อุปกรณ์ เก็บข้อมูลแบบ ใด ที่ นำมาใช้ แทน แผ่นดิสก์

���ͻ����ʡ� ( Floppy disks ) �����纺ѹ�֡�����ŷ�����Ѻ�������������ҹ���ҧ������� ����ö�ҫ�����������ҹ����ػ�ó�������������� �������¡�ա����˹����� ����絵� ( diskette ) �����蹴�ʡ� ����红����Ũ��ըҹ�ѹ�֡ �������ʴ���͹�Ӿǡ���ʵԡ������ͺ���������������ҹ� �������������¡�ͺ���ʵԡ���ա���˹��

�蹴�ʡ��ʹյ���բ�Ҵ�ҹ�ѹ�֡����˭��ҡ�֧ 5.25 ���� �Ѩ�غѹ������Ѻ�������������ԡ��ҹ���� �������੾�Т�Ҵ 3.5 ����᷹ ����բ�Ҵ�����о����дǡ���� �ç���ҧ��÷ӧҹ�ͧ�蹴�ʡ�е�ͧ�ա�èѴ�������¡�� ������� ( format ) �����������á��͹�ء���� (�Ѩ�غѹ����ѷ����Ե�ѡ���ա�ÿ���������ҵ��������㹡�кǹ��ü�Ե���� (����������繵�ͧ�ӡ�ÿ��������͹��ҹ����ա)

อุปกรณ์หน่วนความจำแบบแฟรช ( Flash memory device ) ปัจจุบันนำมาใช้บันทึกแทนสื่อเก็บข้อมูลแบบดิสเก็ตต์มากขึ้น เพราะจุข้อมูลได้มากกว่า นิยมใช้กับเครื่องพีซีและคอมพิวเตอร์แบบพกพาทั่วไป มีชื่อเรียกแตกต่างกัน เช่น flash drive, thumb driveหรือ handy drive โดยสามารถต่อพ่วงเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์และอ่านค่าข้อมูลนั้นได้โดยตรง

        เป็นเทคโนโลยีที่ได้รับความนิยมสูงสุด โดยแผ่นดีวีดีสามารถเก็บข้อมูลได้ต่ำสุดที่ 4.7 จิกะไบต์ ซึ่งเพียงพอสำหรับเก็บภาพยนตร์เต็มเรื่องด้วยคุณภาพระดับสูงสุดทั้งภาพและเสียง ทำให้เป็นที่คาดหมายว่าดีวีดีจะมาแทนที่ทั้งซีดีรอม เลเซอร์ดสิก์หรือแม้กระทั้งวีดีโอเทป   ข้อกำหนดของดีวีดีจะสามารถมีความจุได้ตั้งแต่ 4.7 GM ถึง 17 GM และมีความเร็วในการเข้าถึง (Access time) อยู่ที่ 600 กิโลไบต์ต่อวินาที ถึง 1.3 เมกะไบต์ต่อวินาที รวมทั้งสามารถอ่านแผ่นซีดีรอมแบบเก่าได้ด้วย และยังมีข้อกำหนดสำหรับเครื่องรุ่นที่สามารถอ่านและเขียนแผ่นดีวีดีได้ในตัว

1) หน่วยความจำหลัก (Main Memory) หรือเรียกว่า หน่วยความจำภายใน (Internal Memory) สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่

รอม (Read Only Memory - ROM) เป็นหน่วยความจำที่มีโปรแกรมหรือข้อมูลอยู่แล้ว สามารถเรียกออกมาใช้งานได้แต่จะไม่สามารถเขียนเพิ่มเติมได้ และแม้ว่าจะไม่มีกระแสไฟฟ้าไปเลี้ยงให้แก่ระบบข้อมูลก็ไม่สูญหายไป

แรม (Random Access Memory) เป็นหน่วยความจำที่สามารถเก็บข้อมูลได้เมื่อมีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงเท่านั้น เมื่อใดไม่มีกระแสไฟฟ้ามาเลี้ยงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำชนิดนี้จะหายไปทันที

2) หน่วยความจำรอง (Second Memory) หรือหน่วยความจำภายนอก (External Memory) เป็นหน่วยความจำที่ต้องอาศัยสื่อบันทึกข้อมูลและอุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูลชนิดต่างๆ ได้แก่

- ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) เป็นฮาร์ดแวร์ที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งโปรแกรมใช้งานต่างๆ ไฟล์เอกสาร รวมทั้งเป็นที่เก็บระบบปฏิบัติการที่เป็นโปรแกรมควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย

- ฟล็อบปี้ดิสก์ (Floppy Disk) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่มีขนาด 3.5 นิ้ว มีลักษณะเป็นแผ่นกลมบางทำจากไมลาร์ (Mylar) สามารถบรรจุข้อมูลได้เพียง 1.44 เมกะไบต์ เท่านั้น ี

- ซีดี (Compact Disk - CD) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบดิจิทัล เป็นสื่อที่มีขนาดความจุสูง เหมาะสำหรับบันทึกข้อมูลแบบมัลติมีเดีย ซีดีรอมทำมาจากแผ่นพลาสติกกลมบางที่เคลือบด้วยสารโพลีคาร์บอเนต (Poly Carbonate) ทำให้ผิวหน้าเป็นมันสะท้อนแสง โดยมีการบันทึกข้อมูลเป็นสายเดียว (Single Track) มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 120 มิลลิเมตร ปัจจุบันมีซีดีอยู่หลายประเภท ได้แก่ ซีดีเพลง (Audio CD) วีซีดี (Video CD - VCD) ซีดี-อาร์ (CD Recordable - CD-R) ซีดี-อาร์ดับบลิว (CD-Rewritable - CD-RW) และ ดีวีดี (Digital Video Disk - DVD) ี

3) รีมูฟเอเบิลไดร์ฟ (Removable Drive) เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่ไม่ต้องมีตัวขับเคลื่อน (Drive) สามารถพกพาไปไหนได้โดยต่อเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย Port USB ปัจจุบันความจุของรีมูฟเอเบิลไดร์ฟมีตั้งแต่ 8 , 16 , 32 , 64 , 128 จนถึง 1024 เมกะไบต์ ทั้งนี้ยังมีไดร์ฟลักษณะเดียวกัน เรียกในชื่ออื่นๆ ได้แก่ Pen Drive , Thump Drive , Flash Drive

4) ซิบไดร์ฟ (Zip Drive) เป็นสื่อบันทึกข้อมูลที่จะมาแทนแผ่นฟล็อปปี้ดิสก์ มีขนาดความจุ 100 เมกะไบต์ ซึ่งการใช้งานซิปไดร์ฟจะต้องใช้งานกับซิปดิสก์ (Zip Disk) ความสามารถในการเก็บข้อมูลของซิปดิสก์จะเก็บข้อมูลได้มากกว่าฟล็อปปี้ดิสก์

5) Magnetic optical Disk Drive เป็นสื่อเก็บข้อมูลขนาด 3.5 นิ้ว ซึ่งมีขนาดพอๆ กับฟล็อบปี้ดิสก์ แต่ขนาดความจุมากกว่า เพราะว่า MO Disk drive 1 แผ่นสามารถบันทึกขัอมูลได้ตั้งแต่ 128 เมกะไบต์ จนถึงระดับ 5.2 กิกะไบต์

6) เทปแบ็คอัพ (Tape Backup) เป็นอุปกรณ์สำหรับการสำรองข้อมูล ซึ่งเหมาะกับการสำรองข้อมูลขนาดใหญ่มากๆ ขนาดระดับ 10-100 กิกะไบต์

7) การ์ดเมมโมรี (Memory Card) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่มีขนาดเล็ก พัฒนาขึ้น เพื่อนำไปใช้กับอุปกรณ์เทคโนโลยีแบบต่างๆ เช่น กล้องดิจิทัล คอมพิวเตอร์มือถือ (Personal Data Assistant - PDA) โทรศัพท์มือถือ เป็นต้น

อุปกรณ์ เก็บข้อมูลแบบ ใด ที่ นำมาใช้ แทน แผ่นดิสก์

          เป็นอุปกรณ์ที่สามารถบันทึกข้อมูลได้เหมือนฮาร์ดดิสก์  คือ สามารถเขียนและลบข้อมูลได้ตามต้องการ  และเก็บข้อมูลได้แม้ไม่ได้ต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์  มีน้ำหนักเบา ขนาดเล็กพกพาได้สะดวก  ความจุข้อมูลของหน่วยความจำแบบแฟลชมีให้เลือกหลายขนาด  ซึ่งขนาดความจุมากจะมีราคาแพงขึ้นตามลำดับการใช้งานต้องนำส่วนยูเอสบีของหน่วยความจำแบบแฟลชเสียบที่ช่องพอร์ตยูเอสบีที่ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ จากนั้นรอจนหน้าคอมพิวเตอร์ปรากฏสัญลักษณ์หน่วยความจำแบบแฟลชที่เชื่อมต่อไว้ แล้วจึงบันทึกข้อมูลลงไป  หน่วยความจำแบบแฟลชมีชื่อเรียกหลายอย่าง  เช่น แฮนดีไดร์ฟ (Handy Drive)  ยูเอสบีไดร์ฟ (USB Drive)  ทัมบ์ไดร์ฟ (Thumb drive) เป็นต้น

อุปกรณ์ในข้อใดเก็บข้อมูลเป็นแทรค

อุปกรณ์ในข้อใดเก็บข้อมูลเป็นแทรค (Track) ฮาร์ดดิสก์

อุปกรณ์ที่ใช้จัดเก็บข้อมูล มีอะไรบ้าง

อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลภายนอก.
HDD และ SSD ภายนอก ... .
อุปกรณ์หน่วยความจำแฟลช ... .
สื่อจัดเก็บข้อมูลด้วยแสง ... .
ฟลอปปีดิสก์ ... .
พื้นที่จัดเก็บข้อมูลหลัก: หน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่ม (Random Access Memory: RAM) ... .
พื้นที่จัดเก็บข้อมูลสำรอง: ฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ (HDD) และโซลิดสเทตไดรฟ์ (SSD) ... .
ฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ (HDD) ... .
โซลิดสเทตไดรฟ์ (SSD).

หน่วยเก็บข้อมูลสำรองชนิดใดที่จะเข้ามาแทนที่ ฮาร์ดดิสส์

โซลิดเตตไดรฟ์ (อังกฤษ: Solid state drive, SSD) หรือ เอเอดี คือ อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลชนิดหนึ่ง ซึ่งใช้ชิปวงจรรวมที่ประกอบรวมเป็น หน่วยความจำ เพื่อจัดเก็บข้อมูลแบบถาวรเหมือนฮาร์ดดิสก์ เทคโนโลยีของโซลิดเตตไดรฟ์ถูกสร้างมาเพื่อทดแทนฮาร์ดดิสก์จึงทำให้มีอินเทอร์เฟส อินพุต/เอ้าพุต เหมือนกันและสามารถใช้งานแทนกันได้ และ ...

พื้นที่ที่ใช้สำหรับจัดเก็บข้อมูลในฮาร์ดดิสก์ เรียกว่าอะไร

ฮาร์ดไดรฟ์ คือฮาร์ดแวร์ชิ้นหนึ่งที่ใช้ในการจัดเก็บเนื้อหาดิจิทัลและข้อมูลบนคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องมีฮาร์ดไดรฟ์ภายใน แต่คุณยังสามารถมีฮาร์ดไดรฟ์ภายนอกที่ใช้เพื่อขยายพื้นที่จัดเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์ได้ ต่อไปนี้เราจะมาดูฮาร์ดไดรฟ์ประเภทต่างๆ รวมถึงข้อดีและข้อเสียของฮาร์ดไดรฟ์กัน