ระบบปฏิบัติการ unix ข้อดี ข้อเสีย

ระบบปฏิบัติการ (Operating System) หมายถึง ชุดโปรแกรมที่อยู่ระหว่างฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ประยุกต์มีหน้าที่ควบคุมการปฏิบัติงานของฮาร์ดแวร์ และสนับสนุนคำสั่งสำหรับควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์ให้กับซอฟต์แวร์ประยุกต์

ระบบปฏิบัติการ unix ข้อดี ข้อเสีย

ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ (unix) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการยูนิกส์เป็นระบบปฏิบัติการที่เทคโนโลยีแบบเปิด (Open system) ซึ่งเป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้องผูกติดกับระบบใดระบบหนึ่งหรือใช้อุปกรณ์ที่มียี่ห้อเดียวกัน
ยูนิกซ์ยังถูกออกแบบมาเพื่อตอบสนองการใช้งานในลักษณะที่มีผู้ใช้ได้หลายคนในเวลาเดียวกันที่เรียกว่า ระบบหลายผู้ใช้(multiusers) และสามารถทำงานได้หลายๆงานในเวลาเดียวกันในลักษณะที่เรียกว่า ระบบหลายภารกิจ (multitasking) ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์จึงนิยมใช้กับเครื่องที่เชื่อมโยงเป็นเครือข่าย เพื่อใช้งานร่วมกันหลายๆ เครื่องพร้อมกัน

ระบบปฏิบัติการ unix ข้อดี ข้อเสีย

ตัวอย่างหน้าต่างระบบปฏิบัติการ UNIX

ระบบปฏิบัติการ unix ข้อดี ข้อเสีย

ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ ติดต่อกับผู้ใช้ได้โดยการพิมพ์คำสั่งลงบนเครื่องหมาย Prompt Sign แต่ในปัจจุบัน สามารถจำลองจอภาพการทำงานของยูนิกซ์ ให้อยู่ในสภาพแวดล้อมของวินโดวส์ได้แล้ว ทำให้สามารถทำงานติดต่อกับผู้ใช้ได้สะดวกมากยิ่งขึ้น

ระบบปฏิบัติการ unix ข้อดี ข้อเสีย

- มัลติทาสกิ้ง (Multi-tasking) คือ ทำงานหลายๆ อย่างพร้อมกันได้ในเวลาเดียวกัน ทำให้ไม่ต้องเสียเวลาในการรอ โดยแบ่งการทำงานออกเป็น Foreground และ Background
- มัลติยูสเซอร์ (Multi-user) Unix สามารถรองรับผู้ใช้ได้มากกว่า 1 คนในเวลาเดียวกัน หรือพูดง่ายๆ ก็คือ ใช้งานได้หลายคนพร้อมกันนั่นเอง
จากจุดเด่นนี้ทำให้พบว่าในปัจจุบันเรานิยมใช้ Unix เป็นระบบปฏิบัติการของเครื่อง Internet Server กันมาก

ระบบปฏิบัติการ unix ข้อดี ข้อเสีย

โครงสร้างในการทำงานของ Unix Unix แบ่งโครงสร้างออกเป็น 4 ส่วนหลักนั่นคือ Application Program, Shell, Unix Kernel, Hardware โดยเราจะทำงานอยู่ในระดับนอกสุดคือ ระดับ Application Program จากนั้น Unix จะทำงานเป็นลำดับชั้นผ่าน Shell , Kernel และ Hardware ตามลำดับ

Cookky Aramwit

Follow

Apr 22, 2017

·

2 min read

OS — Operating System

Unix — เป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์แบบหลายงาน หลายผู้ใช้พร้อมกันในเวลาเดียวกันได้
Open Source — ซอร์ฟแวร์เปิดที่สามารถนำไป ใช้งาน ศึกษา แก้ไข และ เผยแพร่ได้

OS HP-UX (HP) ระบบปฏิบัติการของบริษัท HP นิยมใช้ภายในระบบ Mainframe
OS AIX (IBM) AIX ย่อมาจาก Advanced Interactive eXecutive ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ของบริษัทไอบีเอ็มซึ่งใช้ในสถานี่งานยูนิกซ์ RS/6000 และมีคำสั่งที่ครอบคลุมถึงยูนิกซ์ในกลุ่ม BSD ทำงานได้บนเวิร์กสเตชัน มินิคอมพิวเตอร์ และเมนเฟรม
OS Solaris (Sun Microsystem > Oracle ) เป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ แบบยูนิกซ์ ที่พัฒนาโดย ซัน ไมโครซิสเต็มส์

BSD — Berkeley Software Distribution ลิขสิทธิ์ใช้งานได้ฟรี แต่หากมีการนำไปพัฒนาต่อยอดแล้ว ผู้พัฒนาไม่จำเป็นที่จะต้องเปิดเผย Soure Code แต่อย่างใด
- FreeBSD คือซอฟต์แวร์เสรีซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการที่เหมือนยูนิกซ์ (Unix-like) สืบทอดมาจาก AT&T UNIX ผ่านทางสายของ (BSD)
- NetBSD คือระบบปฏิบัติการแบบเหมือนยูนิกซ์ (Unix-like) โดยสืบทอดมาจาก BSD โดย NetBSD เป็นซอฟต์แวร์เสรี โดยเป็นระบบปฏิบัติการตัวที่สองในตระกูล BSD ที่เปิดเผยซอร์สโค้ดสู่สาธารณะ และพัฒนายังคงต่อเนื่องเรื่อยมา “NetBSD” โดยเน้นคำว่า “Net” เนื่องจากความสำคัญของระบบเครือข่ายที่มีผลต่อการพัฒนาตัวซอฟต์แวร์
- OpenBSD OpenBSD นั้นแตกแขนงออกมาจากสายการพัฒนา NetBSD จุดเด่นที่สำคัญของ OpenBSD คือเรื่องความปลอดภัย และความถูกต้องของซอร์สโค้ด
- Darwin — OSX ( OS Apple, iOS ) โดยเป็นระบบที่มีลักษณะแบบ BSD UNIX ซึ่งใช้รากฐานจาก Mach microkernel และระบบ FreeBSD ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการแบบ open source

GNU Project ริชาร์ด สตอลแมน (Richard Stallman) ได้ก่อตั้งโครงการกนูขึ้นในปี พ.ศ. 2526 จุดมุ่งหมายโครงการกนู คือ ต้องการพัฒนาระบบปฏิบัติการคล้ายยูนิกซ์ที่เป็นซอฟต์แวร์เสรีทั้งระบบ GNU Projectเป็นลิขสิทธิ์ที่ใช้งานได้ฟรี และมีการเปิดเผย Source Code โดยมีเงื่อนไขหากมีการนำไปพัฒนาต่อ ผู้พัฒนาจะต้องเปิดเผย Source Code ของโปรแกรมนั้นด้วย
- Minix ซึ่งเป็นระบบที่คล้ายกับ Unix
1993
— Linus Torvalds ผู้เริ่มพัฒนาลินุกซ์ เคอร์เนลเป็นคนแรก

Linux — Kernel — Unix Like — ระบบปฏิบัติการฟรี ที่เขียนมา
ทำทุกอย่างคล้าย Unix

*Nix, unix, linux

Linux = kernel — แกน โปรแกรมจัดการฮาร์ดแวย์
ได้ทั้งหมด แต่ยังไม่ค่อยน่าใช้ , command line

Linux family
- Debian เป็นชุดของซอฟต์แวร์เสรีที่พัฒนาโดยอาสาสมัครภายใต้โครงการเดเบียน ภายใต้โครงการนี้มีเดเบียนลินุกซ์ (Debian GNU/Linux) ที่ใช้ลินุกซ์เป็นเคอร์เนล และใช้เครื่องมือต่าง ๆ ในโครงการ GNU ประกอบกันเป็นระบบปฏิบัติการ
— Ubuntu [ server/workstation, desktop ] เป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ที่เป็นระบบปฏิบัติการแบบเปิดซึ่งมีพื้นฐานบนลินุกซ์ดิสทริบิวชันที่พัฒนาต่อมาจากเดเบียน
— KALI (security) แพลทฟอร์มสำหรับทดสอบการเจาะระบบแบบโอเพ่นซอร์ส
— Android (root) คือระบบปฏิบัติการบนโทรศัพท์มือถือ โดยผู้พัฒนาก็ คือ Google
- Redhat ( Enterprise ) subscription คือบริษัทซึ่งทำธุรกิจเกี่ยวกับซอฟต์แวร์OpenSource เรดแฮตเป็นผู้นำตลาดของระบบปฏิบัติการลินุกซ์
— Fedora เป็นอีกลินุกซ์ดิสทริบิวชันที่แตกแขนงมาจาก Red Hat Enterprise Linux ซึ่งเป็น ลินุกซ์เชิงธุรกิจ
— CentOS Linux ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย เนื่องจากมีข้อดีหลายอย่างด้วยกัน เช่น สามารถทางานร่วมกับ DOS และ Windows ได้ มีประสิทธิภาพสูงในการใช้ Hardware สามารถใช้แฟ้มร่วมกับระบบปฏิบัติการอื่นได้ และมีความสามารถด้าน Network หลายรูปแบบ
— Redflag ลีนุกซ์สัญชาติจีน เน้นการพัฒนาและการทำการตลาดระบบปฏิบัติการลีนุกซ์บนหลากหลายแพลทฟอร์ม
— Linux TLE ลินุกซ์ทะเล คือระบบปฏิบัติการลินุกซ์ ที่ทำการปรับปรุงความสามารถให้ใช้งานร่วมกับภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง โดยเป็นระบบปฏิบัติการลินุกซ์สำหรับผู้ใช้ทั่วไป (End User) มีการจัดเตรียมโปรแกรมสำหรับการใช้งานพื้นฐานต่างๆ อย่างครบถ้วน
- SUSE กำเนิดขึ้นในประเทศเยอรมันนักพัฒส่วนใหญ่จะอยู่ในแถบยุโรป ซูเซลีนุกส์รุ่นแรกออกจำหน่ายเชิงพาณิชย์ในช่วงต้นปี 1994 ซึ่งเป็นที่รู้จักกันจากเครื่องมือการกำหนดค่าที่ชื่อ yast
— OpenSUSE เป็นโปรเจคสำหรับผู้ใช้ทั่วไป (Community Release) ได้ร่วมพัฒนาไปพร้อมกับ Novell มีความสวยงาม ใช้งานง่าย และมีเทคโนโลยีที่ทันสมัย

Virtual Machine
จำลอง เครือง

Virtualization Technology

  • VMWare — Virtual Private Server, Delicate
    — VirtualBox เป็นโปรแกรมประเภท Virtual Machine คือการใช้พื้นที่ส่วนหนึ่งในฮาร์ดดิสก์ จำลองเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้นมา
    — Parallels เป็นโปรแกรมที่สามารถใช้งาน Windows ไปพร้อม ๆ กับ macOS โดยไม่จำเป็นต้องบูทเครื่องไปหา Bootcamp ซึ่งจะสะดวกกว่าการบูทไป ๆ มา ๆ ระหว่าง 2 ระบบปฏิบัติการ
    — Xen คือ ซอฟแวร์โอเพ่นซอร์สจัดการระบบเสมือน ถูกพัฒนาโดยมหาวิทยาลัยแคมบริดส์ การทำงานต่างๆ จะถูกควบคุมโดยโดเมนศูนย์ (Domain-0) ซึ่งจะทำหน้าที่ควบคุมคอมพิวเตอร์เสมือนเพิ่มตัวต่างๆ ในระบบ และกำหนดสิทธิการทำงานและอื่นๆ ใน Xen
    — OpenVZ เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ทำ virtualization ที่ใช้กับลินุกซ์เท่านั้น มีข้อแตกต่างจาก xen ตรงที่ใช้เพียงเคอร์เนลเดียว ข้อดีคือ เร็วและพร้อมใช้ ข้อเสียคือ ไม่มีการ swap หน่วยความจำ ถ้าหน่วยความจำเต็ม โพรเซสที่มาทีหลังจะตายหมด