ข้อสอบ สังคมชมพูทวีป พร้อม เฉลย

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ รายวิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชั้น ม.๔ เรื่อง ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา

รวบรวมโดย คุณครูประภาพร พลไชย

  1. สภาพสังคมชมพูทวีปมีส่วนช่วยให้เจ้าชายสิทธัตถะออกบวชอย่างไร

    1.   ?    สังคมมีระบบวรรณะ
    2.   ?    มีความเชื่อเรื่องการบูชายันต์ที่เบียดเบียนสัตว์
    3.   ?    การแสวงหาสัจธรรมยังไม่ใช่หนทางพ้นทุกข์
    4.   ?    สถานที่ที่ไปเป็นทุกข์ มีความเป็นอยู่แตกต่างกันมาก
  2. กรุงกบิลพัสดุ์อยู่ในแคว้นใดของมัฌชิมประเทศ

    1.   ?    แคว้นโกศ
    2.   ?    แคว้นมคธ
    3.   ?    แคว้นสักกะ
    4.   ?    แคว้นโกลิยะ
  3. การปกครองแบบสามัคคีธรรมในการบริหารประเทศจะประสบความสำเร็จต้องใช้หลักธรรมใด

    1.   ?    สาราณียธรรม
    2.   ?    อปริหานิยธรรม
    3.   ?    อหิงสา
    4.   ?    ทศพิธราชธรรม
  4. มีความเชื่อว่าวรรณะกษัตริย์ คือ พวกนักปกครอง สร้างขึ้นจากส่วนใดของพระพรหม

    1.   ?    พระพาหา
    2.   ?    พระโอษฐ์
    3.   ?    พระบาท
    4.   ?    พระอุรุ
  5. พระพุทธเจ้าทรงเตือนพวกพราหมณ์อย่างไรในเรื่องวรรณะ

    1.   ?    คนดีชั่วอยู่ที่ชาติตระกูล
    2.   ?    คนดีชั่วอยู่ที่การกระทำ
    3.   ?    พราหมณ์ที่แท้คือผู้ละกิเลสได้
    4.   ?    พราหมณ์ที่แท้คือผู้อยู่ในวรรณะพราหมณ์

ข้อสอบหลงั เรียนหนว่ ยที่ 1 เร่อื ง สภาพสังคมชมพทู วปี และคตคิ วามเช่ือสมยั ก่อน พระพุทธเจา้ โรงเรียนเบญจมราชูทศิ จงั หวัดจันทบรุ ี สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 17

ขอ้ สอบหลงั เรยี น หนว่ ยที่ 1 เรอื่ ง สภาพสงั คมชมพูทวปี และคตคิ วามเชื่อสมัยก่อนพระพุทธเจ้า จงทำเคร่ืองหมาย X หน้าตวั อกั ษร ก,ข,ค,ง ทเี่ ป็นคำตอบทถี่ กู ที่สุด เพยี งคำตอบเดยี ว 1. ดินแดนชมพูทวปี หรอื อนิ เดียโบราณกอ่ นสมยั พุทธกาล มีสภาพการเมืองการปกครองเปน็ อยา่ งไร 1. เป็นจักรวรรดิอนั หนึง่ อนั เดยี วกนั 2. เป็นศาสนจักรทมี่ นี ักบวชเปน็ ผปู้ กครอง 3. เปน็ สงั คมชนเผ่าเร่รอ่ นไม่มอี าณาเขตแนน่ อน 4. แบง่ แยกเปน็ แควน้ อิสระจำนวนมากไมข่ ึ้นตอ่ กนั 2. แควน้ ทม่ี กี ารปกครองแบบสามัคคธี รรม อำนาจในการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ เป็นสณั ฐาคาร เปรยี บเทยี บได้กับขอ้ ใดในปจั จบุ นั 1. รัฐสภา ข. นายกรฐั มนตรี 3. ประธานาธบิ ดี ง. สมเดจ็ พระสังฆราช 3. แคว้นใหญใ่ นดนิ แดนชมพูทวปี มกี ษัตรยิ ์เปน็ ผปู้ กครองและมอี ำนาจสูงสดุ ในแผน่ ดนิ มกี ารสืบสันติวงศ์โดยรชั ทายาท เป็นการปกครองระบอบใด 1. สามคั คธี รรม ข. คณาธปิ ไตย 3. ประชาธิปไตย ง. สมบูรณาญาสิทธริ าชย์ 4. ขอ้ ใด ไม่ใช่ สภาพสังคมชมพูทวปี กอ่ นสมยั พุทธกาล 1. มีการแบง่ ชนชน้ั ข. มคี วามเสมอภาคทางสงั คม 3. เป็นสังคมเกษตรกรรมแบบยงั ชีพ ง. มลี ัทธิความเชือ่ ทางศาสนามากมาย 5. ศาสนาหรือกลุ่มชนขอ้ ใด เปน็ ผสู้ รา้ งระบบวรรณะขึ้นในสงั คมอนิ เดียโบราณ กอ่ นสมัยพุทธกาล 1. ศาสนาเชน ข. ศาสนาพราหมณ์ 3. ชนพืน้ เมืองดราวเิ ดียน ง. ชนชนั้ ปกครองชนเผา่ อารยนั 6. วรรณะใดในสังคมอินเดยี โบราณกอ่ นสมัยพทุ ธกาล เชอื่ ว่าจากเทา้ ของพระพรหม 1. พราหมณ์ ข. กษัตรยิ ์ 3. แพศย์ ง. ศูทร 7. พระพุทธเจา้ ทรงมที ศั นะความเชอ่ื ที่แตกตา่ งจากลัทธิต่างๆ ดังน้ี ยกเวน้ ขอ้ ใด ไม่ใช่ 1. บาปบุญมจี รงิ ข. พึงระเวน้ การเบียดเบยี นกัน 3. ทำพธิ ีบชู ายัญเพอื่ ล้างบาป ง. สิ่งท้ังหลายย่อมเกิดจากเหตุ

8. พระสิทธตั ถะทรงมจี ดุ มงุ่ หมายใด ในการเสดจ็ ออกผนวชเม่ือทรงมพี ระชนมไ์ ด้ 29 พรรษา 1. การแสวงหาความสขุ ทางโลก 2. ตัดทง้ิ ภาระเลี้ยงดพู ระโอรสราหลุ 3. แสวงหาหนทางดบั ทุกขใ์ หม้ วลมนษุ ย์ 4. ต้องการเห็นการเกดิ แก่ เจ็บ ตายของมนุษย์ 9. เจ้าชายสิทธัตถะทรงมที ศั นะตอ่ สภาพสังคมอนิ เดยี สมัยนน้ั ดงั น้ี ยกเวน้ ข้อใด 1. พวกพราหมณ์สอนให้คนมคี วามเช่ือท่ีผิด 2. ความเชอ่ื เรอื่ งพรหมลขิ ติ ทำให้สงั คมสงบสุข 3. ระบบวรรณะสรา้ งความไมเ่ ป็นธรรมในสังคม 4. ผคู้ นประสบปัญหาความทกุ ขใ์ นลกั ษณะตา่ งๆ 10. เม่อื ทรงผนวชแล้ว เจา้ ชายสทิ ธตั ถะเรม่ิ ฝกึ ปฏิบัติกบั สำนกั อาจารยข์ อ้ ใดก่อนเปน็ อันดบั แรก 1. ตกั ศิลา ข. วศิ วามิตร 3. ปญั จวคั คีย์ ง. อาฬารดาบสและอทุ ทกดาบส 11. พระพทุ ธเจา้ ตรสั รโู้ ดยทรงใชว้ ิธปี ฏบิ ตั ิในขอ้ ต่อไปน้ี ยกเว้น ข้อใด 1. บำเพญ็ เพียรทางจติ ข. เจรญิ สมาธิแน่วแน่ 3. ใชป้ ัญญาคดิ คน้ หาคำตอบ ง. เดนิ ธุดงธ์และเดินจงกนมในปา่ 12. กอ่ นตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจา้ ทรงบำเพญ็ เพยี รทางจิตจนบรรลุญาณขน้ั สุดทา้ ย เรยี กวา่ “อาสวักขยญาณ” หมายถึงข้อใด 1. ระลึกชาตไิ ด้ 2. รแู้ จ้งถงึ สาเหตุและการทำให้สิน้ กเิ ลส 3. รใู้ นสง่ิ ทเี่ ป็นเหตแุ ละผลซ่ึงกันและกนั 4. รู้ถงึ การเกดิ การตายของสตั ว์โลกทัง้ ปวงดุจมีตาทิพย์ 13. เมื่อตรสั ร้แู ลว้ ทรงเรยี กพระองคว์ า่ “สมั มาสมั พุทธะ” หมายความว่าอยา่ งไร 1. ผู้รู้ ผู้ต่นื ผเู้ บกิ บาน ข. ผู้ปฏิบัตทิ างสายกลาง 3. ผตู้ รัสรู้ดว้ ยพระองคเ์ องโดยชอบ ง. ผูน้ ำเวไนยสัตวใ์ หพ้ น้ จากกองทุกข์ 14. เพราะเหตใุ ด พระพุทธเจ้าทรงเหน็ วา่ ปัญจวคั คียท์ งั้ 5 สมควรได้ฟงั ธรรมทต่ี รสั รกู้ อ่ นเป็นพวกแรก 1. มนี ิสัยดอ้ื รั้นและถือตัว ข. เป็นพราหมณ์ท่ีมผี คู้ นนับถอื มาก 3. เคยปรนนบิ ตั ริ บั ใชพ้ ระพุทธเจ้ามาก่อน ง. มีสติปัญญาและความพรอ้ มที่จะรบั รู้ 15. พระธรรมท่ีพระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนาแก่ปญั จวัคคีย์ เรยี กว่าอย่างไร 1. เตภูมกิ ถา ข. โอวาทปาฏิโมกข์ 3. อนัตตลักขณสตู ร ง. ธัมจักกัปปวัตนสตู ร

16. ข้อใด ไมใ่ ช่ สาระสำคัญของธมั จักกปั ปวัตนสตู ร 1. โมกษะคอื การหลดุ พน้ จากสงั สารวฏั หริอเวยี นเทยี น 2. การปฏิบตั แิ นวทางสดุ โต่งดบั ทกุ ขไ์ มไ่ ด้ 3. ทรงชห้ี นทางแหง่ การดบั ทุกขต์ อ้ งเดินสายกลาง 4. ทรงอธบิ ายหลกั ธรรมอรสิ ัจ 4 17. วัดแห่งแรกในพระพุทธศาสนา สรา้ งโดยพระเจา้ พมิ พสิ าร เพอ่ื เปน็ ถวายเปน็ ทจ่ี ำพรรษาของพระพุทธเจ้า คือขอ้ ใด 1. วดั เชตุวนั ข. วัดบุพพาราม 3. วัดเวฬวุ นั ง. วัดมหรรณพาราม 18. พุทธบริษทั 4 หมายถึงข้อใด 1. ภกิ ษุ ภิกษณุ ี สามเณร สามเณรี 2. บุคคล 4 กลุ่มทเ่ี รยี นรู้พระธรรมเรว็ หรือช้าไม่เท่ากนั 3. บคุ คล 4 ประเภทท่ชี ่วยจรรโลงพระพุทธศาสนาให้ยั่งยนื 4. พระสงฆส์ าวก 4 รูปทีบ่ รรลมุ รรคผลเปน็ อรหันตพ์ รอ้ มกนั 19. ก่อนเสดจ็ ดบั ขนั ธ์ปรนิ พิ พาน พระพทุ ธเจ้าทรงประกาศให้พทุ ธบรษิ ัทยดึ ถอื สงิ่ ใดเปน็ ตวั แทนของพระศาสดา 1. พระพุทธรูป ข. พระธรรมวินบั 3. พระรัตนตรยั ง. พระอรยิ สงฆท์ ่มี พี รรษาสงู สุด 20. ในวันขน้ึ 15 คำ่ เดอื น 6 ปีท่ีพระพุทธเจา้ มพี ระชนม์ 80 พรรษา เกดิ เหตุการณ์สำคัญข้อใด 1. เสด็จดบั ขนั ธ์ปรนิ พิ พาน ข. ทรงสร้างมหาเจดียพ์ ทุ ธคยา 3. สังคายนาพระธรรมวินยั ครงั้ แรก ง. ทรงแสดงธรรมอนันตลักขสูตร 21. การฝึกฝนตนเองอยา่ งสูงสดุ ของพระพทุ ธเจ้า ตั้งแตเ่ สด็จออกผนวชจนตรสั รู้เป็นพรสมั มาสมั พทุ ธเจ้า ทรงใชธ้ รรมขอ้ ใด 1. ทานและใหอ้ ภัย ข. เมตตาและความอดทน 3. กตญั ญแู ละความมีสติ ง. ปัญญาและความเพยี ร 22. ข้อใด แสดงว่าพระพุทธเจ้าทรงผา่ นการฝกึ อบรมและพฒั นาตนเองอยา่ งสูงสุดมาแลว้ 1. ตรัสรูเ้ ป็นพระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ 2. เทศนาให้พระสงฆ์สาวกบรรลุเปน็ พระอรหนั ต์ 3. บำเพญ็ ทกุ รกิรยิ าและบำเพ็ญเพียรทางจติ 4. แสดงธรรมเผยแพร่พระศาสนาไปท่วั ดินแดนชมพูทวปี

23. พระพทุ ธเจ้าทรงมีทศั นะในการฝกึ ฝนพฒั นาตนเองอย่างสูงสดุ ดังน้ี ยกเวน้ ข้อใด 1. มนุษยม์ ีความสามารถฝกึ ฝนพัฒนาตนเอง 2. ชาวพทุ ธตอ้ งพฒั นาตนเองท้งั ด้านปญั ญาและจิตใจควบคูก่ ัน 3. สิง่ ศกั ดส์ิ ทิ ธ์เิ ปน็ เหตแุ ละปจั จยั ทำใหพ้ ฒั นาตนเองได้อย่างสูงสุด 4. การพฒั นาตนเองต้องใชค้ วามเพียร อดทน และปัญญาในการคิด 24. หลกั การสอนทีด่ ขี องพระพทุ ธเจา้ ขอ้ ใด ทำใหช้ าวพุทธเกดิ แรงจงุ ใจอยากนำไปปฏิบตั ิ 1. อธบิ ายให้เข้าใจชัดเจน ข. บอกถึงผลดที ไ่ี ดร้ บั 3. ทำใหผ้ ูฟ้ งั รู้สกึ สดชนื่ แจ่มใส ง. กระตุ้นใหเ้ ชอ่ื วา่ สามารถทำได้ 25. เทคนิคการสอนทีด่ ีของพระพทุ ธเจ้า ขอ้ ใดเกิดจากทัศนะท่ีทรงเปรยี บบคุ คลเหมือนดอกบวั สีเ่ หล่า 1. มีการลงโทษและใหร้ างวลั 2. วางพระองคใ์ หเ้ ปน็ แบบอย่างทดี่ ี 3. มีวิธีสอนท่ียดื หยุ่นตามสถานการณแ์ ละบุคคล 4. เลอื กใช้อบุ ายในการสอนใหเ้ หมาะสมนสิ ัยของแตล่ ะบคุ คล 26. การบรหิ ารคณะสงฆใ์ นสมยั พุทธกาลมลี กั ษณะเป็นประชาธิปไตย พระพุทธเจา้ ทรงกระจายอำนาจการปกครองให้คณะสงฆ์ในพ้นื ท่ีตา่ งๆ ดำเนนิ การดงั นี้ ยกเว้น ข้อใด 1. บัญญตั ิวินัยสงฆเ์ พิม่ ขน้ึ 2. พระพุทธรปู และพระไตรปฏิ ก 3. ดแู ลบรหิ ารจัดการวดั ใหเ้ ปน็ ระเบยี บ 4. ยึดพระธรรมวินยั เสมือนเปน็ ธรรมนญู การปกครอง 27. พระพทุ ธเจ้าทรงกำหนดหรอื บญั ญัติขอ้ ใด เพื่อธำรงรักษาพระพทุ ธศาสนาใหย้ ัง่ ยืน 1. พธิ ีบรรพชาและอปุ สมบท ข. พระพทุ ธรูปและพระไตรปฏิ ก 3. วินัยสงฆแ์ ละหน้าทีข่ องพทุ ธบรษิ ัท ง. พิธกี รรมและประเพณที างพุทธศาสนา 28. การบญั ญัติพระธรรมวนิ ัยในครัง้ พทุ ธกาลเกิดจากปฐมสาเหตขุ อ้ ใด ทำใหต้ อ้ งนำมาพจิ ารณากอ่ น 1. เกิดจากญาณทศั นะของพระพทุ ธเจ้า 2. เมอื่ มพี ระภกิ ษปุ ระพฤตติ นเสื่อมเสยี 3. เกดิ จากขอ้ เรยี กร้องของเหลา่ พทุ ธบริษทั 4. เมือ่ มพี ระพุทธเถระเสนอความเหน็ ใหท้ รงพิจารณา 29. พระพทุ ธเจา้ ทรงเตอื นใหพ้ ุทธบรษิ ทั ชว่ ยกนั ธำรงรักษาพระพุทธศาสนาใหย้ งั่ ยนื โดยเคารพและยดึ ม่ันในเหตแุ ห่งความเจรญิ ของพระศาสดาดงั นี้ ยกเว้น ข้อใด 1. พระรตั นตรยั ข. ความไมป่ ระมาท 3. พิธกี รรมทางศาสนา ง. ฝึกฝนอบรมตามหลักไตรสกิ ขา

30. พระพุทธเจา้ ทรงบัญญตั ิใหม้ ี ปาราชกิ 4 ซง่ึ เปน็ อาบตั หิ นักทสี่ ดุ ทำให้พระภกิ ษตุ อ้ งลาสิกขาบทและไม่อาจกลับมาบวชใหม่ได้ดงั นี้ ยกเว้น ขอ้ ใด 1. เสพเมถุ ข. ฆา่ มนษุ ยใ์ หต้ าย 3. ลกั ขโมยของผูอ้ ่ืน ง. ไม่อยู่จำกดั วัดชว่ งฤดูเขา้ พรรษา