ขาดส่งประกันสังคม มาตรา 40 5 ปี

ประกันสังคม "มาตรา 40" ที่จ่ายเงินสมทบเกิน ๆม่ต้องกังวล ขอเงินคืนได้แล้ว เช็คขั้นตอนขอรับเงินคืนต้องทำอย่างไร

Show

ผู้ประกันตนมาตรา 40 จ่ายเงินสมทบเต็มจำนวนในอัตราเดิม งวดกุมภาพันธ์-กรกฎาคม 2565 ที่มีความกังวลว่าจะไม่ได้รับเงินสมทบส่วนที่จ่ายเกินคืน หลังคณะรัฐมนตรี (ครม.) ได้เห็นชอบลดอัตราเงินสมทบไปแล้วนั้น

ผู้ประกันตนไม่ต้องกังวลหากจ่ายเงินสมทบในอัตราเดิม คือทางเลือกที่ 1 จำนวน 70 บาท ทางเลือกที่ 2 จำนวน 100 บาท และทางเลือกที่ 3 จำนวน 300 บาท

สำนักงานประกันสังคมถือเป็นอีกหนึ่งตัวช่วยของสมาชิกที่เข้าเป็นผู้ประกันตน เพราะถือเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานที่ผู้ประกันตนควรรู้ แต่หากขาดส่งประกันสังคมขึ้นมาจะเกิดปัญหาอะไรบ้าง และขาดส่งกี่เดือนถึงจะโดนตัดสิทธิ

สำนักงานประกันสังคมถือเป็นอีกหนึ่งตัวช่วยของสมาชิกที่เข้าเป็นผู้ประกันตน เพราะถือเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานที่ผู้ประกันตนควรรู้ เพราะหากต้องเข้าโรงพยาบาลหรือเกิดเหตุฉุกเฉินอื่น ๆ ประกันสังคมสามารถช่วยเหลือได้ในหลาย ๆ เรื่อง แต่หากขาดส่งประกันสังคมขึ้นมาจะเกิดปัญหาอะไรบ้าง และขาดส่งกี่เดือนถึงจะโดนตัดสิทธิ จะทำอย่างไรหากขาดส่งประกันสังคม วันนี้ TNN มีคำตอบมาให้คุณค่ะ


ใครที่อาจขาดสิทธิประกันสังคม

- ผู้ประกันตนมาตรา 39 และมาตรา 40 ที่เป็นสมาชิกของสำนักงานประกันสังคม


เมื่อไหร่ถึงขาดสิทธิประกันสังคม

- ขาดส่งเงินสมทบ 3 เดือนติดต่อกัน หรือภายในระยะเวลา 12 เดือน

- เสียชีวิต

- กลับไปเป็นผู้ประกันตนมาตรา 33

- ลาออกจากความเป็นผู้ประกันตนจากการแสดงความจำนงที่สำนักงาน


กรณีผู้ประกันตนตามมาตรา 39 มีการขาดส่งเงินสมทบ 3 เดือนติดต่อกัน หรือภายในระยะเวลา 12 เดือน ส่งเงินสมทบไม่ครบ 9 เดือน จะสิ้นสภาพการเป็นผู้ประกันตนมาตรา 39 โดยไม่สามารถส่งเงินสมทบตามมาตรา 39 ต่อได้อีก


ทั้งนี้ เว้นแต่ผู้ประกันตนมีการทำงานกับนายจ้างใหม่จึงจะสามารถเข้ามาเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 33 โดยจะมีการบันทึกข้อมูลต่อเนื่องจากของเดิม และเมื่อลาออกจากงานสามารถสมัครเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 39 ได้ ภายใน 6 เดือนนับแต่วันที่ลาออกจากงาน โดยติดต่อ สปส.กทม.พื้นที่/จังหวัด/สาขาใกล้ที่พักอาศัย

สำนักงานประกันสังคม เผย ผู้ประกันตนมาตรา 39 หากไม่อยากสิ้นสภาพการเป็นผู้ประกันตน และเสียสิทธิประโยชน์ประกันสังคม ห้ามขาดส่ง "เงินสมทบ" 3 เดือนติดต่อกัน หรือส่งไม่ครบ 9 เดือน ภายในระยะเวลา 1 ปี

สำนักงานประกันสังคม ระบุ ไม่อยากสิ้นสภาพ อย่าพลาด ขาดส่ง ขาดสิทธิ์ เพราะหากขาดส่ง เงินสมทบ 3 เดือนติดต่อกัน หรือส่งไม่ครบ 9 เดือน ภายในระยะเวลา 12 เดือน (1 ปี) ก็หมดสิทธิ์ในการเป็นผู้ประกันตน มาตรา 39 ทันที

ถ้าไม่อยากเสียสิทธิ์ สามารถลงทะเบียนเข้าสู่ระบบของผู้ประกันตนทาง Line สำนักงานประกันสังคม เพื่อรับการแจ้งเตือนกรณีค้างชำระการนำส่งเงินสมทบมาตรา 39 หรือ สะดวกกว่านั้น เพียงแค่สมัครนำส่งเงินสมทบโดยหักผ่านบัญชีธนาคาร แค่นี้ก็เซฟสิทธิ์ได้แล้ว

ทั้งนี้ ธนาคารที่เข้าร่วมการหักเงินสมทบผ่านบัญชีธนาคาร ได้แก่ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ,ธนาคารกรุงไทย ,ธนาคารกสิกรไทย, ธนาคารทหารไทยธนชาต , ธนาคารไทยพาณิชย์ ,ธนาคารกรุงเทพ เพียงเตรียมสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร และหนังสือยินยอมให้หักผ่านบัญชีเงินฝากธนาคาร (ถ้ามี) ติดต่อ สปส. ใกล้บ้านได้

โดยผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบ 432 บาท/เดือน คุ้มครอง 6 กรณี แต่เนื่องจากคณะรัฐมนตรีมีมติ ลดอัตราเงินสมทบ ติดต่อกันถึง 3 เดือน ตั้งแต่ พ.ค. - ก.ค. 65 โดยผู้ประกันตนมาตรา 39 ปรับลดอัตราเงินสมทบ จากเดิมร้อยละ 9 เหลือร้อยละ 1.9 จากปกติจ่าย 432 บาท ลดเหลือเพียง 91 บาท

ขาดส่งประกันสังคม มาตรา 40 5 ปี

คุณสมบัติของผู้สมัคร

- เคยเป็นผู้ประกันตนตาม มาตรา 33 นำส่งเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน และออกจากงานไม่เกิน 6 เดือน นับแต่วันที่ลาออกจากงาน     

- ต้องไม่เป็นผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีทุพพลภาพจากกองทุนประกันสังคม    

สิทธิประโยชน์ผู้ประกันตน มาตรา 39 

จะได้รับความคุ้มครอง 6 กรณี คือ

1. กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย

2. กรณีคลอดบุตร

3. กรณีทุพพลภาพ

4. กรณีเสียชีวิต

5. กรณีสงเคราะห์บุตร

6. กรณีชราภาพ

สำหรับวิธีการสมัครผู้ประกันตน มาตรา 39 สามารถสมัครได้ที่สำนักงานประกันสังคมที่สะดวก สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับประกันสังคมได้ที่ www.sso.go.th หรือโทรสายด่วน 1506 ให้บริการทุกวัน ตลอด 24 ชั่วโมง

สำนักงานประกันสังคม เตือนผู้ประกันตน ม.40 ส่งเงินสมทบ ก่อนถูกตัดสิทธิ์ เช็กเงื่อนไข ช่องทางการชำระเงิน

วันที่ 26 ธันวาคม 2564 ผู้สื่อข่าวรายงานว่า สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน แจ้งเตือนผู้ประกันตน มาตรา 40 หรือกลุ่มผู้ประกอบอาชีพอิสระ ฟรีแลนซ์ ให้ส่งเงินสมทบก่อนถูกตัดสิทธิ์์ โดยเงื่อนไขที่จะสามารถใช้สิทธิ์ตามมาตรา 40 ได้ มีดังนี้

  • ดีลบางจาก 55,500 ล้าน ปิดตำนาน เอสโซ่ สะเทือนถึง ปตท.
  • เปิดวิบากกรรมการเมือง ยงยุทธ วิชัยดิษฐ เคยร้องไห้กับ “ยิ่งลักษณ์”
  • สถิติหวย ตรวจหวย ผลสลากกินแบ่งรัฐบาลงวด 17 มกราคม ย้อนหลัง 10 ปี

กรณีประสบอันตราย/เจ็บป่วย

ผู้ประกันตนต้องจ่ายเงินสมทบครบ 3 เดือน ภายใน 4 เดือน ก่อนประสบอันตราย/เจ็บป่วยฃ

กรณีทุพพลภาพ

กรณ๊นี้ ขึ้นอยู่กับระยะเวลาการจ่ายเงินสมทบ

  • จ่ายเงินสมทบอย่างน้อย 6 เดือน ภายในระยะเวลา 10 เดือนก่อนทุพพลภาพ รับ 500 บาทต่อเดือน
  • จ่ายเงินสมทบอย่างน้อย 12 เดือน ภายในระยะเวลา 20 เดือนก่อนทุพพลภาพ รับ 650 บาทต่อเดือน
  • จ่ายเงินสมทบอย่างน้อย 24 เดือน ภายในระยะเวลา 40 เดือนก่อนทุพพลภาพ รับ 800 บาทต่อเดือน
  • จ่ายเงินสมทบอย่างน้อย 36 เดือน ภายในระยะเวลา 60 เดือนก่อนทุพพลภาพ รับ 1,000 บาทต่อเดือน

กรณีตาย

ผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบครบ 6 เดือน ภายใน 12 เดือนก่อนเสียชีวิต โดยผู้จัดการศพจะได้รับค่าทำศพ

ช่องทางชำระเงินสมทบ ม.40

  • เคาน์เตอร์เซอร์วิส (เซเว่น-อีเลฟเว่น)
  • แอปพลิเคชัน ShopeePay
  • ตู้บุญเติม
  • เซ็นเพย์ พาวเวอร์ by บุญเติม
  • ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
  • ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)
  • ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.)
  • เคาน์เตอร์โลตัส
  • เคาน์เตอร์บิ๊กซี

ขาดส่งประกันสังคม มาตรา 40 5 ปี

Advertisement

ม.40 ปรับลดเงินสมทบ 6 เดือน

ผู้ประกันตน มาตรา 40 หรือ ผู้ประกอบอาชีพอิสระ ค้าขาย ฟรีแลนซ์ การสมัครเข้าร่วมเป็นผู้ประกันตนจะไม่กระทบกับสิทธิ์บัตรทอง หรือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ และจะได้รับสิทธิประโยชน์เพิ่มขึ้น และปรับลดเงินสมทบให้ผู้ประกันตน 3 ทางเลือก ดังนี้

1. ผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบ 70 บาท/เดือน (ลดเหลือ 42 บาท/เดือน) คุ้มครอง 3 กรณี

  • กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย รับเงินทดแทนการขาดรายได้
  • ผู้ป่วยใน นอนพักรักษาตัว 1 วันขึ้นไป ได้รับความคุ้มครอง วันละ 300 บาท
  • ผู้ป่วยนอก (ไม่นอนโรงพยาบาล) มีใบรับรองแพทย์ให้หยุด 3 วันขึ้นไป ได้รับความคุ้มครอง วันละ 200 บาท
  • ผู้ป่วยนอก (ไม่นอนโรงพยาบาล) หยุดไม่เกิน 2 วัน ได้รับความคุ้มครอง ครั้งละ 50 บาท (ปีละไม่เกิน 3 ครั้ง )
  • รับสิทธิผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกหยุดรวมกันไม่เกิน 30 วัน/ปี
  • กรณีทุพพลภาพ รับเงินทดแทนการขาดรายได้ 500 – 1,000 บาท เป็นเวลา 15 ปี (ขึ้นกับระยะเวลาจ่ายเงินสมทบ)
  • กรณีตาย ได้รับเงินค่าทำศพ 25,000 บาท

2. ผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบ 100 บาท/เดือน (ลดเหลือ 60 บาท/ เดือน) คุ้มครอง 4 กรณี

  • กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย รับเงินทดแทนการขาดรายได้
  • ผู้ป่วยใน นอนพักรักษาตัว 1 วันขึ้นไป ได้รับความคุ้มครอง วันละ 300 บาท
  • ผู้ป่วยนอก (ไม่นอนโรงพยาบาล) มีใบรับรองแพทย์ให้หยุด 3 วันขึ้นไป ได้รับความคุ้มครอง วันละ 200 บาท
  • ผู้ป่วยนอก (ไม่นอนโรงพยาบาล) หยุดไม่เกิน 2 วัน ได้รับความคุ้มครอง ครั้งละ 50 บาท (ปีละไม่เกิน 3 ครั้ง )
  • รับสิทธิผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกหยุดรวมกันไม่เกิน 30 วัน/ปี
  • กรณีทุพพลภาพ รับเงินทดแทนการขาดรายได้ 500 – 1,000 บาท เป็นเวลา 15 ปี (ขึ้นกับระยะเวลาจ่ายเงินสมทบ)
  • กรณีตาย ได้รับเงินค่าทำศพ 25,000 บาท
  • กรณีชราภาพ ได้รับเงินก้อนพร้อมดอกผล (จากเงินออมสะสม ตามจำนวนงวดที่จ่ายเงินสมทบ) 50 บาท/เดือน

3. ผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบ 300 บาท/เดือน (ลดเหลือ 180 บาท/เดือน) คุ้มครอง 5 กรณี

  • กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย รับเงินทดแทนการขาดรายได้
  • ผู้ป่วยใน นอนพักรักษาตัว 1 วันขึ้นไป ได้รับความคุ้มครอง วันละ 300 บาท
  • ผู้ป่วยนอก (ไม่นอนโรงพยาบาล) มีใบรับรองแพทย์ให้หยุด 3 วันขึ้นไป ได้รับความคุ้มครอง วันละ 200 บาท
  • รับสิทธิผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกหยุดรวมกันไม่เกิน 90 วัน/ปี
  • กรณีทุพพลภาพ รับเงินทดแทนการขาดรายได้ 500 – 1,000 บาท ตลอดชีวิต
  • กรณีตาย ได้รับเงินค่าทำศพ 50,000บาท
  • กรณีชราภาพ ได้รับเงินก้อนพร้อมดอกผล (จากเงินออมสะสม ตามจำนวนงวดที่จ่ายเงินสมทบ) 150 บาท/เดือน
  • กรณีสงเคราะห์บุตร ได้รับเงินรายเดือนตั้งแต่แรกเกิด ถึงอายุครบ 6 ปีบริบูรณ์ เดือนละ 200 บาท/คน คราวละไม่เกิน 2 คน

ทั้งนี้ การจ่ายสิทธิประโยชน์เป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการเกิดสิทธิ สามารถติดต่อขอรับสิทธิประโยชน์ได้ที่สำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่/จังหวัด/สาขาที่สะดวก สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.sso.go.th หรือโทรสายด่วน 1506 ให้บริการทุกวัน ตลอด 24 ชั่วโมง

ไม่ได้ส่งประกันสังคมม.40กี่เดือนขาด

อย่าลืมส่งเงินสมทบ ไม่งั้นอดได้สิทธินะ❗ 📣เงื่อนไขการเกิดสิทธิมาตรา 40📣 🔺 กรณีประสบอันตราย/เจ็บป่วย ผู้ประกันตนต้องจ่ายเงินสมทบครบ 3 เดือน

ส่งประกันสังคมมาตรา 40 ย้อนหลังได้ไหม

ทั้งนี้ ในการจ่ายเงินสมทบของผู้ประกันตนมาตรา 40 จ่ายเป็นรายเดือน ๆ ละ 1 ครั้ง และจ่ายเงินสมทบล่วงหน้าได้ครั้งละไม่เกิน 12 เดือน แต่ไม่สามารถจ่ายเงินสมทบย้อนหลังได้

ประกันสังคมมาตรา40ได้อะไรบ้าง

ประกันสังคมมาตรา 40 ก็มีสิทธิประโยชน์ชราภาพนะ | ประกันสังคมน่ารู้ สิทธิประกันสังคมมาตรา 40 ประกันสังคมมาตรา 40 ก็มีสิทธิประโยชน์ชราภาพนะ | ประกันสังคมน่ารู้ สิทธิประกันสังคมมาตรา 40 -ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย -ทุพพลภาพ -ตาย -ชราภาพ -สงเคราะห์บุตร ขอรับสิทธิประโยชน์กรณีชราภาพ กรณีเงินบำเหน็จชราภาพ กรณีผู้ประกันตนอายุครบ ...

จ่าย ม.40 ล่วงหน้าได้กี่เดือน

โดยประกันสังคม ได้ระบุว่า ผู้ประกันตนสามารถจ่ายเงินสมทบล่วงหน้าได้ถึง 12 เดือนแต่ไม่สามารถจ่ายย้อนหลังได้ *กรณีผู้ประกันตนมาตรา 40 ขาดส่งเงินสมทบจะกี่เดือนก็ตาม ยังคงสภาพความเป็นผู้ประกันตนมาตรา 40 อยู่ ระยะเวลาในการนำส่งเงินสมทบ