แบบฟอร์มยกเลิกประกันสังคม มาตรา 40

กองทุนประกันสังคม ม.40 เป็นอีกหนึ่งสวัสดิการของรัฐในภาคสมัครใจ ที่เหล่าฟรีแลนซ์ควรคิดถึง เพื่อสร้างหลักประกันให้อุ่นใจในวันที่ต้องใช้ เพราะมีสิทธิประโยชน์หลายด้าน เช่น เงินทดแทนรายวันยามเจ็บป่วย เงินสงเคราะห์รายเดือนเมื่อมีบุตร เงินบำเหน็จชราภาพ เงินค่าทำศพและเงินสงเคราะห์กรณีเสียชีวิต เป็นต้น จึงควรศึกษาหลักเกณฑ์การส่งเงินสมทบและเงื่อนไขการรับสิทธิประโยชน์ทดแทนต่าง ๆ เพื่อช่วยวางแผนคุ้มครองความเสี่ยงในชีวิตได้อย่างเหมาะสม

“เป็นฟรีแลนซ์มือใหม่ ควรสร้างหลักประกันอะไรให้ตัวเองบ้าง?”
“จำเป็นต้องส่งเงินประกันสังคมด้วยเหรอ? กลัวไม่ได้ใช้สิทธิ”

หากพูดถึงประกันสังคม หลายคนอาจเข้าใจผิดว่าเป็นสิทธิสำหรับพนักงานประจำเท่านั้น แต่จริงๆ แล้วเหล่าฟรีแลนซ์ที่ไม่มีนายจ้างก็สามารถเลือกเข้าระบบประกันสังคมได้เช่นกัน อย่างน้อยจะได้มีหลักประกันตนเองบ้างเวลาเกิดเหตุการณ์ไม่คาดคิด เพียงแค่ศึกษา  “4 ข้อควรรู้ เรื่องประกันสังคมมาตรา 40” ก็จะเข้าใจหลักเกณฑ์การส่งเงินสมทบและเงื่อนไขการรับสิทธิประโยชน์ทดแทนต่าง ๆ เพื่อช่วยวางแผนคุ้มครองความเสี่ยงในชีวิตได้อย่างเหมาะสม

ความแตกต่างของประกันสังคม ม.33 / ม.39 / ม.40

หลัก ๆ ก็เป็นเรื่องสิทธิประโยชน์ที่ได้รับ และคุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครในแต่ละมาตรา โดยมนุษย์เงินเดือนจะถือเป็นผู้ประกันตนมาตรา 33 (ม.33) ซึ่งเป็นภาคบังคับ ส่วนฟรีแลนซ์จะแบ่งเป็นผู้ประกันตนมาตรา 39 (ม.39) สำหรับคนที่เคยเป็นมนุษย์เงินเดือน พอลาออกมาก็ส่งเงินสมทบต่อเอง แค่จะไม่ได้รับการคุ้มครองกรณีว่างงานเท่านั้น และผู้ประกันตนมาตรา 40 (ม.40) สำหรับคนที่ไม่เคยทำงานประจำมาก่อน ซึ่งทั้งสองมาตรานี้ถือเป็นภาคสมัครใจ

20-should-freelancers-be-insured-under-section-40-of-the-social-security-act_1

* ฐานเงินเดือนต่ำสุด 1,650 บาท สูงสุด 15,000 บาท

ผู้ประกันตน ม.39 จะได้รับความคุ้มครองค่ารักษาพยาบาลเหมือน ม.33 ในขณะที่ผู้ประกันตน ม.40 จะไม่ได้รับความคุ้มครองค่ารักษาพยาบาลจากประกันสังคม แต่สามารถใช้สิทธิจากหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) โดยสามารถขอรับเงินทดแทนการขาดรายได้เมื่อนอนโรงพยาบาลจากประกันสังคม วันละ 300 บาท และกรณีหยุดพักรักษาตัวที่บ้านตามความเห็นแพทย์ตั้งแต่ 3 วันขึ้นไป วันละ 200 บาท แต่หากพักรักษาตัวที่บ้านตามความเห็นแพทย์ ไม่เกิน 2 วัน ผู้ประกันตน ม.40 ทางเลือกที่ 1 และ 2 ก็สามารถขอรับเงินทดแทนการขาดรายได้ ครั้งละ 50 บาท ไม่เกิน 3 ครั้งต่อปี

ผู้ประกันตน ม.40 เฉพาะทางเลือกที่ 3 เท่านั้น ถึงจะสามารถขอรับเงินสงเคราะห์บุตรเหมาจ่ายเดือนละ 200 บาทต่อบุตรหนึ่งคน คราวละไม่เกิน 2 คน ตั้งแต่แรกเกิดไปจนถึงบุตรอายุ 6 ปีบริบูรณ์ (รวมสูงสุด 14,400 บาท)

ผู้ประกันตน ม.40 ทางเลือกที่ 2 และ 3 ที่มีอายุ 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป หากต้องการเกษียณอายุตนเอง สามารถแจ้งและหยุดส่งเงินสมทบเพื่อรับสิทธิประโยชน์ในรูปแบบเงินก้อน ซึ่งขึ้นอยู่กับจำนวนเงินที่ส่งสมทบและผลตอบแทนจากการลงทุนของประกันสังคม และสำหรับทางเลือกที่ 3 จะได้รับเพิ่มอีก 10,000 บาท หากส่งเงินสมทบประกันสังคมนานกว่า 15 ปีขึ้นไป

โดยทั่วไปแล้ว สิทธิประกันสังคมที่คาดว่าจะได้ใช้มากที่สุดคือ กรณีเจ็บป่วย ซึ่งหากคุณเป็นฟรีแลนซ์ที่ไม่ได้เป็นผู้ประกันตน ม.39 ก็อาจลองพิจารณาระหว่างส่งเงินสมทบประกันสังคม ม.40 สูงสุดปีละ 3,600 บาท (ทางเลือก 3) กับการซื้อประกันสุขภาพเพื่อคุ้มครองวงเงินค่ารักษาในสถานพยาบาลเอกชน แต่หากเงินที่ส่งสมทบไม่ใช่เงินที่มากมายเมื่อเทียบกับรายได้ การสมัครประกันสังคม ม. 40 ก็ถือว่าคุ้มค่า เพราะ ม.40 ทางเลือก 3 ยังได้รับสิทธิอื่นๆ เช่น เงินทดแทนรายวันยามเจ็บป่วย เงินสงเคราะห์รายเดือนเมื่อมีบุตร เป็นต้น นับได้ว่า ประกันสังคมเป็นอีกหนึ่งสวัสดิการของรัฐในภาคสมัครใจ ที่เหล่าฟรีแลนซ์ควรคิดถึง เพื่อให้อุ่นใจในวันที่ต้องใช้ ดีกว่าเสียใจที่เสียสิทธิ เพราะเสียดายเงิน 70 – 432 บาทต่อเดือน

หมายเหตุ: ศึกษาเพิ่มเติม ได้ที่สำนักงานประกันสังคม www.sso.go.th และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) www.nhso.go.th

สำหรับผู้ที่ต้องการเรียนรู้การวางแผนการเงิน เพื่อเตรียมพร้อมเรื่องเงินอย่างเป็นระบบให้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งใจไว้ สามารถเริ่มต้นด้วย e-Learning หลักสูตร “เงินทองต้องวางแผน” ได้ฟรี!!! >>> คลิกที่นี่

ท่านสามารถเลือกเนื้อหา รายการแบบฟอร์ม ได้โดยการคลิกจากหัวข้อด้านล่างนี้

  เลขที่เอกสาร รายการบัญชีรายชื่อแบบบัญชีรายชื่อระเบียบฯ ปี62บัญชีรายชื่อบัญชีรายชื่อผปตขอคืน(covid-19)บัญชีรายชื่อบัญชีรายชื่อผู้ประกันตนพร้อมจำนวนเงินที่ขอรับเงินคืน ฯ COVID19 (.docx)สปส. 1-01แบบขึ้นทะเบียนนายจ้างสปส. 1-02หนังสือนำส่งแบบขึ้นทะเบียนผู้ประกันตนสปส. 1-03แบบขึ้นทะเบียนผู้ประกันตนสปส. 1-04หนังสือนำส่งข้อมูลทะเบียนด้วยสื่อของสำนักงานประกันสังคมสปส. 1-05คำขอทำธุรกรรมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (สปส. 1-05) และข้อตกลงฯสปส. 1-10แบบรายการแสดงการส่งเงินสมทบ (สปส. 1-10) ส่วนที่ 1 และ ส่วนที่ 2สปส. 1-10/1หนังสือนำส่งเงินสมทบสปส. 1-11แบบส่งเงินสมทบผู้ประกันตนตามมาตรา 39สปส. 1-20แบบคำขอเป็นผู้ประกันตนมาตรา 39สปส. 1-20/1แบบคำขอกลับเป็นผู้ประกันตนสปส. 1-21แบบแจ้งการสิ้นสุดความเป็นผู้ประกันตนโดยสมัครใจสปส. 1-23/1แบบคำขอรับเงินคืน สำหรับนายจ้างเป็นผู้ยื่นขอสปส. 1-23/2แบบคำขอรับเงินคืน สำหรับผู้ประกันตนที่ทำงานกับนายจ้างหลายรายสปส. 1-23/3แบบคำขอรับเงินคืน สำหรับผู้ประกันตนโดยสมัครใจสปส. 1-24แบบคำร้องขอรับเงินไม่พึงชำระคืนสปส. 1-34แบบแจ้งการเปลี่ยนแปลงสถานที่ติดต่อสปส. 1-40/1แบบแจ้งการเปลี่ยนแปลงข้อเท็จจริงและทางเลือกการนำส่งเงินสมทบผู้ประกันตนตามมาตรา 40สปส. 1-40/2แบบแจ้งความจำนงไม่ประสงค์เป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 40สปส. 1-40/3แบบคำขอรับเงินสมทบล่วงหน้าคืน(กรณีผู้ประกันตนตามมาตรา 40 เสียชีวิต)สปส. 1-40/5แบบคำขอรับเงินไม่พึงชำระคืนผู้ประกันตนตามมาตรา 40สปส. 1-40/6แบบคำขอรับเงินสมทบ และเงินสมทบที่ผู้ประกันตนจ่ายล่วงหน้า กรณียกเลิกบำนาญชราภาพ (ผปต.40)สปส. 2-17/1แบบขอรับค่าบริการทางการแพทย์โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญพิเศษเฉพาะทางของผู้ป่วยประกันสังคม กรณีการรักษาโรคมะเร็งตามแนวทางที่กำหนดสปส. 2-18/1 งแบบคำขอรับค่าบริการทางการแพทย์กรณีค่าผ่าตัดเตรียมเส้นเลือดสาหรับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมสปส. 2-18/1 งแบบคำขอรับค่าบริการทางการแพทย์กรณีค่าผ่าตัดเตรียมเส้นเลือดสาหรับค่าผ่าตัดวางท่อรับส่งน้ายาเข้าออกช่องท้องสปส. 2-19แบบคำขอรับค่าบริการทางการแพทย์ของผู้ประกันตนที่ทุพพลภาพกองทุนประกันสังคม (สาหรับสถานพยาบาล)สปส. 6-09แบบแจ้งการลาออกของผู้ประกันตนสปส. 6-10แบบแจ้งการเปลี่ยนแปลงข้อเท็จจริงของผู้ประกันตนสปส. 6-14รายชื่อผู้ประกันตนที่ไม่ได้รับบัตรประกันสังคม (ใช้เฉพาะผู้ที่ยื่น สปส. 1-03 เกินกว่า 6 เดือน)สปส. 6-15แบบแจ้งการเปลี่ยนแปลงข้อเท็จจริงนายจ้างสปส. 6-16แบบขอรับใบแทนหนังสือสำคัญแสดงการขึ้นทะเบียนประกันสังคมสปส. 6-17คำขอรับใบแทนบัตรประกันสังคมสปส. 9-02แบบเลือกสถานพยาบาลในการรับบริการทางการแพทย์สปส.1-40แบบคำขอสมัครเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 40สปส.2-01/3สปส.2-01/ม.40แบบคำขอรับประโยชน์ทดแทนผู้ประกันตนตามมาตรา 40 (สปส.2-01/ม.40)หนังสือมอบอำนาจหนังสือมอบอำนาจ (สำหรับผู้ประกันตนตามมาตรา 40)หนังสือมอบอำนาจหนังสือมอบอำนาจ แบบคำร้องขอใบรายการรับเงินสมทบกองทุนประกันสังคมหนังสือมอบอำนาจหนังสือมอบอำนาจ (สำหรับผู้ประกันตนตามมาตรา 39)หนังสือมอบอำนาจหนังสือมอบอำนาจ (สำหรับสถานประกอบการ)แบบฟอร์มคำขอรับเงินทดแทนที่ได้ทดรองจ่ายคืนแบบฟอร์มแบบฟอร์มหนังสือยินยอมให้หักเงินจากบัญชีเงินฝากธนาคารของผู้ประกันตนตามมาตรา 40แบบฟอร์มแบบคำอุทธรณ์ตามพระราชบัญัติประกันสังคม พ.ศ 2533แบบฟอร์มหนังสือแสดงความจำนงขอรับเงินบำเหน็จชราภาพระหว่างปีโดยไม่ขอรับผลประโยชน์ตอบแทนแบบฟอร์มหนังสือรับรองการเป็นผู้จัดการศพแบบฟอร์มหนังสือยินยอมให้หักเงินจากบัญชีเงินฝากธนาคารของผู้ประกันตนตามมาตรา 39แบบฟอร์มคำร้องขอใบรายการรับเงินสมทบกองทุนประกันสังคมแบบฟอร์มคำขอแจ้งข้อมูลข่ำวสำรผ่ำนระบบบริกำรส่งข้อควำมผ่ำนทำงโทรศัพท์มือถือ SMSแบบฟอร์มหนังสือระบุให้เป็นผู้มีสิทธิรับเงินสมทบล่วงหน้าคืน (กรณีผู้ประกันตนตามมาตรา 40 เสียชีวิต)แบบฟอร์มแบบหนังสือระบุให้เป็นผู้มีสิทธิรับเงินสงเคราะห์กรณีตาย (ผปต.มาตรา 40)แบบฟอร์มแบบหนังสือระบุให้เป็นผู้มีสิทธิรับเงินบำเหน็จชราภาพ (ผปต.มาตรา 40)แบบฟอร์มแบบคำขอส่งเงินสมทบของผู้ประกันตนตามมาตรา 39 โดยหักบัญชีเงินฝากธนาคาร

Insso, sss, ประกันสังคม, แบบฟอร์ม

ประกันสังคมมาตรา 40 สามารถยกเลิกได้ไหม

ม. 40 เราอยากจ่ายตอนไหนก็ได้ครับไม่มียกเลิก แต่ถ้าอยากให้มีสิทธิเบิกสิทธิประโยชน์ต้องส่งเงินให้ครบจำนวนตามที่กำหนดไว้ครับ เช่น 3 เดือน 6 เดือน ต่อเนื่องกัน

ประกันสังคมม.40ขาดส่งได้กี่เดือน

โฆษกสำนักงานประกันสังคม เน้นย้ำว่า กรณีสมัครประกันสังคมมาตรา 40 ไว้ และไม่ได้จ่ายเงินสมทบอีกเลย สถานะยังคงเป็นผู้ประกันตน มาตรา 40 อยู่ แต่ขาดสิทธิรับเงินกรณีต่างๆ กรณีเช่นนี้ไม่จำเป็นต้องส่งย้อนหลัง แต่สามารถส่งเงินสมทบล่วงหน้าได้ 12 เดือน ส่วนวิธีป้องกันการลืมจ่ายเงินสมทบสามารถดำเนินการขอหักบัญชีธนาคารที่เข้าร่วม ...

ลาออกจากประกันสังคมที่ไหน

1.ต้องยื่นใบสมัครตามแบบคำขอเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 39. (แบบ สปส. 1-20) ด้วยตนเอง ภายใน 6 เดือน นับแต่วันที่ลาออกจากงาน 2.สถานที่ยื่นใบสมัคร ยื่นได้ที่สำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่ / จังหวัด / สาขา (ยกเว้นสำนักงานใหญ่บริเวณกระทรวงสาธารณสุข)

ประกันสังคม ม.40 ได้เงินคืนตอนไหน

สำหรับผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ที่นำส่งเงินสมทบไว้เกินจำนวนที่ต้องชำระ สำนักงานประกันสังคม จะโอนคืนเงินสมทบ ผ่านบัญชีพร้อมเพย์ที่ผูกกับเลขบัตรประจำตัวประชาชนโดยมีกำหนดวันโอนดังนี้ ผู้ที่ผูกบัญชีก่อนวันที่ 1 ส.ค. 2565 จะได้รับการคืนเงินผ่านบัญชีพร้อมเพย์ ระหว่างวันที่ 8-11 ส.ค. 2565.