ครูเฉลย ศุขะวณิช ประวัติการศึกษา

เฉลย ศุขะวณิช เกิดที่กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 11 พฤศจิการยน พ.ศ. 2447 ตรงกับวันศุกร์ขึ้น 4 ค่ำเดือน 12 ปีมะโรง ร.ศ. 123 เป็นบุตรของนายเงินและนางเน้ย แต้สุข เดิมท่านชื่อกิมฮวย ต่อมาเมื่อเติบโตเป็นสาวได้รับพระราชทานนามสกุลจาก สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมหลวงนครราชสีมา ว่า รัชฏพฤกษ์ ซึ่งแปลว่าต้นไม่เงิน นัยว่าท่านเป็นหน่อเนื้อ ซึ่งเกิดจากนายเงิน แต้สุขผู้บิดา ท่านมีพี่น้องร่วมบิดามารดา 6 คนดังนี้

1. นางบุญหนุน  แต้สุข (ไพรีพ่ายฤทธิ์)

4. นางเฉลา  แต้สุข (จันทรลักษณ์)

5. นางกิมฮวย (เฉลย)  แต้สุข (รัชฏพฤกษ์ - ศุขะวณิช)

6. นายเฉลิมศักดิ์  แต้สุข (วงศ์เทวัญ)

(ทั้ง 6 ท่านที่ได้กล่าวนามมานี้ ได้ถึงแก้กรรมหมดแล้ว)

อ้างอิงหนังสือ: วิเคราะรูปแบบความเป็นครูสู่กระบวนการถ่ายทอดควารู้ของผู้เชี่ยวชาญนาฏศิลป์ไทย ครูเฉลย  ศุขะวณิช

นาฏศิลป์ไทย กับ

ครูเฉลย ศุขะวณิช

จั ด ทำ โ ด ย

นาย พสิษฐ์ ใช้ศรีทอง

ม.5/2 เลขที่ 22

คำนำ

รายงานเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของวิชา นาฏศิลป์ไทย
เพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเรื่องราวของหนึ่งในบุคคลที่สำคัญใน
วงการนาฏศิลป์ไทย นั่นคือ ครูเฉลย ศุขะวณิช โดยรายงานเล่มนี้มี
เนื้อหาเกี่ยวกับ ประวัติและผลงานของ ครู เฉลย ศุขะวณิช

ผู้จัดทำรายงานเล่มนี้หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานเล่มนี้จะก่อเกิด
ประโยชน์แก่ผู้อ่านเกี่ยวกับครู เฉลย ศุขะวณิช เป็นอย่างดี

ผู้จัดทำ

นาย พสิษฐ์ ใช้ศรีทอง

1 ครู เฉลย ศุขะวณิช

ประวัติ

นางเฉลย ศุขะวณิช เกิดเมื่อวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน
พุทธศักราช ๒๔๔๗ เป็นผู้เชี่ยวชาญการสอน และ
ออกแบบนาฏศิลป์ไทย แห่งวิทยาลัยนาฏศิลป์
กรมศิลปากร เป็นศิลปินอาวุโส

ซึ่งมีความรู้ความสามารถสูงในกระบวนท่ารำทุกประเภท เป็นผู้อนุรักษ์แบบแผนเก่า
และยังได้สร้างสรรค์และประดิษฐ์งานด้านนาฏศิลป์ขึ้นใหม่มากมายหลายชุดซึ่งกรม
ศิลปากรและวงการนาฏศิลป์ทั่วประเทศได้ถือเป็นแบบฉบับของศิลปะการร่ายรำ
สืบทอดต่อมาจนถึงทุกวันนี้ ทางราชการได้มอบหมายให้เป็นผู้วางรากฐานจัดสร้าง
หลักสูตรการเรียนการสอนวิชานาฏศิลป์ตั้งแต่ระดับต้นจนถึงขั้นปริญญา นิเทศการ
สอนในวิทยาลัยนาฏศิลป์ทุกสาขาทั้งในส่วนกลางและภูมิภาค ถ่ายทอดวิชาความรู้ทาง
ด้านนาฏศิลป์แก่นักศึกษามาตลอดเวลากว่า ๔๐ ปี ให้คำปรึกษาด้านวิชาการแก่สถาน
ศึกษาและสถาบันต่าง ๆ เป็นผู้มีความเมตตาเอื้ออารี อุทิศตนเพื่อประโยชน์แก่การ
ศึกษาและงานศิลป์อย่างต่อเนื่องจนสามารถแสดงให้แพร่หลายออกไปอย่างกว้าง
ขวางทั้งในและนอกพระราชอาณาจักร ได้รับปริญญาครุศาสตรบัณฑิตกิตติมศักดิ์
สาขานาฏศิลป์ สหวิทยาลัยรัตนโกสินทร์ วิทยาลัยครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

2 ครู เฉลย ศุขะวณิช

ประวัติ

การศึกษา

ได้ศีกษาระดับ ประถมศึกษาที่โรงเรียนใกล้บ้าน มีความรู้พออ่าน
ออกเขียนได้ เมื่ออายุ 7 ขวบ มารดาได้ฝากไว้ในอุปการะของคุณท้าว
นารีวรคณารักษ์ และได้ฝึกหัดละคร จนกระทั่งได้รับการ ถวายตัวให้กับ
เจ้าฟ้ากรมหลวงนครราชสีมา และได้อยู่ในการดูแลรับการฝึกฝนพิเศษ
กับท่าน

นอกจากนี้ยังได้รับการฝึกหัดขับร้องสักวา และเพลงในละคร
ดึกดำบรรพ์ รวมทั้งดนตรีปี่ พาทย์ด้วยโดยได้ศึกษากับท่านครูผู้ใหญ่
หลายท่าน

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นางเฉลย ศุขะวณิช ท.ม.
, ต.ช.ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง

3 ครู เฉลย ศุขะวณิช

ประวัติ

การทำงาน

นางเฉลย ศุขะวณิชได้รับโอกาสได้การได้แสดงละครหลายแบบ เช่น
ละครนอกละครใน ละครดึกดำบรรพ์ โดยได้รับเป็นบทตัวเอกของเรื่องแทบ
ทุกครั้ง

จนกระทั่งอายุได้ 21 ปี นางเฉลยได้สมรสกับพระยาอมเรศส์ หลังจาก
นั้นนางเฉลยได้อำลาวงการออกมาเป็นแม่บ้านดูแลลูก 4 คน ต่อมาเมื่อ
สามีของนางเสียชีวิต นางเฉลยจึงได้หวนคืนสู่วงการอีกครั้งเมื่ออายุได้ 43
ปี

นอกจากนั้น นางเฉลยยังมีความสามารถด้านการสอนวิชานาฏศิลป์
และได้มีส่วนร่วมในการร่างหลักสูตร ในระดับต้นจนถึงระดับปริญญา และ
ยังเป็นผู้ริเริ่มความคิดสร้างสรรค์ ประดิษฐ์ลีลาท่ารำต่างๆด้วย

ท่ารำเพลงฝรั่งรำเท้า

โดยมีครูเฉลยเป็นต้นแบบของการนำเสนอท่ารำ

4 ครู เฉลย ศุขะวณิช

ประวัติ

การรับราชการ

นางเฉลย รับราชการในปี
พ.ศ.2500 เมื่อนางอายุได้ 53 ปี
ครูลมุลได้ชักชวนให้มาเป็นครู
สอนละครนาง ณ โรงเรียนนาฏ
ดุริยางคศาสตร์ (วิทยาลัย
นาฏศิลป์ในปัจจุบัน) เพื่อสอน
แทน หม่อมครูต่วน ซึ่งถึงแก่
กรรม ณ เวลานั้น

ภาพครูลมุล ยมะคุปต์

5 ครู เฉลย ศุขะวณิช

ประวัติ

การรับราชการ

ครูเฉลยได้สร้างคุณูปการมากมายให้แก่วิทยาลัยนาฏศิลป์ กรม
ศิลปากร และวงการนาฎศิลป์ไทย จนได้รับการยกย่องเป็น "ศิลปินแห่ง
ชาติ" สาขาศิลปะการแสดง เมื่อปี พ.ศ.2530 การได้ถวายการสอนแด่
องค์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาถือเป็นเกียรติยศสูงสุดของนาง

หนังสือวิเคราะห์รูปแบบความเป็นครู ของ ครูเฉลย ศุขะวณิช
แสดงถึงความสำคัญต่อวงการนาฏศิลป์ไทยของครูเฉลย

6 ครู เฉลย ศุขะวณิช

ประวัติ

การรับราชการ

ครูเฉลยได้ขึ่นชื่อว่าเป็นครูชำนาญการพิเศษสาขานาฏศิลป์ไทย
(โขนยักษ์) นักเรียนที่อ่านหนังสือนาฏศิลป์ทุกคนต้องเคยได้ชื่อ ครูเฉลย
ยมะคุปต์ (พระ) และ ครูเฉลย ศุขะวณิช (นาง) มาบ้าง ซึ่งครูสองท่านนี้
เรียกว่าเป็นแม่คนที่สองของวงการนาฏศิลป์ไทยก็ว่าได้

ภาพครูลมุล ยมะคุปต์ (ซ้าย) และ ครูเฉลย ศุขะวณิช (ขวา)

7 ครู เฉลย ศุขะวณิช

ประวัติ

การรับราชการ

ต่อมานางเฉลยได้รับราชการเรื่อยมาจนถึงเกษียนอายุเมื่อ พ.ศ.
2507 และได้ดำรงในตำแน่งผู้เชี่ยวชาญด้านการสอนนาฏศิลป์ ประจำ
มหาวิทยาลัยนาฏศิลป์ กรมศิลปากร จนสิ้นอายุของท่านเมื่อ วันที่ 14
เมษายน พ.ศ.2544 ตอนอายุได้ 96 ปี

8 ครู เฉลย ศุขะวณิช

ผลงาน

ผลงานด้านศิลปะการแสดง

9 ครู เฉลย ศุขะวณิช

ผลงาน

ผลงานด้านการผลิตท่ารำ

10 ครู เฉลย ศุขะวณิช

ผลงาน

ผลงานด้านการผลิตท่ารำ

11 ครู เฉลย ศุขะวณิช

ผลงาน

ผลงานด้านการผลิตท่ารำ

จากผลงานต่างๆส่งผลให้ นางเฉลย ศุ ขะวณิช ได้
รับการยกย่อง และได้รับเกียรติคุณมากมาย เช่นการได้รับ

เครื่ องราชอิ สริยารณ์ ตริตราภรณ์มงกุฏไทย (ต.ม.) รับ
พระราชทานโล่ กิตติคุณจาก สมเด็จพระเทพพระรัตนราชสุดา

ในงานเชิดชู เกียรติศิ ลปินอาวุ โส เมื่ อวันที่ 19 พฤษภาคม
พ.ศ. 2525 และรับพระราชทานปริญญากิตติมศั กดิ์ สาขา
นาฏศิ ลป์ไทย วิทยาลั ยครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยา พ.ศ. 2530


ครูเฉลย ศุขะวณิช คือใคร

นางเฉลย ศุขะวณิช เกิดเมื่อวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๔๗ เป็นผู้เชี่ยวชาญการสอนและออกแบบนาฏศิลป์ไทย แห่งวิทยาลัยนาฏศิลป์ กรมศิลปากร เป็นศิลปินอาวุโส ซึ่งมีความรู้ความสามารถสูงในกระบวนท่ารำทุกประเภท เป็นผู้อนุรักษ์แบบแผนเก่าและยังได้สร้างสรรค์และประดิษฐ์งานด้านนาฏศิลป์ขึ้นใหม่มากมายหลายชุดซึ่งกรมศิลปากรและวงการ ...

นางเฉลย ศุขะวณิช เป็นศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดงดัานใด

ศิลป กรมศิลปากร และวงการนาฏศิลป์ไทย จนได้รับการยกย่อง เป็นศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง ประจำปีพ.ศ.๒๕๓๐ สิ่งที่นับว่าเป็ เกียรติยศสูงสุดของชีวิตความเป็ ครูของคุณครู เฉลย ศุขะวณิช คือ การได้ถวายการสอนแด่องค์สมเด็จพระเทพ

ครูลมุล ยมะคุปต์ ได้รับพระกรุณาให้เป็นครูนาฏศิลป์ในคุ้มหลวงสมัยใด

จนในสมัยร.7 ได้มีครูจากกรุงเทพฯ ขึ้นมาสอนและออกแบบท่าละคร ท่ารำ และการฟ้อนต่างๆ คือครูลมุล ยมะคุปต์ และครูเฉลย ศุขะวณิช

เพราะเหตุใดจึงควรมีการศึกษาเกี่ยวกับบุคคลสำคัญในวงการละครไทย

บุคคลส าคัญในวงการละครไทยเป็นบุคคลที่ช่วยสร้างสรรค์และ สืบทอดการแสดงให้คงอยู่และเป็นที่รู้จักสืบไป จึงจ าเป็นที่ต้องศึกษา เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของบุคคลส าคัญของวงการละครไทย เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติตนต่อไป บุคคลสำ คัญในวงก รละครไทยในยุคสมัยต่ ง ๆ