วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต บทที่ 1

บทที่1

วิทยาศาสตร์สำหรับทักษะชีวิต

      วิทยาศาสตร์มาจากภาษาลาตินว่า“Scientia” หมายถึงความรู้จึงท าให้การเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เป็นการค้นหาความจริงในเรื่องที่เกี่ยวกับธรรมชาติ เพื่อให้เกิดความรู้โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ที่เป็นกระบวนการคิดและการกระท าที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ แบบแผน เป็นขั้นตอน และสามารถ พิสูจน์ได้ด้วย ดังนั้นการเรียนรู้วิทยาศาสตร์จึงเป็นการพัฒนาผู้เรียนให้ได้รับความรู้ กระบวนการ และ เจตคติ โดยลักษณะความรู้ทางวิทยาศาสตร์จะมีลักษณะเฉพาะดังนี้
      1. เป็นความรู้เชิงประจักษ์ ที่สร้างขึ้นจากข้อเท็จจริงที่ได้จากการสังเกตและทดลอง
      2. เป็นความรู้ที่ได้มาด้วยกระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
      3. เป็นความรู้ที่มีลักษณะเป็นความจริงสากลและความจริงนี้ใช้กันทั่วโลก
      4. เป็นความรู้ที่ยังไม่มีความจริงที่สมบูรณ์ต้องมีการปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณยิ่งขึ้นเป็น ความจริงที่              เชื่อถือได้สูงและน าไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
      5. มีลักษณะเป็นปรนัยคือเป็นสิ่งที่ได้ผ่านการตรวจสอบตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์จนเป็น ความรู้              ทางวิทยาศาสตร์
      6. เป็นความรู้ที่อาศัยเหตุผลง่าย ๆ ไปจนถึงเหตุผลที่ต้องใช้ความรู้เฉพาะและต้องมีความรู้ พื้นฐาน              ทางวิทยาศาสตร์จึงจะมีความเข้าใจได้
      7. เป็นความรู้ที่น ามาพัฒนาความเจริญในด้านต่าง ๆ เช่น กฎและทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์



วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต บทที่ 1


วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต บทที่ 1

ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปที่ Twitterแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest

สาระการเรียนรู้

    1. ความหมายของวิทยาศาสตร์

    4. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

    สามารถใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อเเก้ไขปัญหาได้

    1. อธิบายความหมายของวิทยาศาสตร์ได้

    2. อธิบายความรู้ทางวิทยาศาสตร์ทั้ง 5 ประเภทได้

    3. ระบุขั้นตอนของวิธีการทางวิทยาศาสตร์ได้

    4. ระบุผลข้อมูลที่มาจากการสังเกตุได้

    5. ลงความเห็นจากข้อมูลที่กำหนดให้ได้

    6. จำแนกประเภทของสิ่งที่กำหนดให้ได้

    7. เลือกใช้เครื่องมือในการวัดปริมาณของสิ่งต่างๆ ได้เหมาะสม

    8. นำตัวเลขที่กำหนดให้มาบวก ลบ คูณ และหาร ได้ถูกต้อง

    9. คาดคะเนคำตอบจากสถานการณ์ที่กำหนดให้ได้

    10. ระบุมิติของวัตถุที่กำหนดให้ได้

    11. จัดกระทำและสื่อความหมายจากข้อมู,ที่กำหนดให้ได้

    12. ระบุตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม จากสถานการณ์ที่กำหนดให้ได้

    13. ตั้งสมมติฐานจากสถานการณ์ที่กำหนดให้ได้

    14. กำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการจากข้อมูลที่กำหนดให้ได้

    15. ระบุขั้นตอนของกระบวนการทดลองได้

    16. แปลความหมายและลงข้อสรุปจากข้อมูลที่กำหนดให้ได้

    17. ระบุพฤติกรรมที่แสดงออกถึงการมีจิตวิทยาศาสตร์ได้

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ หน่วยและการวัด แรง การเคลื่อนที่ นาโนเทคโนโลยี โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ สารและการเปลี่ยนแปลง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีชีวภาพและระบบนิเวศ

บทที่ 1 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์ (science) คือ องค์ความรู้ที่มีระบบและจัดไว้อย่างมีระเบียบแบบแผน สามารถพิสูจน์ได้

  • ความรู้ทางวิทยาศาสตร์
  • กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
  • เจตคติทางวิทยาศาสตร์
  • ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

DOWNLOAD :

  • [Download บทเรียน]
  • [ใบกิจกรรม 1.1-1.2]
  • [ใบกิจกรรม 1.4]
  • [ใบกิจกรรม 1.5]
  • [ใบกิจกรรม 1.6]



SC-ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดย Woravith Chansuvarn

Download บทเรียน ใบกิจกรรม 1.1-1.2 ใบกิจกรรม 1.4 ใบกิจกรรม 1.5 ใบกิจกรรม 1.6

บทที่ 2 หน่วยและการวัด

  • หน่วยฐานเอสไอ
  • เลขนัยสำคัญ

DOWNLOAD :

  • [Download บทเรียน]
  • [ใบกิจกรรม 2.1]



SC-หน่วยและการวัด โดย Woravith Chansuvarn

Download บทเรียน ใบกิจกรรม 2.1

บทที่ 3 แรงและการเคลื่อนที่

  • ปริมาณทางวิทยาศาสตร์
  • แรง
  • งาน

DOWNLOAD :

  • [Download บทเรียน 3.1]
  • [Download บทเรียน 3.2]
  • [ใบกิจกรรม 3.1]
  • [ใบกิจกรรม 3.2]
  • [ใบกิจกรรม 3.3]



SC-แรงและการเคลื่อนที่ของวัตถุ โดย Woravith Chansuvarn

บทที่ 4 ไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน

  • ประจุไฟฟ้า
  • เซลล์ไฟฟ้าเคมี

DOWNLOAD :

  • [Download บทเรียน 4.1]
  • [Download บทเรียน 4.2]
  • [ใบกิจกรรม 4.1-4.2]
  • [ใบกิจกรรม 4.3]



SC-ไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน โดย Woravith Chansuvarn

บทที่ 5 เทคโนโลยี

DOWNLOAD :

  • [Download บทเรียน 5]



SNC-เทคโนโลยีและนวัตกรรม โดย Woravith Chansuvarn

บทที่ 6 โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ

  • โครงสร้างอะตอม
  • ตารางธาตุ

DOWNLOAD :

  • [Download บทเรียน 6.1]
  • [Download บทเรียน 6.2]
  • [ใบกิจกรรม 6.1-6.2]
  • [ใบกิจกรรม 6.4]



SC-โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ โดย Woravith Chansuvarn

บทที่ 7 พันธะเคมี

  • พันธะไอออน
  • พันธะโคเวเลนซ์
  • พันธะโลหะ



ฺChemical bond โดย Woravith Chansuvarn

บทที่ 8 สสารและการเปลี่ยนแปลง

  • สสารและสาร
  • การจำแนกสถานะสาร
  • การเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร
  • การจำแนกประเภทของสาร


SC-สารและการเปลี่ยนแปลง โดย Woravith Chansuvarn

บทที่ 9 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน

  • ปฏิกิริยาเคมี

DOWNLOAD :

[Download บทเรียน]
[ใบกิจกรรม 9.1]
[ใบกิจกรรม 9.2]
[ใบกิจกรรม 9.3]



SC-ปฏิกิริยาเคมี โดย Woravith Chansuvarn

บทที่ 10 การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต

  • เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
  • การรักษาสมดุลของน้ำ

DOWNLOAD :

[Download บทเรียน]
[ใบกิจกรรม 10.1]
[ใบกิจกรรม 10.2]
[ใบกิจกรรม 10.3]



SC-เซลล์ของสิ่งมีชีวิต โดย Woravith Chansuvarn

บทที่ 11 ระบบนิเวศ

  • ความหมายระบบนิเวศ
  • องค์ประกอบของระบบนิเวศ
  • ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
  • การหมุนเวียนของสาร

DOWNLOAD :

  • [Download บทเรียน]
  • [ใบกิจกรรม 11.1]
  • [ใบกิจกรรม 11.2]
  • [ใบกิจกรรม 11.3]


SC-ระบบนิเวศ โดย Woravith Chansuvarn

^Go to Top^