นามปากกา ร.6 เรื่องมัทนะพาธา

          ����Ҫ�Ծ����Ӥѭ㹾�кҷ���稾�����خ���������������ա������˹�� ��� ��������ء�����ѡ�ҵԷ���ô����Ҫ�ҹ�ŧ�˹ѧ��;���������˹ѧ��;���쩺Ѻ���� �� ����ͧ�¨�����Դ�, ��ѷ��������ҧ�, ��ǡ�����觺�þ��Ȕ ��੾�о���Ҫ�Ծ�������ͧ ��Ź�Դ��͔ ��� ���ռ�������ҡ����� ���蹴Ӕ [] �ʴ����������駼�ҹ�ҧ˹��˹ѧ��;�����ا෾�������㹺��������� ���͵Դ�Ź� ��觹͡�ҡ�����ç����ɼ�����ʴ����������駹������ �ѧ���ô����Ҫ�ҹ����ͧ�Ҫ��������ó���оҹ�ͧ����ͧ������繺��˹稤����ͺ�繡óվ�����ա���� �֧�Ѻ�繾�ҹ�Ӥѭ��� ��Ѫ��Ź�������Ҫ�ҹ�����Ҿ㹡���ʴ������Դ�����ǧ���˹ѧ��;�������ҧ������

พระนามแฝงของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ตั้งกระทู้ใหม่

ตั้งกระทู้ใหม่



พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตั้งพระนามแฝงมากกว่า 100 พระนาม พระราชประสงค์ในการทรงใช้พระนามแฝงนั้น มิใช่เพื่อการปกปิดแต่ประการใด เพราะพระนามแฝงเป็นจำนวนมากเป็นที่ทราบกันดีว่าเป็นของผู้ใด

พระนามแฝงภาษาไทย สำหรับบทละครทรงใช้ พระขรรค์เพชร ศรีอยุธยา นายกท.ป.ส.(ทวีปัญญาสโมสร) ไก่เขียว เจ้าเงอะ(2พระนามแฝงหลังใช้สำหรับละครร้องสลับพูด)

ส่วนบทละครภาษาอังกฤษที่ทรงแปลจากบทละครภาษาไทยของพระองค์ ทรงใช้พระนามแฝงว่า Sri Ayudhya, Sri Ayoothya, Phra Khan Bejra

พระนามแฝงที่ทรงใช้สำหรับบทความได้แก่ อัศวพาหุ Asvabhahu รามวชิราวุธป.ร.รามวชิราวุธ รามพันธ์ รามจิต รามสูร ราม ร. ราม ณ กรุงเทพ วชิราวุธ วชิราวุธโธ วชิราวุธป.ร. ว.ป.ร. มงกุฎเกล้า ม.ว. ม.ว.ร. ว.ร. ร.ร.
M.V. V. V.R.

รามจิตติ เป็นพระนามแฝงที่ทรงใช้เมื่อทรงพระราชนิพนธ์นิทานเรื่องยาวที่ทรงแปลจากภาษาอังกฤษ บางครั้งทรงใช้ย่อว่า ร.จ.

พันแหลม เป็นพระนามแฝงสำหรับเรื่องเกี่ยวกับทหารเรือ และสุครีพ ทรงใช้สำหรับนิทานเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับทหารเรือ

พระนามแฝงที่มักทรงใช้ในหนังสือพิมพ์ดุสิตสมิตได้แก่ จุลสมิต มหาสมิต วรสมิต วิริยสมิต วิภาสสมิต วรรณะสมิต และโสตสมิต

นอกจากนี้ยังทรงมีพระนามแฝงอื่น ๆ เช่น คอแดง คอยุโรป น.พ.ส. ความเห็นเอกชน ไทยอีกคนหนึ่ง ไทยศรีวิลัย นักเรียนเก่า นักเรียนคนหนึ่ง น.ภ. เนติบัณฑิตไทยผู้หนึ่ง น.ร. พรานบุญ พาลี พันตา ศ.ธนญชัย ศารทูล เสือเหลือง สภานายก อุบาสก เอกชน ศรีธนญชัย สารจิตต์ สุริยงส่องฟ้า โสต หัตถชัย หนานแก้วเมืองบูรณ์ อัญชัญ Khon Thai Sri Dhanya และ Oxonian

นามปากกา ร.6 เรื่องมัทนะพาธา

mootunsaki

30 ม.ค. 51 เวลา 20:53 น.

9

like

3,546

views

Facebook Twitter

รายชื่อผู้ถูกใจกระทู้นี้ คน

ยกเลิก

รู้สึกชื่นชมในความสามารถของผู้ประพันธ์ที่สามารถประพันธ์ฉันท์หลากหลายประเภทให้สามารถดำเนินเรื่องไปได้อย่างน่าสนใจและมีลูกเล่น เช่น การโต้ตอบไปมาระหว่างตัวละครโดยใช้ฉันท์ต่างประเภทกัน เป็นต้น ด้วยความที่เป็นบทละครการอ่านเอาเรื่องก็อาจจะไม่ตรงกับจุดประสงค์ของเรื่องเท่าไหร่ แต่ก็สามารถจินตนาการถึงละครได้เป็นฉาก ๆ จากการอ่านและคิดตามในหัว และด้วยความเป็นบทละครทำให้��ารดำเนินเรื่องเป็นไปอย่างกระชับ ไม่รู้สึกว่ายืดเยื้อจนเกินไป น่าติดตาม และสามารถอ่านรวดเดียวจบได้ ในเรื่องเนื้อหาหากพิจารณา��ูจะเห็นถึงทัศนคติของผู้ประพันธ์ที่แอบแฝงอยู่ได้อย่างไม่ยากนัก มีการสอดแทรกความเห็น ทรรศนะในการมองโลกของผู้ประพันธ์อยู่บ้าง ทำให้เข้าใจบริบทสังคมในสมัยของผู้ประพันธ์ เนื้อเรื่องส่วนมากจะเทความสำคัญไปตอนต้นค่อนกลางเสียมาก แต่ก็ไม่ได้ทำให้เส้นเรื่องสมดุลน้อยลงแต่อย่างใด การแต่งวรรณกรรมโศกนาฏกรรมนับว่าค่อนข้างแหวกขนบวรรณคดีสันสกฤตที่เป็นที่นิยมขณะนั้นมากพอสมควร แต่ก็ทำให้ได้รสชาติไปอีกแนวหนึ่ง อีกจุดสังเกตหนึ่งที่น่าสนใจคือมีการใส่เครื่องหมายวรรคตอนตลอดทั้งเรื่อง เข้าใจว่าได้อิทธิพลมาจากภาษาอังกฤษ ซึ่งก็เสื่อมความนิยมและเลือนหายไปในภาษาไทยมาตรฐานในปัจจุบันไปในที่สุด สุดท้ายด้านข้อคิดจากเรื่อง หลัก ๆ คือเรื่องความรัก ความเจ็บปวด ก็นับว่าได้พิจารณามุมมองของยุคสมัยก่อนกับยุคปัจจุบันซึ่งเป็นตัวเปรียบเทียบได้ดี

    Like

    Comment


    นามปากกา ร.6 เรื่องมัทนะพาธา

    Tunyatuang

    96 reviews4 followers

    April 19, 2018

    วรรณคดีที่วรรณคดีสโมสรยกย่องให้เป็นเลิศด้านบทละครพูดคำฉันท์ ไพเราะและซาบซึ้งมาก ได้คติสอนใจว่า “ที่ใดมีรัก ที่นั่นมีทุกข์” และเป็นเรื่องราวของความรักที่มีแต่ความเจ็บปวดแปลตามความหมายของเรื่อง มัทนา แปลว่า ความรัก พาธา แปลว่า ความเจ็บปวดความทุกข์ทรมาน สรุปคือ เจ็บเพราะรัก ตัวละครทุกตัวต่างเจ็บปวดและทุกข์ทรมานกับความรักค่ะ อ่านทุกตัวอักษรจะซาบซึ้งและประทับใจมาก รักวรรณคดีเรื่องนี้มากค่ะ

      thai-literature

    Like

    Comment


    นามปากกา ร.6 เรื่องมัทนะพาธา

    Natt

    837 reviews

    April 15, 2012

    วรรณกรรมที่วรรณคดีสโมสรยกย่อง โศกนาฎกรรมแห่งความรัก
    อ่านความเห็น : http://www.bloggang.com/mainblog.php?...

      Like

      Comment


      นามปากกา ร.6 เรื่องมัทนะพาธา

      Phuwong

      146 reviews

      April 23, 2017

      สุดยอดบทละครพูดคำฉันท์ที่ได้รับการยกย่องจากวรรณคดีสโมสร เรื่องราวอันเป็นตำนานของดอกกุหลาบที่ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นจากจินตนาการ ดำเนินเรื่องด้วยคำประพันธ์ประเภทกาพย์ 3 ชนิดและประเภทฉันท์ 21 ชนิด โดยกล่าวถึงนางฟ้าที่ถูกสาปให้กลายเป็นดอกกุหลาบชั่วนิรันดร์ และยังแสดงแก่นเรื่องที่นำเสนอความทุกข์อันมีที่มาจากความรัก ภาษาที่ใช้เป็นภาษาวรรณคดี ไพเราะและรุ่มรวยคุณค่าทางวรรณศิลป์ อาจมีหลายคำที่อ่านและเข้าใจยากสำหรับนักอ่านรุ่นใหม่ แต่สามารถทำความเข้าใจกับเนื้อเรื่องได้ไม่ยากนัก ความรู้สึกเหนือสิ่งอื่นใดเมื่ออ่านจบคือความซาบซึ้งในพระอัจริยภาพด้านการประพันธ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ผู้ท��งเป็นปราชญ์ด้านวรรณคดีอีกพระองค์หนึ่งของแผ่นดินไทย

      มัทนะพาธา ใช้นามปากกาอะไร

      บทพระราชนิพนธ์ - มัทนะพาธา - หัวใจนักรบ - หัวใจชายหนุ่ม - บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูกฯลฯ พระนามแฝง อัศวพาหุ รามจิต รามสูร พันแหลม สุครีพ

      รัชกาลที่ ๖ ทรงใช้พระนามแฝงใดในการแต่งเรื่องมัทนพาธา

      สมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราวุธ arrow_back.

      พระนามแฝงของรัชกาลที่ 6 มีอะไรบ้าง

      พระนามแฝงที่ทรงใช้ส าหรับบทความ ได้แก่ อัศวพาหุ, Asvabhahu, รามวชิราวุธป.., ราม วชิราวุธ, รามพันธ์, รามจิต, รามสูร, ราม ., ราม ณ กรุงเทพ, วชิราวุธ, วชิราวุธโธ, วชิราวุธ ป.., ว.ป.., มงกุฎเกล้า, ม.ว., ม.ว.., ว.., .., M.V.V.V.R.

      ผู้แต่งบทละครพูดคําฉันท์ เรื่อง มัทนะพาธา คือใคร นามแฝง

      ชื่อเรื่อง : บทละครพูดคำฉันท์เรื่องมัทนะพาธา ผู้แต่ง : พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว