามารถทำภาพนิ่งได้สมบูรณ์เหมือนภาพสไลด์

                      4.1.7 ควบคุมระดับสิทธิการเล่น (Parental Lock)

                      4.1.8 มีรหัสพื้นที่ใช้งานเฉพาะพื้นที่กำหนด (Regional Codes)

         4.2    ชนิดของแผ่นดีวีดีที่ใช้บันทึกนั้นมีอยู่ 6 ชนิด คือ

                 4.2.1 DVD-R  

                      4.2.2 DVD+R   

                      4.2.3 DVD-RW   

                      4.2.4 DVD+RW  

                      4.2.5 DVD-R DL   

                      4.26 DVD+R DL




สื่อบันทึกข้อมูล มี ประโยชน์ อย่างไร บาง


5.    แฟลชไดรฟ์ (Flash Drive)

                แฟลชไดรฟ์ หรือ ยูเอสบีไดรฟ์ เป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์สำหรับเก็บข้อมูลโดยใช้หน่วยความจำแบบแฟลช ทำงานร่วมกับยูเอสบี 1.1 หรือ 2.0 มีลักษณะเล็ก น้ำหนักเบาเป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่ไม่ต้องมีตัวขับเคลื่อน (Drive) สามารถพกพาไปไหนได้โดยต่อเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย Port USB ปัจจุบันความจุของไดร์ฟมีตั้งแต่ 8, 16, 32, 64, 128 จนถึง 1024 เมกะไบต์ ทั้งนี้ยังมีไดร์ฟลักษณะเดียวกัน ในปัจจุบัน (พ.ศ. 2549) บางรุ่นมีความจุสูงถึง 16 GB โดยทั่วไปไดรฟ์จะทำงานได้ในหลายระบบปฏิบัติการซึ่งรวมถึง วินโดวส์ 98/ME/2000/XP แมคอินทอช ลินุกซ์ และยูนิกซ์ แฟลชไดรฟ์ รู้จักกันในชื่อต่างๆ รวมถึง ทัมบ์ไดรฟ์    คีย์ไดรฟ์   “จัมป์ไดรฟ์ และชื่อเรียกอื่น โดยขึ้นอยู่กับผู้ผลิต

5.1    ชื่อเรียกอื่น

ชื่อเรียกของแฟลชไดรฟ์ (รวมถึงคำว่าแฟลชไดรฟ์) ไม่มีชื่อพื้นฐานที่กำหนด โดยผู้ผลิตได้ตั้งชื่อเป็นโมเดลของตัวเอง ซึ่งได้แก่

5.1.1 คีย์ไดรฟ์ (key drive)

5.1.2 จัมป์ไดรฟ์ (jump drive) เครื่องหมายการค้าของเล็กซาร์

5.1.3 ดาต้าคีย์ (data key)

5.1.4 ดาต้าสติ๊ก (data stick)

5.1.5 ทราเวลไดรฟ์ (travel drive) เครื่องหมายการค้าของ เมโมเร็กซ์

5.1.6 ทัมบ์ไดรฟ์ (thumb drive)

5.1.7 ทัมบ์คีย์ (thumb key)

5.1.8 เพนไดรฟ์ (pen drive)

5.1.9 ฟิงเกอร์ไดรฟ์ (finger drive)

5.1.10 แฟลชไดรฟ์ (flash drive)

5.1.11 แฟลชดิสก์ (flash disk)

5.1.12 เมโมรีไดรฟ์ (memory drive)

5.1.13 ยูเอสบีไดรฟ์ (usb drive)

5.1.14 ยูเอสบีคีย์ (usb key)


สื่อบันทึกข้อมูล มี ประโยชน์ อย่างไร บาง


เทคโนโลยี Blu-Ray

บลูเรย์ดิสค์ (Blu-ray Disc) หรือ บีดี (BD) คือรูปแบบของแผ่นออพติคอลสำหรับบันทึกข้อมูลความละเอียดสูง ชื่อของบลูเรย์มาจาก ช่วงความยาวคลื่นที่ใช้ในระบบบลูเรย์ ที่ 405 nm ของเลเซอร์สี "ฟ้า" ซึ่งทำให้สามารถทำให้เก็บข้อมูลได้มากกว่าดีวีดี ที่มีขนาดแผ่นเท่ากัน โดยดีวีดีใช้เลเซอร์สีแดงความยาวคลื่น 650 nm


สื่อบันทึกข้อมูล มี ประโยชน์ อย่างไร บาง

เทคโนโลยี HD-DVD

HD DVD ( High Definition DVD หรือ High Density DVD ) เป็นแผ่นข้อมูลแบบบันทึกด้วยแสง ( optical disc ) ที่ใช้บันทึกวิดีโอความละเอียดสูง ( high definition ) หรือข้อมูลชนิดอื่นๆ ก็ได้ HD DVD มีลักษณะใกล้เคียงกับ Blu-ray ซึ่งเป็นแผ่นบันทึกข้อมูลคู่แข่ง โดยใช้ขนาดแผ่นเท่ากับซีดีรอม ( เส้นผ่านศูนย์กลาง12 ซม. )



   Floptical Disk

เป็นการนำเทคโนโลยีด้านแสงเข้ามาช่วยในการบันทึกข้อมูล แต่ไม่ได้ใช้แสงโดยตรง ลักษณะ Floptical disk จะมีรูปร่างเหมือนฟล็อปปี้ดิสก์ขนาด 3.5 นิ้วทุกประการ แต่มีความจุมากขึ้นเป็น 120เมกะไบต์ทีเดียว และตัวไดรว์ยังใช้อ่านเขียนข้อมูลแผ่นดิสก์ธรรมดาได้ด้วย  ชื่อทางการค้าของ


ที่เป็นที่รู้จักกันได้แก่ SuperDisk จากบริษัท Imation

8.1    หลักการของ

Floptical Drive

หลักการของ Floptical Drive อาศัยการบันทึกข้อมูลด้วยสนามแม่เหล็กเหมือนฟล็อปปี้ดิสก์ธรรมดา แต่ใช้กลไกการอ่านที่เรียกว่าoptical servo (หรือบางทีเรียกว่า Laser servo)หรือวงจรเลื่อนตำแหน่งหัวอ่านควบคุมด้วยแสง ทำให้สามารถเลื่อนหัวอ่าน/เขียนได้ตรงกับแทรคที่มีความหนาแน่นกว่าดิสเก็ตธรรมดามาก เช่น ในดิสก์ธรรมดามี 80 แทรค 2480 sector แต่ใน Floptical disk จะมี ถึง 1,736 แทรค 245,760 sector ทำให้ได้ความจุรวมถึง 120เมกะไบต์ต่อแผ่น Floptical disk หมุนด้วยความเร็ว 720 รอบต่อนาที และมีอัตรารับส่งข้อมูล ประมาณ 3.2-5.4 เมกะบิตต่อวินาที

สื่อบันทึกข้อมูล มี ประโยชน์ อย่างไร บาง



ZIP drive ของ Iomega  Jazz drive

นอกจากนี้ยังมีผลิตภัณฑ์ที่ใช้เทคโนโลยีคล้ายกัน แต่รูปแบบต่างกันไป เช่น Zip Drive จาก Iomega ที่ออกมาก่อน Superdisk แต่ได้รับความนิยมมากพอสมควร Zip Drive มีทั้งรุ่นที่ต่อกับParallel port,USB port และแบบ SCSI และได้เพิ่มความจุจาก100 เป็น 250 เมกะไบต์ Iomega ยังได้ผลิต Jaz Drive ที่มีลักษณะเหมือนฮาร์ดดิสก์ถอดได้ โดยจะมีตัวไดรว์เป็นระบบ SCSI เท่านั้น และมีแผ่นบรรจุข้อมูลขนาด 1 GB และ 2 GB นิยมใช้สำหรับการสำรองข้อมูลย้ายไปมา เนื่องจากมีความเร็วน้อยกว่าฮาร์ดดิสก์ และยังมีราคาแพงกว่า Zip หรือ Superdisk มาก

10.    เทปแบ็คอัพ ( Tape Backup )

เป็นอุปกรณ์สำหรับการสำรองข้อมูล ซึ่งเหมาะกับการสำรองข้อมูลทีมีขนาดใหญ่ๆ ระดับ 10-100 กิกะไบต์

11.    การ์ดเมมโมรี ( Memory Card )

เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่มีขนาดเล็ก พัฒนาขึ้นเพื่อนำไปใช้กับอุปกรณ์เทคโนโลยีแบบต่างๆ เช่น กล้องดิจิทัล คอมพิวเตอร์มือถือ (