หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

ในการแต่งกายให้สวยงามและเหมาะสมกับบุคลิกภาพ เราจำเป็นต้องรู้จักเลือกใช้เสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายโดยยึดหลัก ดังนี้

1. รักษา ซ่อมแซมเสื้อผ้าที่ใส่ให้อยู่ในสภาพดี

2. เลือกเสื้อผ้าที่เหมาะสมกับรูปร่าง โอกาส และกาลเทศะ

3. สวมใส่เสื้อผ้าที่มีความประณีต มีความสะอาด เรียบร้อย

4. ใช้เครื่องประดับตกแต่งเพื่อให้เสื้อผ้ามีความสวยงามยิ่งขึ้น

5. อำพรางส่วนที่บกพร่อง และรู้จักเน้นในส่วนที่เป็นจุดเด่นของตนเอง

6. เลือกเสื้อผ้าให้เข้ากับสีผิวของตนเอง เช่น ผิว สีขาว สามารถเลือกเสื้อผ้าได้ทุกสี ส่วนผิวสีคล้ำ เพื่อให้ผิวดูขาวขึ้นควรเลือกสวมใส่เสื้อผ้าสีอ่อนเป็นต้น

>> พบกับสาระดีๆครั้งต่อไปได้ใน Blog นี้ของเรา และผู้ที่สนใจสินค้าสามารถติดต่อได้ที่ช่องทางการติดต่อของเรา และในเว็บไซค์หลัก www.thaivicanate.co.th ไทยวิฆเนศ รับผลิตเสื้อโปโล เสื้อยืด ชุดยูนิฟอร์ม ชุดช่าง และงานผ้าต่างๆทุกรูปแบบ สวัสดีครับ <<

เสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย เป็นสิ่งจำเป็นในชีวิตประจำวัน และเป็นสิ่งที่ช่วยเสริมบุคลิกภาพอำพรางส่วนที่บกพร่องให้แก่ผู้สวมใส่ ผู้ที่แต่งกายที่ดีจะทำให้ดูสง่างาม ซึ่งในการแต่งกายนั้น ควรคำนึงถึงความเหมาะสม โอกาส กาละเทศะ สี และลวดลาย ให้เป็นไปตามหลักการใช้สี รวมทั้งเหมาะสมกับบุคลิกภาพของตนเอง นอกจากนี้การแต่งกายควรเลือกเครื่องแต่งกายให้เหมาะสมกัน เช่น กระเป๋ารองเท้า เข็มขัด เป็นต้น

2.3.1 การเลือกใช้เสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย

การเลือกใช้เสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย ควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับบุคลิกภาพของผู้สวมใส่ เพื่อให้ผู้สวมใส่ดูดี มีสง่า ซึ่งต้องคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้

  1. ประโยชน์ในการใช้สอย ก่อนเลือกซื้อเสื้อผ้า เราควรคำนึงก่อนว่า เราจะซื้อเสื้อผ้าไปสวมใส่ในโอกาสใด มีความจำเป็นในการซื้อมากน้อยเพียงใด และเสื้อผ้าที่เราจะซื้อมีความทนทานมากน้อยเพียงใดเป็นต้น

  2. ความสะดวกสบายในการสวมใส่ ในการเลือกซื้อเสื้อผ้าควรคำนึงถึงความสะดวกในการสวมใส่ และความสบายขณะสวมใส่เสื้อผ้านั้นๆ เช่น เสื้อผ้าที่สวมใส่อยู่กับบ้านควรเป็นเสื้อผ้าที่สวมใส่สบายดูแลรักษาง่ายไม่ยุ่งยาก แต่เสื้อผ้าที่ใช้สำหรับออกงานกลางคืน ควรเป็นเสื้อผ้าที่หรูหรามีแบบที่เก๋ไก๋น่ารัก เป็นต้น

  3. ความเหมาะสมกับวัยและบุคลิกภาพ การเลือกซื้อเสื้อผ้าสวมใส่ ควรเลือกให้เหมาะสมกับวัยและบุคลิกภาพของตนเอง ดังนี้

  1. การเลือกสวมใส่เสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายให้เหมาะสมกับสีผิวเช่นการเลือกเสื้อผ้าให้เหมาะสมกับสีผิวของผู้สวมใส่

ผู้ที่มีผิวคล้ำ  ควรหลีกเลี่ยงสีหม่น สีปนเทา หรือสีโทนร้อน เพราะจะทำให้มองดูผิวคล้ำมากขึ้น ควรเลือกสวมใส่เสื้อผ้าที่มีสีค่อนข้างอ่อนๆ เช่น สีครีม สีฟ้าอ่อนๆ

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.11 การเลือกใช้เสื้อผ้าสำหรับผู้ที่มีผิวคล้ำหรือผิวสีแทน

ที่มา : https://images.app.goo.gl/z5YPdyjZq91vBjj7A

ผู้ที่มีผิวสีขาว  สามารถสวมเสื้อผ้าได้ทุกสี ขึ้นอยู่กับความชอบของแต่ละบุคคล

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.12 การเลือกใช้เสื้อผ้าสำหรับผู้ที่มีผิวคล้ำหรือผิวขาว

ที่มา : https://images.app.goo.gl/UWWCGmzjxwnx6ipc6

ผู้ที่มีผิวสองสี  เลือกสวมใส่เสื้อผ้าสีอ่อนได้ทุกสี เช่น สีชมพู สีเหลือง ซึ่งจะทำให้แลดูอ่อนหวานมากขึ้น

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.13 การเลือกใช้เสื้อผ้าสำหรับผู้ที่มีผิวคล้ำหรือผิวสองสี

ที่มา : https://images.app.goo.gl/5AW7iZWKd9VnkZX19

  1. การเลือกเสื้อผ้าให้เหมาะสมกับรูปร่าง

ผู้มีรูปร่างผอม  ควรเลือกสวมใส่เสื้อผ้าสีอ่อน เช่น สีชมพูอ่อน สีเขียวอ่อน เป็นผ้าที่มีลายดอกใหญ่ๆ หรือมีเส้นลายแนวขวาง เพื่อให้รูปร่างดูใหญ่ขึ้น และไม่ควรใส่เสื้อรัดรูป

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.14 การเลือกใช้เสื้อผ้าสำหรับคนรูปร่างผอม

ที่มา : https://images.app.goo.gl/ep88u2QFDnaQYiwC7

ผู้มีรูปร่างสูงใหญ่ ควรเลือกสวมใส่เสื้อผ้าที่มีเส้นลายแนวยาว เพื่อให้รูปร่างดูสูงและเพรียวขึ้น

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.15 การเลือกใช้เสื้อผ้าสำหรับคนรูปร่างใหญ่

ที่มา : https://images.app.goo.gl/kjAwqYCKLZiKYago7

ผู้มีรูปร่างอ้วน ควรเลือกสวมใส่เสื้อผ้าสีเข้ม เช่น สีม่วง สีน้ำเงิน เพื่อให้รูปร่างดูเล็กลง ผ้าที่มีลายดอกเล็กๆ หรือมีเส้นลายแนวยาวเพื่อช่วยให้รูปร่างดูสูงขึ้น

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.16 การเลือกใช้เสื้อผ้าสำหรับคนรูปร่างอ้วน

ที่มา : https://images.app.goo.gl/ypjK1HdufaNK8obG9

ผู้มีรูปร่างเล็กหรือคนเตี้ย ควรเลือกสวมใส่เสื้อผ้าที่มีลวดลายตามแนวยาว เพื่อให้ดูสูงเพียวขึ้น ปกเสื้อที่ใส่ไม่ควรใหญ่เกินไป เพราะจะทำให้คอสั้นและดูเตี้ยลง

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.17 การเลือกใช้เสื้อผ้าสำหรับคนตัวเล็ก

ที่มา : https://images.app.goo.gl/zJeuARLgcpz9CvddA

4.  การเลือกเสื้อผ้าให้เหมาะกับวัย

  1. วัยเด็ก เสื้อผ้าในวัยเด็ก ควรเป็นเสื้อผ้าที่มีสีสดใส รูปแบบเก๋ไก๋ น่ารัก ไม่รุ่มร่าม สวมใส่แล้วสามารถถอดออกง่าย สวมใส่สบายตัว ไม่คับหรือหลวมจนเกินไป

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.18 การเลือกใช้เสื้อผ้าสำหรับเด็ก

ที่มา : https://images.app.goo.gl/BSpt7n2KPv3qmKNG8

  1. วัยรุ่น เสื้อผ้าของเด็กวัยรุ่น ควรเป็นเสื้อผ้าที่มีสีสดใส หรือสีอ่อนๆ ก็ได้ แบบของเสื้อผ้าจะเป็นไปตามความนิยมของแต่ละบุคคล เช่น บางคนชอบแต่งตัวแบบน่ารัก เช่น สวมใส่กระโปรงและเสื้อผ้าสีหวานๆ เรียบร้อย บางคนแต่งกายแบบคล่องแคล่วว่องไว สะดวกต่อการทำงาน เช่น สวมใส่กางเกงและเสื้อที่สุภาพ เป็นต้น แต่ควรเลือกแบบที่สุภาพและไม่รัดรูป หรือเน้นรูปร่างของผู้สวมใส่มากเกินไป

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.19 การเลือกใช้เสื้อผ้าสำหรับวัยรุ่น

ที่มา : https://images.app.goo.gl/infHtnM9Pya5kbya8

  1. วัยผู้ใหญ่ เสื้อผ้าที่เหมาะสมกับวัยนี้ มักนิยมสวมใส่เสื้อผ้าที่มีสีสุภาพเรียบร้อย เพื่อให้ดูสง่างามเหมาะสมกับวัยและบุคลิกภาพของตนเอง

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า
หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.20 การเลือกใช้เสื้อผ้าสำหรับวัยผู้ใหญ่

ที่มา : https://images.app.goo.gl/hzdA769MeXfTgggj6

5. ราคา ก่อนการเลือกซื้อเสื้อผ้าควรสำรวจราคาของเสื้อผ้าหลายๆแห่ง และเมื่อสำรวจแล้วก็พิจารณาเลือกซื้อแหล่งที่ถูกที่สุด และมีคุณภาพดีที่สุด 

2.3.2 การเลือกซื้อเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายให้เหมาะสมกับโอกาส

การเลือกซื้อเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายให้เหมาะสมกับโอกาสและกาลเทศะ มีหลักการในการเลือกซื้อ ดังนี้

  1. เสื้อผ้าสำหรับสวมใส่ในงานมงคลต่างๆ หรืองานรื่นเริง เช่น งานแต่งงาน งานวันเกิด งานพบปะสังสรรค์กับเพื่อน ควรเลือกสวมใส่เสื้อผ้าที่มีสีสดใส แบบและลวดลายผ้าเหมาะสมกับรูปร่างและวัยของผู้สวมใส่ด้วย ถ้าเป็นงานกลางคืน ควรใส่เสื้อผ้าที่มีรูปแบบหรูหรา อาจตกแต่งด้วยเลื่อมมีประกายแวววาว เพื่อเพิ่มสีสันให้ดูสวยงาม เนื้อผ้าควรมีลักษณะมันวาว ผิวสวย เป็นต้น

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.21 การเลือกใช้เสื้อผ้าสำหรับสวมใส่รวมงานมงคลและงานรื่นเริงต่างๆ

ที่มา : https://images.app.goo.gl/yh6eALq5FYN6Evnd9

  1. เสื้อผ้าสำหรับสวมใส่ไปติดต่อสถานที่ราชการ ควรเลือกเสื้อผ้าที่ดูสุภาพเรียบร้อย สีสันไม่ฉูดฉาดมาก โทนสีอ่อนๆ เช่น สีขาว ครีม ชมพูอ่อน สีฟ้าอ่อนๆ เพื่อให้ดูสง่างามน่าเชื่อถือ และเป็นการเคารพสถานที่และบุคคลที่เราจะไปติดต่อด้วย

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า
หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.22 การเลือกใช้เสื้อผ้าสำหรับสวมใส่ไปติดต่อสถานที่ราชการ

ที่มา : https://images.app.goo.gl/zJ2rZeVn7V6rvSAP9

  1. เสื้อผ้าสำหรับสวมใส่ไปเที่ยว เช่น ไปเที่ยวภูเขา ไปเที่ยวชายทะเล ไปสวนสนุก ไปเที่ยวตามห้างสรรพสินค้าต่างๆ ควรเป็นเสื้อผ้าที่สวมใส่แล้วเกิดความคล่องตัว เคลื่อนไหวได้ง่าย และสะดวกสบายแต่ไม่ควรสั้นหรือรัดรูปจนเกินไป รูปแบบมีลักษณะตามสมัยนิยม

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.23 การเลือกใช้เสื้อผ้าสำหรับสวมใส่ไปเที่ยว

ที่มา : https://images.app.goo.gl/2MpJMq7hpkVb2sk68

  1. เสื้อผ้าสำหรับสวมใส่ไปเล่นกีฬา ควรเลือกชุดกีฬา และรองเท้าให้เหมาะสมกับกีฬาแต่ละประเภท เนื้อผ้าของเสื้อผ้าควรมีความยืดหยุ่นดี และระบายอากาศได้ง่าย สวมใส่สบายสะดวกและปลอดภัยทั้งในขณะเล่นกีฬาและพักผ่อนอริยาบถ เป็นต้น

  1. เสื้อผ้าสำหรับสวมใส่ไปงานศพ ควรเลือกเสื้อผ้าที่เรียบและสุภาพซึ่งเป็นประเพณีนิยมใส่เสื้อผ้าที่มีสีดำ หรือสีขาวเท่านั้น

 2.3.3  การซ่อมแซม  การดัดแปลง และการตัดเย็บเสื้อผ้า 

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.24 การซ่อมแซมและดัดแปลงเสื้อผ้า

ที่มา : https://images.app.goo.gl/ePqyjc7gzEk5rdkX8

  1. การซ่อมแซมเสื้อผ้า เป็นการทำให้เสื้อผ้าสามารถอยู่กับเราได้นาน นอกจากนี้ยังช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในครอบครัวได้อีกด้วย ในการซ่อมแซมเสื้อผ้ามีวิธีการหลากหลาย เช่น

  1. การเนา เป็นวิธีการเบื้องต้นของการเย็บผ้าก่อนที่จะนำไปสอยหรือเย็บตะเข็บอื่นๆ เพื่อยึดผ้ให้ติดกันชั่วคราว เพื่อให้ง่ายสำหรับการเย็บในขั้นตอนต่อไป เมื่อเย็บผ้าเสร็จแล้วก็จะเลาะได้ที่นาเอาออก เช่น การเนาตะเข็บ การเนาชายเสื้อและชายกระโปรง การเอากระเป๋าให้ติดกับตัวเสื้อ เป็นต้น การเนามีหลายชนิดแต่ละชนิดมีประโยชน์และการใช้ที่แตกต่างกัน วิธีการเนาให้แทงเข็มขึ้นลงธรรมดาตามแนวที่ต้องการเย็บ การเนามี 3 แบบ คือ การเนาเท่ากัน  การเนาไม่เท่ากัน และการเนาเฉียง

(ก) การเนาเท่ากัน คือ การเย็บด้วยมือช่วยยึดผ้า 2 ชิ้น หรือมากกว่านั้นให้ติดกัน มีความถี่และความห่างของฝีเข็มเสมอกันทั้งด้านบนและด้านล่าง ฝีเข็มห่างประมาณ 0.7 cm ถึง 1 cm  ค่าน้ำ ด้านเอาหาร ด้านเอาห่างกันมาก ด้านเอาห่างกันมากกว่านี้จะไม่สามารถบังคับให้ ชิ้นให้ บังคับผ้าทั้ง 2 ชิ้นให้อยู่คงที่ได้ การเนาเท่ากันเหมาะสำหรับการเนาตะเข็บ การเนาชายเสื้อและ

ชายกระโปรงก่อนที่จะนำไปสอย เป็นต้น

วิธีการเนาเท่ากัน 

  • ซ่อนผ้า 2 ชิ้นเข้าด้วยกัน ตรึงด้วยเข็มหมุด

  • นำเข็มร้อยด้ายเนา ขมวดปมปลายด้ายเส้นเดียว

  • แทงเข็มขึ้นทางด้านขวามือ โดยแทงเข็มขึ้นลงให้ห่างกันประมาณ 1 เซนติเมตรตลอดแนวที่ต้องการให้ผ้า 2 ชิ้นติดกัน  ชิ้นติดกันจะ ชิ้นติดกันจะมองเห็นผีเข็มเสมอกันทั้งบนและ

  • ก่อนตัดด้ายเนาถอยหลัง 1 ครั้งแล้วตัดด้ายออก

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.25 การเนาเท่ากัน

ที่มา : https://images.app.goo.gl/MRJYoLYs1PYGBLA8A

ที่มา : http://youtube.com/watch?v=omRJdh8_gjQ

(ข) การเนาไม่เท่ากัน คือ การเนาที่ใช้สีเข็มฉีดและสีเข็มห่างสลับกัน โดยสีเข็มห่างจะอยู่ด้านนอก ส่วนสีเข็มฉีดจะอยู่ด้านใน การที่สีเข็มที่อยู่ด้านในจะทำให้เนื้อผ้าแน่น ส่วนสีเข็มห่างซึ่งอยู่ด้านนอก

จะช่วยทำให้เป็นแนวที่จะเย็บจากตามได้ง่าย โดยทั่วไปสีเข็มห่างจะมีความห่างประมาณ 1 เซนติเมตรและสีเข็มฉีดจะมีความห่างประมาณ 0.5 cm

วิธีการเนาไม่เท่ากัน 

  • ซ่อนผ้า 2 ชิ้นเข้าด้วยกันตรึงด้วยเข็มหมุด

  • นำเข็มร้อยด้ายเนา ขมวดปมปลายด้ายเส้นเดียว

  • แทงเข็มขึ้นทางด้านขวามือ โดยแทงเข็มขึ้นลงให้ห่างกันประมาณ 1 เซนติเมตรแล้วแทงเข็มขึ้นให้สีเข็มห่างประมาณ 0.5 cm  สลัดเช่นนี้ไปเรื่อยๆตลอดแนวที่ต้องการให้ผ้า 2 ชิ้นติดกันแนวยาวจะอยู่ด้านบนแนวสั้นจะอยู่ด้านล่าง

  • ก่อนตัดด้ายเนาถอยหลัง 1 ครั้งแล้วตัดด้ายออก

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.26 การเนาไม่เท่ากัน

ที่มา : https://images.app.goo.gl/oABu3DFZUmXBZFm96

 ที่มา : https://youtu.be/lbWeR-fdAcw

(ค) การเนาเฉียง คือ การเนาฝีเข็มแทงไปตามเนื้อผ้า โดยใช้เนาผ้า 2 ชิ้นให้อยู่ด้วยกัน เช่น ถ้าชั้นนอกกับผ้าชั้นรองปก สาบเสื้อ หรือใช้ noun ยึดส่วนที่กำลังเย็บ เช่น เรายึดรังดุมกุ๊นด้วยผ้าเพื่อ

ไม่ให้แยกเสียรูป 

วิธีการเนาเฉียง 

  • นำเข็มร้อยได้นาน ขมวดปมปลายด้ายเส้นเดียว

  • แทงเข็มจากผ้าอีกชิ้นนึงเสียงไปยังถ้าอีกชิ้นนึง ให้สีเข็มห่างกันประมาณ 1 เซนติเมตร

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า
หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.27 การเนาเฉียง

ที่มา : https://images.app.goo.gl/yXvhFW2KphUTbW3x5

ที่มา : http://youtube.com/watch?v=6u-X5ArQxgY

  1. การด้น เป็นการเย็บด้วยมือ สามารถใช้แทนการเย็บด้วยจากได้เพราะมีความทนทานมาก ได้แก่ การด้นตะลุย การด้นถอยหลัง

(ก)  การด้นตะลุย วิธีการทำคล้ายกับการเนาเป็นการเย็บผ้า 2 ชิ้นให้ติดกันอย่างถาวรโดยแทงเข็มขึ้นและลงให้สีเข้มสีที่สุดใช้เย็บทั่วไป

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.28 การด้นตะลุย

ที่มา : https://images.app.goo.gl/hmfaZ6dPwEMQN2Po6

ที่มา : http://youtube.com/watch?v=2zr4k4R8MF4

(ข) การด้นถอยหลัง เป็นการเย็บผ้า 2 ชนิดให้ติดกัน  ชนิดให้ติดกันโดย ชนิดให้ติดกันโดยการแทงเข็ม ชนิดให้ติดกันโดยการแทงเข็มขึ้นและ ชนิดให้ติดกันโดยการแทงเข็มขึ้นและย้อน ชนิดให้ติดกัน

โดยการแทงเข็มขึ้นและย้อนกลับไป ชนิดให้ติดกันโดยการแทงเข็มขึ้นและย้อนกลับไปแทงเข็มด้านหลัง ให้สีเข้มมีความยาวเพียงพอ Thank you เขียนลงแล้วดึงได้ขึ้น ทำเช่นนี้ไปจนสุดตะเข็บ

ตะเข็บชนิดนี้มีความทนทานมาก ด้านหน้าจะมีลักษณะฝีเข็มเหมือนกับการเย็บด้วยจักร ด้านหลังจะมีลักษณะฝีเข็มเหมือนกับการเย็บด้วยจักร ส่วนด้านหลังได้เย็บซ้อนกันแน่นเหมาะสำหรับ

เย็บผ้าทั่วไปที่ต้องการความทนทานเหนียวแน่น 

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า
หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.29 การด้นถอยหลัง

ที่มา : https://images.app.goo.gl/VaqAnVcP23JiwKPb9

ที่มา : http://youtube.com/watch?v=P_m1E2a0XzM

  1.  การสอย เป็นการเย็บด้วยมือที่มองเห็นรอยเย็บทางด้านนอกน้อยที่สุด นิยมใช้สอยชายเสื้อ  ชายกระโปรง ใช่ค่ะกางเกง หรือชายผ้าอื่นๆที่ต้องการความสวยงามประณีต การสอยมีหลายชนิดที่นิยมใช้ทั่วไป คือ การสอยซ่อนด้ายกับการสอยสลับฟันปลา นิยมใช้เย็บตะเข็บที่ขอบแขนเสื้อ เป็นต้น

(ก) การสอยซ่อน เป็นการสอยที่มองเห็นเส้นด้ายเย็บเขียวเล็ก โดยแทงเข็มให้เข็มสอดเข้าไปในรอยสันทบของผ้าให้ว่างช่วงละประมาณ 1 เซนติเมตร ก่อนแทงเข็มออกสะกิดเส้นด้ายจากผ้าชิ้นล่าง

ประมาณ 1 ถึง 3 เส้นแล้วสอดเข็มเข้าไปในสันทุบผ้า แทงเข็มออกสะกิดเส้นด้ายจากผ้าชิ้นล่าง ทำเช่นนี้ไปเรื่อยๆจนสิ้นสุดแนวที่ต้องการสอย

วิธีการสอยซ่อนด้าย

  • พับริมผ้าที่ต้องการจะสอย แล้วใช้สีเข็มสอดเข้าไปในสนามทบผ้า ดึงเข็มขึ้นสะกิดผืนผ้าด้านล่าง 1-2 เส้นด้าย แล้วดึงได้ให้สุด จนตรึงแน่น

  • สอดเข็มเข้าไปในสันทบผ้า แล้วดันเข็มเข้าไปด้านหน้า 0.4 หรือ 0.7 cm ดึงเข็มขึ้น  แล้วดึงได้ให้สุดจนตึงแน่น ทำซ้ำขั้นตอนนี้ไปเรื่อยๆจนสุดแนวที่ต้องการสอย

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า
หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.30 การสอยซ่อนด้าย

ที่มา : https://images.app.goo.gl/jRzKAB4pm1PeseEo6

ที่มา : https://youtu.be/G3J7O12ocIs

(ข) การสอยฟันปลา เป็นการสอยที่มองเห็นเส้นด้ายทางด้านผิดมากกว่าด้านถูก โดยแทงเข็มสะกิดเนื้อผ้าด้านบนและด้านล่างแล้วดึงเข็มดึงได้ตาม  ทำเช่นนี้ไปเรื่อยๆจนสิ้นสุดการสอน การสอย

ชนิดนี้เป็นการสอนที่ให้ความทนทาน นิยมใช้สอยกางเกงหลวม เพื่อการเย็บตรงตำแหน่งให้ใช้ด้ายเย็บตรงกลางฐานก้านกระดุม กับตัวเสื้อ

วิธีการสอยฟันปลา 

  • เริ่มเย็บจากด้านซ้ายของผ้าชิ้นล่าง แทงเข็มขึ้นจากด้านล่าง ผูกปมซ่อนไว้ด้านล่าง

  • ปลาเค็มลงผ้าอีกชิ้นที่อยู่ด้านบน แล้วแทงเข็มย้อนกลับ 1/ 8 นิ้ว แล้วดึงเข็มขึ้นด้านบน

  • ปักเข็มกลับมายังผ้าชิ้นล่าง โดยให้ไหมปักผ้าทับไหมที่ปักไว้ก่อนหน้านี้ในแนวทะแยง  จากนั้นก็แทงเข็มขึ้นห่างจากจุดที่ปัก 1/ 8 นิ้ว

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

ที่มา : https://images.app.goo.gl/z13Ve5Z3sTm9Q3Hx6

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

ที่มา : https://images.app.goo.gl/7Ec6gtqCACZT9oBUA

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า
หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

ที่มา : https://images.app.goo.gl/HHiTe6EhQhYWX1ui6

ที่มา : https://youtu.be/5lPpxRgSjTQ


  1. หลักการการดัดแปลงและตกแต่งเสื้อผ้า

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.31 การสอยซ่อนด้าย

ที่มา : https://images.app.goo.gl/3uutEdNMhLk4R8H18

การดัดแปลงและการตกแต่งเสื้อผ้า เสื้อผ้าที่เราสวมใส่มีกาลสมัยไปตามกาลเวลา ทำให้ต้องมีวิธีการตกแต่งแปลงเสื้อผ้า เพื่อให้ได้เสื้อผ้าที่ดูทันสมัย ดูแปลกใหม่และสวยงามขึ้นนอกจากนี้ยังเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายในการไปซื้อเสื้อผ้าตัวใหม่ การดัดแปลงและการตกแต่งเสื้อผ้าจะมีวิธีการที่ แตกต่างกันไปตามความคิดสร้างสรรค์ของแต่ละบุคคล

หลักการการดัดแปลงและการตกแต่งเสื้อผ้า

  1. เลือกใช้วิธีการดัดแปลงและตกแต่งเสื้อผ้าให้เหมาะสมเช่น เสื้อผ้าที่ชำรุดเป็นรอยขาดอาจจะถูกหนามเกี่ยวขาดเป็นรูปปากฉลาม ถูกเตารีดร้อนจัดเป็นรอยไหม้ ก่อนที่จะทำการซ่อมแซมรอยขาดเหล่านี้ จะต้องตัดรอยขาดนั้นทิ้งแล้วเปลี่ยนผ้าใหม่เข้าไปแทน 

  2. ออกแบบเสื้อผ้าให้เหมาะสมกับวัยของผู้ใช้ เช่น เสื้อผ้าผู้ใหญ่จากเดิมเป็นเสื้อคอกลมแขนสั้นธรรมดา เมื่อนำมาดัดแปลงเป็นเสื้อผ้าสำหรับเด็ก ก็ควรคิดลูกไม้จีบระบาย เปลี่ยนแขนทรงกระบอกให้เป็นแขนพอง ทำโบว์ติดที่คอเสื้อหรือผูกเอว จะทำให้แลดูเหมาะสมกับวัยเด็กมากขึ้น

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.32 การออกแบบเสื้อผ้าให้เหมาะกับผู้ใช้

ที่มา : https://images.app.goo.gl/ndxy5rdHxRo4fwZUA

  1. เลือกใช้อุปกรณ์ตกแต่งให้เหมาะสมกับเนื้อผ้า เช่น เลือกกระดุมและสีแบบเดียวกันกับเม็ดเดิมที่หลุดหายไป ใช้ได้สีเดียวกันกับผ้าที่จะซ่อมแซม ใช้เศษผ้าที่มีเส้นใยชนิดเดียวกันมาปะกับรอยผ้าที่ขาด เป็นต้น

  2. คำนึงถึงความคุ้มค่า คือ  ประโยชน์ที่จะได้รับจากการซ่อมแซมดัดแปลงเสื้อผ้าชิ้นนั้นๆ คุ้มค่ากับ เวลา เงิน แรงงาน ที่ต้องเสียไปหรือไม่ ถ้านำเสื้อผ้าที่ซ่อมแซมแล้วไปสวมใส่ ควรนำสิ่งตกแต่งเสื้อผ้าที่มีอยู่แล้วมาใช้ ไม่ควรซื้อสิ่งใหม่ที่มีราคาแพงก็จะช่วยประหยัดได้อีกทางหนึ่ง

วิธีการตกแต่งและดัดแปลงเสื้อผ้า

  1. การปะ การปะเพื่อการตกแต่ง เป็นการนำผ้า หรือวัสดุอื่นๆ ที่เป็นลวดลาย หรือต้องการให้เกิดลวดลายมาวางทับบนเสื้อผ้า และปักริมโดยวิธีใดวิธีหนึ่งตามต้องการ

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า
หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.33 การปะ

ที่มา : https://images.app.goo.gl/UEeKMsKdwwpX8K149

ที่มา : https://youtu.be/FYE023tVxx4


  1. การปัก เป็นการตกแต่งเสื้อผ้าโดยใช้วัสดุต่างๆ มาเย็บบนผ้าเพื่อให้เกิดลวดลาย มีทั้งการปักด้วยไหม ด้าย และปักด้วยวัสดุอื่นๆ เช่น เปลือกหอย กระดูกสัตว์ เมล็ดพืชแห้ง ลูกปัด เป็นต้น

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า
หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.34 การปัก

ที่มา : https://images.app.goo.gl/96w1bYGXBmKz2Xw88

ที่มา : https://youtu.be/6NCU4siBhII


  1. การกุ๊น เป็นการนำผ้าเฉลียงมาเย็บหุ้มริมผ้าเพื่อให้เกิดลวดลาย

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า
หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.35 การกุ๊นกระเป๋า

ที่มา : https://images.app.goo.gl/wqzXwtVb3wmvRdur9

ที่มา : https://youtu.be/VKsaevONb0Y


  1. การตัดเย็บเสื้อผ้า การตัดเย็บเสื้อผ้ามีทั้งการตัดเย็บเสื้อผ้าด้วย มือด้วยจักรเย็บผ้า และการใช้จักรอุตสาหกรรม การตัดเย็บเสื้อผ้าทุกคนควรจะมีความรู้ในเรื่องการใช้อุปกรณ์ต่างๆ เพราะงานตัดเย็บเสื้อผ้าเป็นงานที่ต้องใช้ความประณีต ซึ่งการใช้เครื่องมือที่ถูกต้องจะช่วยให้ผู้ที่ปฏิบัติงานเกิดความละเอียดถี่ถ้วนมากขึ้น

  1.  อุปกรณ์ในการตัดเย็บเสื้อผ้า

(ก)  กรรไกรเป็นสิ่งจำเป็นและสำคัญมากในการตัดเย็บเสื้อผ้าอย่างน้อยควรมีไว้ประมาณ 2 เล่มเพื่อใช้สำหรับตัดกระดาษและตัดผ้า

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า
หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.36  กรรไกรตัดผ้า

ที่มา : https://images.app.goo.gl/uBv4RcGuSLfdAmK46

(ข)  เข็มจักร เข็มมือ และเข็มหมุด เข็มที่ใช้เย็บมือมีหลายขนาดควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงาน เช่นเข็มเบอร์ 7 ใช้สำหรับเย็บผ้าที่มีความหนา

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า
หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า
หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.37  เข็มจักร เข็มมือ เข็มหมุด

ที่มา : https://images.app.goo.gl/9p88SkpKKsDKuSnb9

(ค) สายวัด สายวัดตัวที่ดีต้องไม่หด ไม่ยืด มีมาตราส่วน มาตราส่วนเป็นนิ้วและเซนติเมตร

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.38  สายวัดตัว

ที่มา : https://images.app.goo.gl/AVCLYHqG8nzcvYbKA

(ง) ลูกกลิ้งชนิดฟันเลื่อย ใช้กลิ้งกระดาษกดรอยให้สีกระดาษติดผ้าชนิดปลายแหลมและโคมใช้กลิ้งให้ทะลุผ้า

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า
หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.39  ลูกกลิ้งชนิดฟันเลื่อย

ที่มา : https://images.app.goo.gl/sk5j7CE8GukEbW9m9

(จ ) จักร เป็นเครื่องมือที่ใช้ตัดเย็บ ดัดแปลง และซ่อมแซมเสื้อผ้าหรือเครื่องตกแต่งสามารถทำได้สะดวก รวดเร็ว ประเทศ ช่วยทุ่นแรงและเวลา

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า
หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.40  จักรเย็บผ้า

ที่มา : https://images.app.goo.gl/GeNC12xoD64X4GwC6

(ฉ ) ด้าย มีให้เลือกหลากหลายแบบและมีหลายสี ขึ้นอยู่กับการใช้งาน เช่น ได้สำหรับงานเย็บ ด้ายสำหรับงานปัก ด้ายสำหรับงานถัก ด้ายแต่ละชนิดมีหลากหลายสี เช่น สีขาว สีดำ สีน้ำเงิน สีแดง

เป็นต้น

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า
หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า
หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.41 ด้ายสำหรับเย็บผ้า สำหรับงานปัก งานถัก

ที่มา : https://images.app.goo.gl/GeNC12xoD64X4GwC6

(ช ) กระดาษสร้างแบบ กระดาษปรู๊ฟเนื้อเหนียวสีขาวหม่นขนาด 31 x 40 นิ้ว สำหรับสร้างแพทเทิร์นตัดเย็บเสื้อผ้า

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า
หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.42 กระดาษสร้างแบบเสื้อ

ที่มา : https://images.app.goo.gl/V5P1UcZmk6vsvMpA8

  1.  ขั้นตอนการตัดเย็บเสื้อผ้า

(ก)  ขั้นตอนการวัดตัวเป็นการวัดขนาด เพื่อตรวจสอบความกว้างความยาว ความหนาของสัดส่วน ซึ่งการวัดตัวนี้สำคัญมาก เพราะว่าจะส่งผลถึงลักษณะของผลสำเร็จ เช่น ผลงานได้สัดส่วน สวมใส่

ได้สวยงามเหมาะสม หรือผลงานดึงรั้งสวมใส่ไม่ได้ 

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า
หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า
หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า
หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า
หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า
หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า
หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า
หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า
หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.43 วิธีวัดตัว

ที่มา : https://images.app.goo.gl/3MX7E67Hjmy7P68Q7

(ข)  ขั้นตอนการสร้างแบบและแยกแบบ ทำได้โดยการนำทรัพย์ส่วนที่ได้วัดขนาดไว้ หรือการออกแบบมาสร้างแบบตัดหรือแพทเทิร์น ( Patent) ลงกระดาษสร้างแบบตามกระบวนการของการสร้าง

แบบเสื้อผ้าแต่ละชนิด เช่น สร้างแบบตัดเสื้อ สร้างแบบตัดกระโปรง สร้างแบบตัดกางเกง

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า
หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.44 การสร้างแบบในการตัดเย็บเสื้อผ้า

ที่มา : https://images.app.goo.gl/MuZXoUuzbzmGb8xR6

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.45 การแยกแบบในการตัดเย็บเสื้อผ้า

ที่มา : https://images.app.goo.gl/34G8F2NntUAm1jSY7

(ค) ขั้นตอนการคำนวณผ้าและการเลือกผ้า การตัดเย็บเสื้อผ้านั้นเราต้องคำนวณผ้าให้ถูกต้อง เพื่อความประหยัดและเลือกผ้าให้เหมาะสมกับประโยชน์ใช้สอย โดยคำนึงถึงคุณสมบัติของผ้า ซึ่งผลิต

จากเส้นใยแต่ละชนิดเช่น ผ้าฝ้าย จะเป็นภาพที่ได้จากเส้นใยของเมล็ดฝ้าย ซับน้ำได้ดี ทนต่อความร้อน แต่ยับง่าย ผ้าไนลอน เป็นผ้าใยสังเคราะห์ ไม่ทนต่อความร้อนและแสงแดด จับจีบได้คงรูป

(ง) ท่านจะเตรียมอุปกรณ์ เป็นการจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ และสถานที่ที่เกี่ยวข้องกับการเย็บทุกชนิด เช่น เข็ม ด้าย กรรไกร ผ้า จักรเย็บผ้าบริเวณปฏิบัติงานแสงสว่าง เป็นต้น 

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า
หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.46 การเตรียมอุปกรณ์ในการตัดเย็บ

ที่มา : https://images.app.goo.gl/qoYQskGspqtRqWrD9

(จ) ขั้นตอนการวางแบบตัดและตัดผ้า ในขั้นตอนนี้ควรระมัดระวังโดยการอ่านรายละเอียดบนแบบตัด การทำเครื่องหมายต่างๆ ที่เขียนไว้และกดรอยผ้า เส้นเย็บทุกเส้นเพื่อเป็นเครื่องหมาย หรือ

เป็นเส้นแนวในการเย็บ

 

หลักการ เลือกใช้ วัสดุ ให้เหมาะสมกับ รูป แบบ เสื้อผ้า

รูปที่ 2.47 การวางแบบตัดเย็บเสื้อผ้า

ที่มา : https://images.app.goo.gl/SJY5TV9jxXistyDq8

(ฉ) ขั้นตอนการตรวจสอบคุณภาพ เป็นการตรวจสอบคุณภาพของงานซึ่งในการตรวจสอบคุณภาพของงาน ตัดเย็บเสื้อผ้าที่สวยงามไม่ผิดพลาดควรตรวจสอบทั้งขณะทำการเย็บ เช่น การเนา