ป.โท รัฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จุฬา

Skip to content

คณะรัฐศาสตร์

Faculty of Political Science

เสาหลักของแผ่นดินทางรัฐศาสตร์ องค์การแห่งความก้าวหน้า ความสุข และความรับผิดชอบต่อสังคม

ป.โท รัฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จุฬา

คณะรัฐศาสตร์

Faculty of Political Science

เสาหลักของแผ่นดินทางรัฐศาสตร์ องค์การแห่งความก้าวหน้า ความสุข และความรับผิดชอบต่อสังคม

รู้จักคณะ

สถาบันผลิตครูและนักการศึกษาชั้นนำอันดับหนึ่งของประเทศ* มุ่งสร้างองค์ความรู้และพัฒนาการนวัตกรรมทางการศึกษาที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก  เปิดสอนระดับปริญญาบัณฑิตและบัณฑิตศึกษา ในสาขาวิชาต่างๆ  อาทิ การศึกษาปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษา เทคโนโลยีการศึกษา จิตวิทยาการปรึกษา การแนะแนว และการศึกษาพิเศษ ศิลปศึกษา ดนตรีศึกษา ธุรกิจศึกษา ฯลฯ รวมทั้งเปิดสอนหลักสูตรนานาชาติ Teaching English as a Foreign Language (TEFL) ในระดับปริญญาโทด้วย

การศึกษาและหลักสูตร

  • ภาควิชาของคณะ
  • หลักสูตรปริญญาตรี
  • หลักสูตรปริญญาโท
  • หลักสูตรปริญญาเอก
  • หมายเหตุ

ภาควิชาของคณะรัฐศาสตร์ (Faculty of Political Science)

คณะรัฐศาสตร์ประกอบด้วย 4 ภาควิชา ได้แก่

  1. การปกครอง (Government)
  2. ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (International Relations)
  3. รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration)
  4. สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (Sociology and Anthropology)

หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

รัฐศาสตรบัณฑิต (ร.บ.) Bachelor of Arts (Political Science) [B.A. (Political Science)] 4 สาขาวิชา ได้แก่

  1. การปกครอง (Government)
  2. ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (International Relations)
  3. รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration)
  4. สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (Sociology and Anthropology)

หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

1. รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (ร.ม.) Master of Arts (M.A.) 3 สาขาวิชา ได้แก่

  • 1.1 การปกครอง (Government)
  • 1.2 การเมืองและการจัดการปกครอง (Politics and Governance)
  • 1.3 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (International Relations)

2. รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รป.ม.) Master of Public Administration (M.P.A.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

  • 2.1 รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration)

3. สังคมวิทยามหาบัณฑิต (สค.ม.) Master of Arts (M.A.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

  • 3.1 สังคมวิทยา (Sociology)

4. มานุษยวิทยามหาบัณฑิต (มน.ม.) Master of Arts (Anthropology) [M.A. (Anthropology)] 1 สาขาวิชาได้แก่

  • 4.1 มานุษยวิทยา (Anthropology)

5. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) Master of Arts (M.A.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

  • 5.1 การพัฒนาระหว่างประเทศ (นานาชาติ)* (International Development Studies)

หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ร.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

  1. รัฐศาสตร์ (Political Science)

หมายเหตุ

  • * สาขาวิชาการพัฒนาระหว่างประเทศ (หลักสูตรนานาชาติ) อยู่ในความรับผิดชอบของคณะรัฐศาสตร์

ติดต่อคณะ

คณะรัฐศาสตร์

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ถนนอังรีดูนังต์ แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

โทรศัพท์
0 2218 7250 – 3

โทรสาร
0 2218 7250 – 3

Email

ป.โท รัฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จุฬา

ป.โท รัฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จุฬา

จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม

รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย