ความ เป็น มา ของเรื่อง มัทนะ พาธา

บทละครพูดคำฉันท์เรื่อง มัทนะพาธา ที่มาและเรื่องย่อ

Chisanucha

  • บทละครพูดคำฉันท์, มัทนะพาธา, วรรณคดีไทย

ความ เป็น มา ของเรื่อง มัทนะ พาธา
ความ เป็น มา ของเรื่อง มัทนะ พาธา

สารบัญ

ความ เป็น มา ของเรื่อง มัทนะ พาธา
ความ เป็น มา ของเรื่อง มัทนะ พาธา

ความ เป็น มา ของเรื่อง มัทนะ พาธา
ความ เป็น มา ของเรื่อง มัทนะ พาธา

บทละครพูดคำฉันท์เรื่อง มัทนะพาธา เป็นวรรณคดีที่ทรงคุณค่าทางวรรณศิลป์ได้รับการยกย่องว่าแต่งดีและมีความแปลกใหม่อีกเรื่องหนึ่ง น้อง ๆ หลายคนอาจจะเคยคุ้นหูกันมาบ้างตามสื่อต่าง ๆ เพราะวรรณคดีเรื่องนี้เป็นหนึ่งในเรื่องที่โด่งดังจึงมักถูกหยิบไปทำเป็นละครทางโทรทัศน์บ่อย ๆ แต่จะมีความเป็นมาอย่างไรนั้น วันนี้เราจะไปศึกษาเรื่องนี้พร้อมกันเลยค่ะ

 

ประวัติความเป็นมาของบทละครพูดคำฉันท์เรื่อง มัทนะพาธา

 

ความ เป็น มา ของเรื่อง มัทนะ พาธา
ความ เป็น มา ของเรื่อง มัทนะ พาธา

 

มัทนะพาธาเป็นบทละครพูดคำฉันท์ พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จเพราะมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ทรงมีพระราชกุศลเพื่อสร้าง ตำนานแห่งดอกกุหลาบ จึงทรงผูกเรื่องขึ้นมาใหม่หมด ทรงให้ความสำคัญเรื่องความถูกต้อง และความสมจริงในรายละเอียดของเรื่อง ทั้งชื่อเรื่อง ชื่อตัวเอก และรายละเอียดต่างๆ เช่น ชื่อเรื่อง มัทนา มาจากศัพท์ มทน แปลว่า ความลุ่มหลงหรือความรัก และชื่อนางเอกของเรื่องก็มีความหมายว่าความเจ็บปวดและความเดือดร้อนเพราะความรัก ซึ่งตรงกับแก่นของเรื่อง

 

ความ เป็น มา ของเรื่อง มัทนะ พาธา
ความ เป็น มา ของเรื่อง มัทนะ พาธา

 

ลักษณะการประพันธ์

 

แต่งด้วยคำฉันท์ ที่ประกอบไปด้วยฉันท์และกาพย์ โดยที่ในตอนดำเนินเรื่องยาว ๆ จะใช้กาพย์ แต่ถ้าเน้นอารมณ์ตัวละคร เช่น คร่ำครวญหรือไหว้ครูก็จะใช้ฉันท์ แต่ในตอนที่ดำเนินเรื่องรวดเร็วก็จะใช้ร้อยแก้ว

 

ความ เป็น มา ของเรื่อง มัทนะ พาธา
ความ เป็น มา ของเรื่อง มัทนะ พาธา

 

เรื่องย่อ มัทนะพาธา

 

เป็นเรื่องสมมติว่าเกิดในอินเดียโบราณ เนื้อเรื่องแบ่งออกเป็นภาคสวรรค์และภาคพื้นโลกมนุษย์ เริ่มจากภาคสวรรค์ เทพบุตรสุเทษณ์หลงรักเทพธิดามัทนา แต่นางไม่รับรัก สุเทษณ์จึงขอให้วิทยาธรมายาวินใช้เวทมนตร์สะกดเรียกนางมา แต่ผลคือนางมัทนาเหม่อลอยอยู่ในมนต์ สุเทษณ์จึงขอให้มายาวินคลายมนต์ เมื่อได้สติแล้วนางมัทนาจึงปฏิเสธรัก สุเทษณ์โกรธจึงสาปให้นางมัทนาลงไปเกิดเป็นมนุษย์

นางมัทนาขอให้ตัวเองได้ไปเกิดเป็นดอกไม้ที่มีกลิ่นหอม สุเทษณ์จึงให้นางไปเกิดเป็นดอกกุหลาบ เป็นดอกไม้ที่งามทั้งกลิ่นและรูป แต่มีเฉพาะแค่ในสวรรค์ยังไม่เคยมีบนโลกมาก่อน โดยที่ดอกกุหลาบนั้นจะกลายเป็นมนุษย์แค่ 1 วัน 1 คืน ในวันเพ็ญของแต่ละเดือนเท่านั้น และนางจะพ้นสภาพจากการเป็นกุหลาบก็ต่อเมื่อนางมีความรัก แต่นางจะได้รับความทนทุกข์จากความรัก เมื่อถึงเวลานั้น ให้นางมาอ้อนวอนขอความช่วยเหลือกับเทพบุตรสุเทษณ์

นางมัทนาไปจุติเป็นกุหลาบในป่าหิมะวัน ฤษีกาละทรรศินจึงขุดไปปลูกในบริเวณอาศรมของตน ขณะทำการขุดก็ได้ยินเสียงผู้หญิงร้อง จึงรู้ว่าเป็นเทพธิดามาจุติ จึงเชิญนางมัทนาและสัญญาว่าจะปกป้องดูแล จึงทำการย้ายได้สำเร็จ หลังจากนั้นในคืนวันเพ็ญ ท้าวชัยเสนได้เสด็จออกล่าป่าและแวะมาพักที่อาศรมของฤษี เมื่อได้พบกับนางมัทนาที่แปลงร่างเป็นคนในคืนวันเพ้ญพอดีก็ตกหลุมรัก นางมัทนาก็มีใจเสน่หาต่อท้าวชัยเสนด้วยกัน ทั้งสองสาบานรักต่อกันทำให้นางมัทนาไม่ต้องกลับไปเป็นดอกไม้อีก

นางมัทนาตามท้าวชัยเสนกลับเมือง ทำให้นางจัณฑีผู้เป็นมเหสีโกรธมากจึงวางแผนใส่ร้ายว่านางเป็นชู้กับศุภางค์ผู้เป็นแม่ทัพ ท้าวชัยเสนเมื่อได้ยินข่าวก็เข้าใจผิด จึงสั่งประหารชีวิตทั้งคู่ แต่ทหารที่ได้รับคำสั่งมาประหารกลับรู้สึกสงสารนางจึงปล่อยไป นางมัทนากลับมายังป่าหิมะวันด้วยความโศกเศร้า จึงอ้อนวอนต่อเทพบุตรสุเทษณ์ให้มาช่วย เมื่อสุเทษณ์ลงมาก็ยื่นข้อเสนอให้นางมาเป็นคนรักเพื่อที่จะพากลับขึ้นไปบนสวรรค์ แต่นางมัทนายังคงปฏิเสธไม่รับรักอยู่ สุเทษณ์จึงโกรธและสาปให้นางมัทนากลายเป็นกุหลาบไปตลอดกาล ฝ่ายท้าวชัยเสนเมื่อเสร็จจากศึกสงครามก็เพิ่งรู้ความจริงว่านางมัทนาโดนใส่ร้ายจึงออกตามหา ก่อนจะพบว่านางได้กลายเป็นกุหลาบไปแล้ว จึงสั่งให้คนนำมาปลูกไว้ที่เมืองและดูแลไม่ให้ดอกไม้นี้สูญพันธุ์มาจนถึงทุกวันนี้

 

สรุปเนื้อเรื่อง

 

ความ เป็น มา ของเรื่อง มัทนะ พาธา
ความ เป็น มา ของเรื่อง มัทนะ พาธา

ความ เป็น มา ของเรื่อง มัทนะ พาธา
ความ เป็น มา ของเรื่อง มัทนะ พาธา

 

วรรณคดีอันทรงคุณค่าเรื่องนี้ได้สะท้อนเรื่องราวความรักในหลาย ๆ แง่มุม ทำให้เราได้เห็นโทษของการรักมากเกินไปมากขึ้นทำให้เกิดความทุกข์ เพื่อให้เข้าใจมากขึ้น น้อง ๆ จะได้เรียนรู้ตัวบทและคุณค่าของเรื่องนี้ในบทต่อไปค่ะ สำหรับบทเรียนในวันนี้น้อง ๆ สามารถตามดูการสอนของครูอุ้มได้ รับรองว่าจะสามารถจดจำเนื้อเรื่องของวรรณคดีได้อย่างครบถ้วน ไม่พลาดในการทำข้อสอบแน่นอนค่ะ

 

 

อย่าพลาดการติดตามบทความภาษาไทยจาก nockacademy

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

ความ เป็น มา ของเรื่อง มัทนะ พาธา
ความ เป็น มา ของเรื่อง มัทนะ พาธา

ความ เป็น มา ของเรื่อง มัทนะ พาธา
ความ เป็น มา ของเรื่อง มัทนะ พาธา

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

ดูคลิป

แนะนำ

แชร์

ความ เป็น มา ของเรื่อง มัทนะ พาธา
ความ เป็น มา ของเรื่อง มัทนะ พาธา

ระบบสมการเชิงเส้น

ระบบสมการเชิงเส้น ระบบสมการเชิงเส้น คือระบบสมการที่มีดีกรีเป็นหนึ่ง ซึ่งก็คือเลขชี้กำลังของตัวแปรเป็นหนึ่งนั่นเอง ซึ่งในตอนมัธยมต้นน้องๆได้เรียนระบบสมการเชิงเส้น 2 ตัวแปรไปแล้ว ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร เช่น แล้วเราก็แก้สมการหาค่า x, y  (ซึ่งอาจจะมีคำตอบหรือไม่มีก็ได้) แต่ในบทความนี้น้องๆจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับระบบสมการเชิงเส้น n ตัวแปร นั่นก็คือน้องๆจะต้องหาคำตอบของตัวแปร n ตัวตัว ซึ่งการหาคำตอบนั้นมีหลายวิธีไม่ว่าจะเป็นการใช้เมทริกซ์ (ซึ่งน้องๆจะได้เรียนในบทความถัดๆไป) หรือการแก้สมการธรรมดาและในข้อสอบส่วนใหญ่จะเน้นให้น้องๆหาคำตอบในระบบสมการเชิงเส้นที่ไม่เกิน 3 ตัวแปร เพราะถ้าเกินกว่านั้นอาจจะใช้เวลาในการหาคำตอบมาก

ความ เป็น มา ของเรื่อง มัทนะ พาธา
ความ เป็น มา ของเรื่อง มัทนะ พาธา

การใช้ There is/There are ทั้งประโยคบอกเล่า/คำถาม/ปฏิเสธ

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้น ม.1 ที่รักทุกคน วันนี้เราจะไปเรียนรู้ “การใช้ There is/There are ทั้งประโยคบอกเล่า/คำถาม/ปฏิเสธ” กันจ้า ถ้าพร้อมแล้วก็ไปลุยกันเลยเด้อ ตารางแสดงความแตกต่างของ  There is/There are และ  Have/Has นักเรียนลองสังเกตดูความแตกต่างของการใช้ There is/There are กับ Have/has จากตารางด้านล่าง ดูนะคะ

ความ เป็น มา ของเรื่อง มัทนะ พาธา
ความ เป็น มา ของเรื่อง มัทนะ พาธา

การใช้ Wh-questions กับ Past Simple Tense

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม.2 ทุกคน วันนี้ครูจะพาไปตะลุย ” การใช้ Wh-questions ร่วมกับ Past Simple Tense” กันนะคะ หากพร้อมแล้วก็ไปลุยกันเลยจร้า   Wh-Questions คืออะไร      เมื่อต้องถามคำถามอะไรก็ตามที่ไม่ต้องการคำตอบ Yes หรือ No แบบตรงประเด็น เราจะเรียกคำถามประเภทนี้ว่า Question  word

ความ เป็น มา ของเรื่อง มัทนะ พาธา
ความ เป็น มา ของเรื่อง มัทนะ พาธา

การบวก ลบ คูณ หารจำนวนเต็ม

บทความนี้จะทำให้น้องๆ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง การบวก ลบ คูณ หารจำนวนเต็ม มากยิ่งขึ้น ซึ่งได้รวบรวมตัวอย่างไว้อย่างหลากหลายและอธิบายไว้อย่างละเอียด โดยก่อนที่น้องๆจะเรียนเรื่องนี้จะต้องเรียนรู้เรื่อง จำนวนตรงข้าม และ ค่าสัมบูรณ์ เพื่อใช้ในการบวก ลบ จำนวนเต็ม ซึ่งมีวิธีการดังตัวอย่างต่อไปนี้ การบวกจำนวนเต็ม การบวกจำนวนเต็มบวก โดยใช้ค่าสัมบูรณ์ ให้น้องๆทบทวนการหาค่าสัมบูรณ์ ดังนี้ |-12|=   12 |4|=   4

ความ เป็น มา ของเรื่อง มัทนะ พาธา
ความ เป็น มา ของเรื่อง มัทนะ พาธา

ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์

ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ จะเกี่ยวข้องกับ θ พิกัดของ จุด (x, y) ซึ่งในบทความนี้จะอธิบายเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ระหว่าง x, y กับ θ จากบทความที่ผ่านมาเราได้รู้จักวงกลมหนึ่งหน่วยและการวัดความยาวส่วนโค้ง ในบทความนี้น้องๆจะได้รู้จักกับฟังก์ชันไซน์ (sine function) และฟังก์ชันโคไซน์ (cosine function) และวิธีการหาค่าของฟังก์ชันทั้งสอง Sine function =

ความ เป็น มา ของเรื่อง มัทนะ พาธา
ความ เป็น มา ของเรื่อง มัทนะ พาธา

ตัวอย่างโจทย์ปัญหาสัดส่วน

บทความนี้เราจะได้เรียนรู้วิธีการในการหาค่าตัวแปรในการใช้สัดส่วน สามารถมารถนำไปประยุกต์ใช้กับการแก้โจทย์ปัญหาในชีวิตจริงได้ พิจารณาสิ่งที่ต้องการแสดงการเปรียบเทียบโดยการเขียนเป็นอัตราส่วนสองอัตราส่วนอย่างเป็นลำดับและหาค่าของตัวแปรได้

มัทนะพาธาแต่งในสมัยใด

มัทนะพาธาหรือตำนานแห่งดอกกุหลาบ ละครเรื่องนี้ออกเป็นภาษาอังกฤษด้วย โดย เป็นวรรณคดีประเภทบทละครพูดคำฉันท์ (คือ ทรงแปลเป็นร้อยแก้วเสร็จบริบูรณ์เมื่อเดือน บทละครที่แต่งด้วยฉันท์และกาพย์ชนิดต่าง ๆ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๘ จากนั้นจึงทรงแปล มีบทเจรจาบางตอนแต่งเป็นร้อยแก้วแทรกอยู่ มัทนะพาธาเป็นกลอนเปล่าแบบบทละครพูดของ บ้าง) ซึ่ง ...

เรื่องมัทนะพาธามีความเด่นอย่างไร

๑.๑ เรื่องมัทนะพาธาเป็นหนังสือที่แต่งดี ใช้คำฉันท์เป็นบทละครพูด ซึ่งแปลกและแต่งได้ยาก มีการเลือกใช้คำเหมาะสมกับเนื้อความและบทบาทของตัวละคร รวมทั้งการพรรรณนาให้มีความสอดคล้องกับวัฒนธรรมภารตะโบราณและเข้ากับเนื้อเรื่องได้เป็นอย่างดี จึงได้รับการยกย่องจากวรรณคดีสโมสร ว่าเป็นยอดแห่งบทละครพูดคำฉันท์

ใครเป็นผู้แต่งเรื่องมัทนะพาธา

หากกล่าวถึงดอกกุหลาบในฐานะดอกไม้แห่งความรัก เชื่อแน่ว่าคนไทยหลายคนไม่เพียงแต่รับรู้คตินิยมเกี่ยวกับดอกไม้ชนิดนี้ในวัฒนธรรมตะวันตกเท่านั้น แต่น่าจะนึกไปถึงพระราชนิพนธ์เรื่องมัทนะพาธา” ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวด้วยเช่นกัน เนื่องจากพระราชนิพนธ์เรื่องนี้เล่าถึง “นางมัทนา” นางเอกของเรื่องว่าเป็นต้นกำเนิดของ ...