เครื่องมือที่ใช้สืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต

การสืบค้นสารสนเทศและความรู้

เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ

เครื่องมือและรวมถึงอุปกรณ์ต่างๆ ที่อานวยความ สะดวกแก่ผู้ใช้ในการสืบค้นรายการสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างรวดเร็วทันความต้องการ

1. การสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูลบรรณานุกรมออนไลน์ (OPAC)

เป็นรูปแบบหนึ่งของเครื่องมือช่วยค้นทรัพยากรสารสนเทศ ของห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศซึ่งปรับเปลี่ยนจากรูปแบบบัตรรายการในตู้บัตรรายการมาเป็น ระเบียนบรรณานุกรมในฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ โดยมีชุดคำสั่ง การสืบค้น ที่ใช้ง่าย สะดวก มีรายการ ทางเลือกของขั้นตอนการทางานอยู่หน้าจอ ผู้ใช้เพียงปฏิบัติตามคาสั่งหรือคาแนะนาที่ปรากฎ จากนั้นจะสามารถสืบค้นข้อมูลได้

วิธีการสืบค้นโดยใช้ทางเลือกต่างๆ ใน OPAC

4. หากต้องการได้รายละเอียดที่สมบูรณ์ของรายการใดให้คลิกเม้าส์ที่ รายการที่ต้องการระบบจะแสดงรายละเอียดที่สมบูรณ์ของรายการ นั้นๆ

3. หากต้องการได้รายละเอียดโดยย่อของรายการใด ให้คลิกเม้าส์ที่ รายการที่ต้องการ

1. จากหน้าจอรายการหลักของOPACให้เลือกรายการที่ต้องการจะใช้ เป็นทางเลือกในสืบค้นจากเมนู เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง เป็นต้น

2. ป้อนข้อมูลที่ต้องการสืบค้นตามรายการที่ใช้เป็นทางเลือกลงในช่องสี่เหลี่ยม แล้วคลิกเม้าส์ที่คาว่า ค้นหา หรือ สืบค้น

ข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นด้วย OPAC

ข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic description)

ข้อมูลดรรชนีวารสาร (Periodical Index)

2. การสืบค้นสารสนเทศด้วยฐานข้อมูลออนไลน์

ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database) เป็นแหล่งสารสนเทศที่มีขนาดใหญ่และ ขอบเขตกว้างขวาง ซึ่งผู้จัดทำได้จัดทำขึ้นเพื่อให้บริการสำหรับผู้ที่ต้องการสืบค้น โดยไม่มีข้อจากัดในด้านระยะทาง ไม่ว่าจะอยู่ท่ีไหนก็ตาม นอกจากนั้นผู้ใช้บริการยังสามารถดาวน์โหลดหรือพิมพ์ข้อมูลได้ในทันที ในปัจจุบันห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศขนาดใหญ่ๆ เช่น ห้องสมุด สถาบันอุดมศึกษา

มีฐานข้อมูลออนไลน์ไว้บริการผู้ใช้อยู่ 2 ลักษณะ

1. ฐานข้อมูลออนไลน์ที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศบอกรับเป็นสมาชิก คือฐานข้อมูล ออนไลน์ที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศนั้นๆ บอกรับหรือซื้อฐานข้อมูลนั้นมาให้บริการกับผู้ใช้โดยมี การจากัดระยะเวลาในการใช้

2. ฐานข้อมูลสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือ ฐานข้อมูล ThaiLIS (ThaiLibrary Integrated System) เป็นฐานข้อมูลที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ โครงการ Thai Library Integrated System เช่าใช้ฐานข้อมูลวิชาการโดยมีสานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษารับผิดชอบค่าใช้จ่าย

3. ฐานข้อมูลทดลองใช้ ฐานข้อมูลลักษณะนี้เป็นฐานข้อมูลที่ห้องสมุดหรือศูนย์ สารสนเทศนามาทดลองให้บริการกับผู้ใช้ก่อน ก่อนที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศจะตัดสินใจซื้อ หรือสมัครเป็นสมาชิกของฐานข้อมูลนั้นจริงๆ

การสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์

1. วิเคราะห์เรื่องที่ต้องการสืบค้นและกาหนดคาสาคัญเพื่อใช้ในการค้น การวิเคราะห์ เรื่องที่ต้องการสืบค้นคือ ต้องรู้ว่าต้องการข้อมูลในเรื่องใด แล้วจึงกาหนดเรื่องที่ ต้องการค้นเป็นคาสาคัญในการสืบค้น

2. เลือกค้นจากฐานข้อมูลที่เหมาะสม ทั้งนี้ต้องทราบว่าเรื่องที่สืบค้นน้ันเป็นเรื่องใน สาขาใด เลือกฐานข้อมูลให้ตรงหรือใกล้เคียงกับสาขาวิชาท่ีสืบค้น เพื่อช่วยให้ได้ผล การสืบค้นท่ีตรงกับความต้องการ

3. ลงมือสืบค้น โดยทั่วไปสามารถสืบค้นได้ 2 วิธี คือการใช้เมนูในการสืบค้น และการ สืบค้นโดยการพิมพ์คาสั่ง

4. แสดงผลการสืบค้น เมื่อสืบค้นจนได้ปริมาณรายการที่พอเพียงกับความต้องการ แล้วสามารถแสดงผลรายการที่สืบค้นได้

4.1 การแสดงผลแบบเต็มรูปแบบ แสดงผลทุกเขตข้อมูลที่รายการนั้นมีอยู่

4.2 การแสดงผลแบบย่อ แสดงผลเฉพาะรายการทางบรรณานุกรมเท่านั้น

4.3 การแสดงผลแบบอิสระแสดงผลที่กาหนดเขตข้อมูลในการแสดงผลด้วยตัวเอง

2.2 การสืบค้นในลักษณะของ Stemming หมายถึง การสืบค้นจากรากคา

3. การสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต

เวิล์ดไวด์เว็บ (World Wide Web หรือ WWW) เป็นบริการหนึ่งบนอินเทอร์เน็ตที่ ให้บริการค้นหาและนาเสนอสารสนเทศซึ่งประกอบไปด้วยเว็บเพจที่เป็นสาระและเป็นประโยชน์ มหาศาล ซึ่งผู้ใช้จึงควรทาความเข้าใจในเนื้อหา (Content) ของเอกสารที่มักปรากฏบน WWW เพื่อที่จะได้นาไปเป็นแนวทางสืบค้นได้ ซึ่งลักษณะเนื้อหาที่มีให้บริการใน WWW แบ่งได้ดังนี้

1. ข้อมูลการตลาดสาหรับสินค้า และผลิตภัณฑ์ รวมถึงสื่อโฆษณาต่าง ๆ (Product Information)
2. นามานุกรมของพนักงานของแต่ละหน่วยงาน (Staff Directory)
3. การจัดแบ่งหมวดหมู่ของสิ่งพิมพ์ในสถาบันบริการสารสนเทศ (Library Catalog)
4. ข่าวสารทันสมัย (Current News)
5. ข่าวสารข้อมูลทางราชการ (Governmental Information)
6. การแถลงข่าวแก่สื่อมวลชน (Press Release)
7. บทความที่เลือกสรรเฉพาะ (Selected Article Reprints)
8. ข้อมูลทางด้านบันเทิง ทีวี เกม ภาพยนตร์ เพลง และอื่นๆ

เว็บไซต์ที่ทาหน้าที่ค้น ข้อมูลมี 2 ประเภท

แบบนามานุกรมบนเว็บไซต์ (Web Directories)

เป็นเครื่องมือในการสืบค้นที่รวบรวมสารสนเทศ บนอินเทอร์เน็ต และคัดแยกสารสนเทศเหล่านั้นออกเป็นกลุ่ม ตามสาขาวิชาหรือตามหลักเกณฑ์ท่ี ผู้จัดทากาหนดขึ้น การสืบค้นสามารถทาได้โดยการเลือกกลุ่มสาขาวิชาที่ตรงกับความต้องการ และ เลือกเรื่องต่างๆ ตามหัวข้อย่อยที่นามานุกรมรวบรวมไว้ เครื่องมือประเภทนี้ทาหน้าที่คล้ายกับ บัตรรายการของห้องสมุด สามารถการสืบค้นทาได้โดยเลือกกลุ่มสาขาวิชาท่ีตรงกับเรื่องที่ต้องการ

แบบที่เป็นเครื่องมือสืบค้น (Search Engines)

เป็นเครื่องมือในการสืบค้นที่อาศัยการทางาน ของโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น โดยแต่ละตัวได้รับการพัฒนาจากบุคคลหลายๆ หน่วยงาน มีผลให้ Search Engine แต่ละตัวมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป ทั้งในด้านฐานข้อมูลที่ครอบคลุมและ วิธีการทาดรรชนีช่วยค้น

องค์ประกอบของกลไกการสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต (Search Engine)

1) ตัวสารวจหรือรวบรวมข้อมูล (Spider หรือ Crawler หรือ Robot) เป็นซอฟต์แวร์ สาหรับสารวจเว็บ โดยจะทาหน้าท่ีตระเวณไปยังเว็บไซต์ต่างๆ เพื่อทาการรวบรวม สารสนเทศ และส่งกลับมายังดรรชนีหรือฐานข้อมูลเพื่อทาการประมวลผล

2) ตัวดรรชนี (Indexer) หรือ Catalog ซึ่งเป็นฐานข้อมูลทำหน้าที่รวบรวมคำ และ ตำแหน่งทุกๆ เพจที่ตัวสารวจรวบรวมมาได้ ในส่วนน้ีจะมีโปรแกรมช่วยในการจัดทา ดรรชนีเพื่อให้ผู้ใช้สามารถค้นหาสารสนเทศได้สะดวกข้ึน

3) โปรแกรมค้นข้อมูล (Search Engine Software หรือ Query Processor) ทำหน้าท่ีเปรียบเทียบความเก่ียวข้องระหว่างเว็บไซต์และความต้องการของผู้สืบค้นว่ามี ความเก่ียวข้องมากน้อยเพียงใด จากน้ันจะจัดลำดับความเกี่ยวข้องของเว็บต่าง ๆ ออกมาแสดงผล

เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศจากอินเทอร์เน็ต

1.1 การใช้ And, Or, Not ประกอบเป็นประโยคการค้น

1.2 การใช้เทคนิคตรรกบูลลีนจากเมนูทางเลือก (Drop down menu) ว่าต้องการ สืบค้นการท่ีเกี่ยวข้องกับคาค้นอย่างไร

1.3 การใช้เครื่องหมาย + (Plus) หรือ – (Minus) กาหนดหน้าคาค้นท่ีต้องการ เครื่องหมาย + หมายถึงในผลการค้นต้องมีคาท่ีกาหนดน้ัน และเครื่องหมาย – หมายถึงไม่ต้องการให้พบคาน้ันในผลการสืบค้น กลไกท่ีลักษณะการสืบค้น

Excite, Lycos, Altavista, Google

2.1 การใช้เครื่อง กลไกส่วนใหญ่ใช้เคร่ืองหมาย * (asterisk) แทนการตัดคาส่วนใหญ่เป็นการตัดท้ายคาค้นท่ีต้องการ

3. เทคนิคการใช้คำใกล้เคียง

3.1 ADJ หมายถึง ให้คาท่ีค้นอยู่ใกล้กัน สลับลาดับคาได้

3.2 NEAR หมายถึง ให้คาที่ค้นอยู่ใกล้เคียงกันในระยะ 25 คา สลับท่ีได้

3.3 FAR หมายถึง ให้คาค้นอยู่ห่างกันได้ 25 คา หรือมากกว่าน้ัน

3.4 BEFORE หมายถึงให้คาค้นอยู่ห่างกันในระยะ 25 คา โดยต้องอยู่ตามลาดับท่ี
กาหนดเท่านั้น

4. เทคนิคการใช้รหัสกำกับคำค้น

4.1 สืบค้นจากเมนูทางเลือก (Drop down menu) ซึ่งกลไกสืบค้นหลาย ๆ กลไก กาหนดให้ผู้สืบค้นเลือกเขตข้อมูลที่ต้องการสืบค้นได้จากเมนูทางเลือก

4.2 สืบค้นโดยใช้เขตข้อมูลกากับลงในประโยคการค้น

5.1 เทคนิคการค้นด้วยเครื่องหมายคำพูด “.....” (Exact phrased search) ซึ่งผลลัพธ์ท่ีใช้เทคนิคนี้จะเป็นเว็บที่มีคาอยู่ติดกันเท่าน้ัน

5.2 เทคนิคการค้นหาคำพ้องความหมาย (Synonyms) ด้วยเครื่องหมาย ~ กล่าวคือ ถ้าใช้เครื่องหมาย ~information ในการค้นหา ผลลัพธ์ในการค้นจะ ไม่หาคำว่า information เพียงอย่างเดียวแต่จะหาคำท่ีมีความหมายคล้ายหรือ ใกล้เคียงกับคำดังกล่าว

5.3 เทคนิคการค้นกลุ่มคำหรือคำที่ไม่แน่ใจด้วยเครื่องหมาย * (Wildcard) โดย เทคนิคน้ีสามามารถใช้เครื่องหมาย * แทนคำพูดท่ีผู้ค้นไม่แน่ใจในการค้นหาแต่ ต้องใช้ภายในเครื่องหมาย “....”

5.4 เทคนิคค้นหาช่วงชุดของตัวเลข (Number range) ด้วยเครื่องหมาย .. โดย เทคนิคนี้ใช้เมื่อต้องการค้นข้อมูลที่มีช่วงตัวเลข

5.5 เทคนิคการหานิยามหรือความหมายของคำ (Definition) โดยใช้คำว่า define:
ตามด้วยคำที่ต้องการทราบความหมาย

5.6 เทคนิคการกรองสิ่งที่ค้นหา (SafeSearch Filtering) เทคนิคน้ีจะมีใช้สำหรับ Search Engine บางตัว

5.7 ควรใช้คำท่ีหลากหลายและไม่ควรใช้คำที่ค้นหาเกิน 32 คำซึ่งการใช้คำที่ หลากหลายเพื่อค้นหาจะช่วยให้ได้ผลลัพธ์ท่ีดีกว่า

เครื่องมือในการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ มีอะไรบ้าง

ประเภทเครื่องมือสืบค้นสารนิเทศ 1.1 บัตรรายการ (Card Catalog) 1.2 บัตรดัชนีวารสาร (Card Index) 2. การสืบค้นสารนิเทศด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันที่นิยมใช้มี 3 ระบบ คือ 2.1 การสืบค้นสารนิเทศด้วยระบบโอแพก (OPAC)

ข้อใดคือเครื่องมือสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต

Search Engine เป็นเว็บไซต์ที่มีเครื่องมือในการที่จะค้นหาเว็บไซต์ต่าง ๆ มาเก็บไว้ในฐานข้อมูลของ ตัวเองโดยอัตโนมัติ เช่น Google.com หรือ Altavista.com ซึ่งเครื่องมือนี้ มีชื่อเรียกว่า Search Robot จะทำหน้าที่คอยวิ่งเข้าไปอ่านข้อความจากหน้าเว็บไซต์ ของเว็บต่าง ๆ แล้วนำมาจัดลำดับคำค้นหา (Index) ที่มีในเว็บไซต์เหล่านั้น ...

เครื่องมือช่วยค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตมีกี่ประเภทอะไรบ้าง

โดยใช้บริการจากเว็บไซต์ที่ให้บริการเครื่องมือช่วยค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต เครื่องมือช่วยค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตมี 5 ประเภทใหญ่ๆ คือ (Bradley, 2002).
1. Free text Search Engines..
2. Directory Search Engines..
3. Meta Search Engines..
4. Natural-language Search Engines..
5. Resource or Site-specific Search Engines..

การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศคืออะไร

การสืบค้นสารสนเทศ เป็นกระบวนการในการ แสวงหาทรัพยากรสารสนเทศที่ได้มีการบันทึกและ เผยแพร่ไว้ในสื่อต่างๆ ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้วิธีค้นหาในรูปแบบ ต่างๆ เพื่อให้ได้สารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ ต้องการ