ความสัมพันธ์ระหว่างความนำไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า ข้อใด ถูก ต้อง ที่สุด

ความสัมพันธ์ระหว่างความนำไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า ข้อใด ถูก ต้อง ที่สุด

ความสัมพันธ์ระหว่างความนำไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า ข้อใด ถูก ต้อง ที่สุด

ความสัมพันธ์ระหว่างความนำไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า ข้อใด ถูก ต้อง ที่สุด

รูป 7 การนำกระแสไฟฟ้าในลวด และกราฟกระแส-ความต่างศักย์ตามกฎของโอห์ม

เมื่อมีความต่างศักย์ตกคร่อมตัวนำ จะทำให้อิเล็กตรอนไหลด้วยความเร็วลอยเลื่อน  เนื่องจากอิทธิพลของสนามไฟฟ้าจากการทดลอง เมื่อเพิ่ม ความต่างศักย์ที่ตกคร่อมลวดตัวนำ พบว่ากระแส จะเพิ่มขึ้นเป็นสัดส่วนโดยตรง ซึ่งหมายความว่า กราฟเป็นเส้นตรงมีความชันที่คงที่ตลอดการ ทดลอง ส่วนกลับของความชันนี้เรียกว่า  ความต้านทานไฟฟ้า (R)  ของตัวนำนั้น ทำให้โอห์ม (คศ. 1787-1854) ซึ่งเป็นผู้แรกที่ทำการ ทดลองเกี่ยวกับเรื่องความต้านทานอย่างเป็นระบบ ตั้งเป็นกฎของโอห์มขึ้น ดังนี้ 

ความสัมพันธ์ระหว่างความนำไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า ข้อใด ถูก ต้อง ที่สุด

ดังนั้น

ความสัมพันธ์ระหว่างความนำไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า ข้อใด ถูก ต้อง ที่สุด

เมื่อ k เป็นค่าคงตัวของการแปรผัน

ความสัมพันธ์ระหว่างความนำไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า ข้อใด ถูก ต้อง ที่สุด

ถ้าให้

ความสัมพันธ์ระหว่างความนำไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า ข้อใด ถูก ต้อง ที่สุด

จะได้

ความสัมพันธ์ระหว่างความนำไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า ข้อใด ถูก ต้อง ที่สุด

ความสัมพันธ์ระหว่างความนำไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า ข้อใด ถูก ต้อง ที่สุด

เมื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ในตัวนำไฟฟ้าชนิดอื่น ๆ ได้แก่ โลหะ หลอดไดโอด อิเล็กโทรไลต์ และสารกึ่งตัวนำ ที่อุณหภูมิคงตัว จะได้ดังรูป 8

ความสัมพันธ์ระหว่างความนำไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า ข้อใด ถูก ต้อง ที่สุด

รูป 8 กราฟระหว่างกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ของตัวนำไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ

จากกราฟข้างต้น จะเห็นได้ว่า ตัวนำไฟฟ้าที่เป็นโลหะจะมีความต้านทานคงตัว เป็นไปตามกฎของโอห์ม ส่วนตัวนำไฟฟ้าอื่น ความต้านทานไม่คงตัว และไม่เป็นไปตามกฎของโอห์ม

ตัวต้านทาน

ในวงจรทั่วไป ตัวต้านทานมักทำจากผงคาร์บอนอัดแน่นเป็นรูปทรงกระบอกเล็ก ๆ ตัวต้านทานแบบนี้มีความต้านทานคงตัว เรียกว่า ตัวต้านทานค่าคงตัว เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์  และใช้แถบสีบอกความต้านทาน ดังรูป 9 

ความสัมพันธ์ระหว่างความนำไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า ข้อใด ถูก ต้อง ที่สุด

รูป 9 ตัวต้านทานค่าคงตัวและสัญลักษณ์

การอ่านความต้านทานจากแถบสีบนตัวต้านทาน

ความสัมพันธ์ระหว่างความนำไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า ข้อใด ถูก ต้อง ที่สุด

ความสัมพันธ์ระหว่างความนำไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า ข้อใด ถูก ต้อง ที่สุด

โดยทั่วไป แถบสีบนตัวต้านทาน จะมี 4 แถบ แต่ละแถบสีใช้แทนตัวเลข มีความหมายดังนี้

ความสัมพันธ์ระหว่างความนำไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า ข้อใด ถูก ต้อง ที่สุด

    ตัวต้านทานข้างต้น ซึ่งมีแถบสีน้ำตาล เขียว ส้มและทอง มีความต้านทาน ดังนี้ 15 x 103 โอห์ม และมีความคลานเคลื่อน 5% หรือเท่ากับ 15 000 โอห์ม ± 750 โอห์ม หรือมีค่าระหว่าง 14 250 โอห์ม และ 15 750 โอห์ม

    พิจารณาวงจรที่ประกอบด้วยตัวต้านทานที่ทราบค่ากับแบตเตอรี่ และวัดกระแสไฟฟ้าในวงจร เปลี่ยนตัวต้านทานเป็นค่าอื่น บันทึกกระแสไฟฟ้าทุกครั้ง จะพบว่าเมื่อตัวต้านทานมีค่าเพิ่มขึ้นกระแสไฟฟ้าที่วัดได้มีค่าลดลง จึงสามารถกำหนดกระแสไฟฟ้าในวงจรได้โดยใช้ตัวต้านทานที่เหมาะสม หรือกล่าวได้ว่า ตัวต้านทานทำหน้าที่จำกัดค่าของกระแสไฟฟ้าในวงจร

    แอลดีอาร์
แอลดีอาร์เป็นตัวต้านทานที่ความต้านทานขึ้นกับความสว่างของแสงที่ตกกระทบ แอลดีอาร์มีความต้านทานสูงในที่มืด แต่มีความต้านทานต่ำในที่สว่าง จึงเป็นตัวรับรู้ความสว่างในวงจรอิเล็กทรอนิกส์สำหรับควบคุมการปิด - เปิดสวิตซ์ด้วยแสง

ความสัมพันธ์ระหว่างความนำไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า ข้อใด ถูก ต้อง ที่สุด

รูป 10 แอลดีอาร์

เทอร์มีสเตอร์
เทอร์มีสเตอร์เป็นตัวต้านทานที่ความต้านทานขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของสภาพแวดล้อม เทอร์มีสเตอร์แบบ NTC มีความต้านทานสูงเมื่ออุณหภูมิต่ำ แต่มีความต้านทานต่ำเมื่ออุณหภูมิสูง เทอร์มีสเตอร์จึงเป็นตัวรับรู้อุณหภูมิในเทอร์มีสเตอร์บางชนิด

ความสัมพันธ์ระหว่างความนำไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า ข้อใด ถูก ต้อง ที่สุด

รูป 11 เทอร์มีสเตอร์

ไดโอด
ไดโอดทำจากสารกึ่งตัวนำ มีลักษณะและสัญลักษณ์ ดังรูป 10 ไดโอดมีขั้วไฟฟ้าบวกและขั้วไฟฟ้าลบ เมื่อนำไดโอด แบตเตอรี่และแอมมิเตอร์มาต่อเป็นวงจรโดยต่อขั้วบวกและขั้วลบของแบตเตอรี่กับขั้วไฟฟ้าบวกและขั้วไฟฟ้าลบของไดโอดตามลำดับ จะพบว่า มีกระแสไฟฟ้าในวงจร การต่อลักษณะนี้เรียกว่า ไบแอสตรง เมื่อสลับขั้วของไดโอด จะพบว่า ไม่มีกระแสไฟฟ้าในวงจร การต่อลักษณะนี้เรียกว่า ไบแอสกลับ ดังรูป 11

ความสัมพันธ์ระหว่างความนำไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า ข้อใด ถูก ต้อง ที่สุด

รูป 12 ไดโอดและสัญลักษณ์

ความสัมพันธ์ระหว่างความนำไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า ข้อใด ถูก ต้อง ที่สุด

รูป 13 การต่อไดโอดในวงจรไฟฟ้า

จะเห็นว่าขณะไบแอสตรง มีกระแสไฟฟ้าในวงจร แสดงว่าไดโอดมีความต้านทานน้อย แต่ขณะไบแอสกลับ ไม่มีกระแสไฟฟ้าในวงจร แสดงว่าไดโอดมีความต้านทานสูงมาก ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า ไดโอดยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ทิศเดียว จากสมบัตินี้จึงใช้ไดโอดแปลงไฟฟ้ากระแสสลับเป็นไฟฟ้ากระแสตรง

ความสัมพันธ์ระหว่างความนำไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า ข้อใด ถูก ต้อง ที่สุด

เมื่อต่อแบตเตอรี่กับลวดโลหะ แล้ววัดความต่างศักย์ V ระหว่างปลายลวด และกระแสไฟฟ้า I ที่ผ่านลวดนั้น โดยใช้ลวดที่ทำจากโลหะชนิดเดียวกัน มีความยาว l ต่าง ๆ กัน และมีพื้นที่หน้าตัดเท่ากัน พบว่าอัตราส่วนระหว่าง Vและ I แปรผันตรงกับ l ของลวดนั้น

            หรือ

ความสัมพันธ์ระหว่างความนำไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า ข้อใด ถูก ต้อง ที่สุด

ถ้าใช้ลวดที่มีความยาวเท่ากัน แต่มีพื้นที่หน้าตัด A ต่าง ๆ กัน พบว่าอัตราส่วนระหว่าง V  และ  แปรผกผันกับ 

หรือ

ความสัมพันธ์ระหว่างความนำไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า ข้อใด ถูก ต้อง ที่สุด

โดยอาศัยกฎของโอห์มในสมการ (2) สามารถสรุปความสัมพันธ์ระหว่างความต้านทาน R ความยาว l  และพื้นที่หน้าตัด A  ของลวดโลหะได้ดังนี้

ความสัมพันธ์ระหว่างความนำไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า ข้อใด ถูก ต้อง ที่สุด

ดังนั้น

ความสัมพันธ์ระหว่างความนำไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า ข้อใด ถูก ต้อง ที่สุด

ความสัมพันธ์ระหว่างความนำไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า ข้อใด ถูก ต้อง ที่สุด

ถ้าทดลองโดยใช้ลวดที่ทำด้วยโลหะต่างชนิดกัน พบว่าค่าคงตัวในสมการ (3) จะไม่เท่ากัน ขึ้นกับชนิดของสาร ค่าคงตัว P นี้เรียกว่า สภาพต้านทานไฟฟ้า ซึ่งมีหน่วยเป็นโอห์ม เมตร

สภาพต้านทานไฟฟ้าของสารชนิดเดียวกันมีค่าเท่ากัน ส่วนความต้านทานของสารชนิดเดียวกันอาจต่างกัน เพราะขึ้นกับความยาวและพื้นที่หน้าตัดของสารนั้น สารที่มีความต้านทานมากจะยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านน้อย จึงกล่าวว่าสารนั้นมีความนำไฟฟ้าน้อย ดังนั้นความนำไฟฟ้าจึงเป็นส่วนกลับของความต้านทานไฟฟ้า และมีหน่วย (โอห์ม)-1 หรือซีเมนส์ แทนด้วยสัญลักษณ์ S สำหรับสารที่มีสภาพต้านทานไฟฟ้ามากจะมีสภาพนำไฟฟ้าน้อย สภาพนำไฟฟ้าเป็นส่วนกลับของสภาพต้านทานไฟฟ้า มีหน่วย (โอห์ม เมตร)-1 หรือซีเมนส์ต่อเมตร

ความสัมพันธ์ระหว่างความนำไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า ข้อใด ถูก ต้อง ที่สุด

ฉนวนเป็นสารที่มีสภาพต้านทานสูง ตัวอย่างของฉนวน ได้แก่ แก้ว ไมกา พีวีซี ยาง กระเบื้อง เป็นต้น การศึกษาสภาพต้านทานของฉนวนที่อุณหภูมิสูง ๆ พบว่า สภาพต้านทานจะลดลงเล็กน้อย และถ้านำฉนวนไปต่อกับความต่างศักย์ที่สูงมาก ฉนวนจะกลายเป็นตัวนำไฟฟ้าได้

สารกึ่งตัวนำ สารกึ่งตัวนำมีสภาพต้านทานอยู่ระหว่างตัวนำและฉนวน แต่มีค่าสูงกว่าสภาพต้านทานของตัวนำมาก เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น พบว่า สภาพต้านทานจะลดลงอย่างรวดเร็ว แสดงว่าการนำไฟฟ้าจะดีขึ้น ดังนั้นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีอุปกรณ์ประเภทสารกึ่งตัวนำประกอบอยู่ในวงจร จึงทำงานเป็นปกติเฉพาะในช่วงอุณหภูมิที่กำหนดไว้

ตัวนำ ตัวนำเป็นสารที่มีสภาพต้านทานต่ำ เมื่อวัดความต้านทานของตัวนำที่เป็นโลหะบริสุทธิ์ เช่น แพลทินัม ทองแดง เงิน เป็นต้น ที่อุณหภูมิต่าง ๆ พบว่าโดยประมาณแล้ว ความต้านทานจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิสัมบูรณ์

ตัวนำยวดยิ่ง  นักฟิสิกส์ชาวเนเธอร์แลนด์ ชื่อ ออนเนส ได้ทดลองวัดความต้านทานของปรอทบริสุทธิ์ที่อุณหภูมิใกล้ศูนย์เคลวิน พบว่า ความต้านทานของปรอทลดลงเป็นศูนย์ที่อุณหภูมิ 4.2 เคลวิน ดังรูป 14 อุณหภูมินี้เรียกว่า อุณหภูมิวิกฤต ปรอทจะอยู่ในสภาวะที่เรียกว่า สภาพนำยวดยิ่ง กล่าวคือ ปรอทจะมีสภาพต้านทานไฟฟ้าเป็นศูนย์หรือมีการนำไฟฟ้าดีที่สุด วัสดุที่มีความต้านทานเป็นศูนย์หรืออยู่ในสภาพนำยวดยิ่ง เรียกว่า ตัวนำยวดยิ่ง

ความสัมพันธ์ระหว่างความนำไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า ข้อใด ถูก ต้อง ที่สุด

รูป 14 กราฟแสดงอุณหภูมิวิกฤติของปรอท 



ความสัมพันธ์ระหว่างความนำไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้าข้อใด

ลวดตัวนำที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้มาก เรียกว่ามีความนำไฟฟ้ามากหรือมีความต้าน ทานไฟฟ้าน้อย ลวดตัวนำที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้น้อย เรียกว่า มีความนำไฟฟ้าน้อย หรือมีความต้าน ทานไฟฟ้ามาก ดังนั้น ความนำไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้าจึงเป็นสัดส่วนผกผันซึ่งกันและกัน

ข้อใดคือหน่วยของกำลังไฟฟ้าและความนำไฟฟ้า

- พลังงานไฟฟ้า คือ กำลังไฟฟ้าที่นำไปใช้ในระยะเวลาหนึ่ง - พลังงานไฟฟ้ามีหน่วยเป็น วัตต์ชั่วโมง หรือยูนิต - พลังงานไฟฟ้าวัดได้ด้วยวัตต์เอาร์มิเตอร์ หรือ กิโลวัตต์เอาร์มิเตอร์ (KWh Meter) ซึ่งเป็นมิเตอร์วัดพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ตามบ้าน 1,000 วัตต์-ชั่วโมง = 1 กิโลวัตต์-ชั่วโมง = 1 ยูนิต

ปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อความต้านทานของตัวนำไฟฟ้า

1. ความยาวของลวดตัวนำ มีผลต่อค่าความต้านทาน ความยาวของลวดตัวนำมาก ส่งผลให้ค่าความต้านทานมาก 2. พื้นที่หน้าตัดของลวดตัวนำ หากพื้นที่หน้าตัดของลวดตัวนำกว้าง ค่าความต้านทานจะต่ำ 3. ชนิดของตัวนำ ซึ่งเป็นสมบัติเฉพาะของวัสดุที่นำมาใช้ทำลวดตัวนำ เช่น โลหะเงินมีค่าความต้านทานต่ำกว่าทองแดง กระแสไฟฟ้าจึงเดินทางผ่านได้ดีกว่า

ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นไปตามข้อใด

ความต่างศักย์ไฟฟ้า คือ ความแตกต่างของพลังงานไฟฟ้าระหว่างจุดสองจุด ซึ่งทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าขึ้น โดยกระแสไฟฟ้าจะไหลจากจุดที่มีระดับพลังงานไฟฟ้าสูง (ศักย์ไฟฟ้าสูง) ไปยังจุดที่มีระดับพลังงานไฟฟ้าต่ำกว่า (ศักย์ไฟฟ้าต่ำ) และจะหยุดไหลเมื่อศักย์ไฟฟ้าทั้งสองจุดเท่ากัน