กิจกรรมโลจิสติกส์ขาเข้าและโลจิสติกส์ขาออกมีความสำคัญอย่างไร

          เมื่อมองกิจกรรมโลจิสติกส์ของผู้ผลิต (Logistics of Manufacturer) ในกรอบไข่ปลาเล็กด้านซ้าย เราจะเห็นว่าการดำเนินกิจกรรมโลจิสติกส์เริ่มจากการรับส่วนประกอบหรือวัตถุดิบจาก Suppliers เข้ามาเพื่อทำการผลิตสินค้า จนถึงการส่งสินค้าที่ผลิตเรียบร้อยแล้วสู่คลังกระจายสินค้า (Distribution Center) โลจิสติกส์ของผู้กระจายสินค้า (Logistics of Distribution Center) ในกรอบเส้นไข่ปลาใหญ่ เริ่มตั้งแต่การรับสินค้าจากโรงงาน การบริหารจัดการกระจายสินค้า และการส่งสินค้าไปยังผู้ค้าส่ง ส่วนโลจิสติกส์สำหรับผู้ค้าปลีก(Logistics of Retailer) นับตั้งแต่ผู้ค้าส่งส่งของไปยังชั้นโชว์ของผู้ค้าปลีก จนกระทั่งผู้บริโภคไปเลือกซื้อมา

หากกำลังมองหาบริการ Fulfillment หรือคลังสินค้าครบวงจร เพื่อช่วยในการแพ็คสินค้า และจัดส่ง จะต้องเจอคำว่า Inbound และ Outbound อย่างแน่นอน บทความนี้จะพาไปดูความหมาสยของสองคำนี้ เพื่อเข้าใจคำศัพท์ของ Logistics ให้มากขึ้นก่อนเริ่มใช้งานกันเลย..

Inbound คืออะไร?

กิจกรรมโลจิสติกส์ขาเข้าและโลจิสติกส์ขาออกมีความสำคัญอย่างไร
กิจกรรมโลจิสติกส์ขาเข้าและโลจิสติกส์ขาออกมีความสำคัญอย่างไร

กระบวนการ Inbound ใน Fulfillment หมายถึง การที่ผู้ประกอบการนำสินค้ามาสต๊อกไว้ที่คลังสินค้าครบวงจร โดยเกิดขึ้นหลังจากมีการสมัครใช้งาน หรือเซ็นต์สัญญาการใช้บริการกับคลังนั้น ๆ เรียบร้อยแล้ว และจึงนัดวันเพื่อทำการส่งมอบสินค้ามายังคลังเพื่อทำการเซตระบบ Fulfillment ระบุจำนวนสต๊อก หรือจำนวนสินค้าคงคลังเพื่อติดตามเช็คสต๊อกสินค้าและสถานะการจัดส่งได้ในระบบ และเตรียมเข้าสู่การรับคำสั่งซื้อและแพ็คพร้อมส่งต่อไป (อ่านเพิ่มเติม > เปิดทุกขั้นตอนในคลังสินค้าครบวงจร สินค้าเข้าคลังแล้วทำอะไรต่อบ้าง?)

Outbound คืออะไร?

กิจกรรมโลจิสติกส์ขาเข้าและโลจิสติกส์ขาออกมีความสำคัญอย่างไร
กิจกรรมโลจิสติกส์ขาเข้าและโลจิสติกส์ขาออกมีความสำคัญอย่างไร

หลายท่านสงสัยว่ากิจกรรม Outbound คืออะไร? การ Outbound ใน Fulfillment หมายถึง กระบวนการขาออก โดยเกิดขึ้นหลังจากสินค้ามีการ Inbound หรือนำเข้าคลังเรียบร้อยแล้ว เมื่อมีออเดอร์เข้ามาจากแต่ละแพลตฟอร์ม และลงระบบ Fulfillment ที่ใช้งานเรียบร้อยแล้ว กระบวนการหลังจากนั้น นั่นคือการที่คลังได้รับออเดอร์ และแพ็คสินค้า ส่งมอบให้กับขนส่งชั้นนำ นั่นคือกระบวนการขาออก หรือส่งออกจากคลังไปถึงมือผู้รับปลายทางนั่นเอง (อ่านเพิ่มเติม > บริษัทขนส่งที่คลัง Boxme มีขนส่งไหนบริการบ้าง!?)

ความแตกต่างระหว่างโลจิสติกส์ขาเข้าและขาออก

กิจกรรมโลจิสติกส์ขาเข้าและโลจิสติกส์ขาออกมีความสำคัญอย่างไร
กิจกรรมโลจิสติกส์ขาเข้าและโลจิสติกส์ขาออกมีความสำคัญอย่างไร

  1. โลจิสติกส์ขาเข้าเป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการนำสินค้าเข้ามาเก็บคงคลัง ส่วนโลจิสติกส์ขาออกเป็นกระบวนการกระจายสินค้าไปยังลูกค้าหรือผู้บริโภค หรือส่งมอบให้กับขนส่ง
  2. ส่วนโลจิสติกส์ขาออกนั้นมุ่งเน้นในด้านการนำสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ส่งมอบให้ขนส่งไปยังลูกค้าหรือผู้บริโภค
  3. โลจิสติกส์ขาเข้าเป็นกิจกรรมที่ต้องมีการจัดการด้านความสัมพันธ์ระหว่างผู้ประกอบการ และคลังสินค้า (Fulfillment) ส่วนโลจิสติกส์ขาออกเป็นการจัดการด้านความสัมพันธ์ระหว่าง คลัง Fulfillment กับขนส่งเพื่อส่งมอบให้กับลูกค้าหรือผู้บริโภคปลายทาง

การวางแผนการบริหารจัดการคลังสินค้า (Fulfillment)

กิจกรรมโลจิสติกส์ขาเข้าและโลจิสติกส์ขาออกมีความสำคัญอย่างไร
กิจกรรมโลจิสติกส์ขาเข้าและโลจิสติกส์ขาออกมีความสำคัญอย่างไร

เป็นยุทธศาสตร์สำคัญที่ช่วยให้ธุรกิจประสบความสำเร็จสามารถต่อสู้กับคู่แข่งขันได้ การบริหารจัดการคลังสินค้าต้องมีองค์ประกอบการสำคัญหลายอย่างเข้ามาร่วมด้วย และด้วยความซับซ้อนที่ต้องการให้การบริหารมีคุณภาพที่ดี ต้องอาศัยระบบการทำงานที่มีคุณภาพ มีระบบเทคโนโลยี อุปกรณ์เครื่องมือที่ทันสมัย และบุคลากรที่เป็นมืออาชีพ ทั้ง 3 สิ่งนี้ต้องทำงานสอดคล้องประสานกันเพื่อให้เกิดความแม่นยำในการทำงาน (อ่านเพิ่มเติม > ทำความรู้จักกับระบบ Fulfillment เก็บ แพ็ค ส่งสินค้า ช่วยลดต้นทุนธุรกิจ E-Commerce)

บริการ Fulfillment หรือคลังสินค้าครบวงจร

กิจกรรมโลจิสติกส์ขาเข้าและโลจิสติกส์ขาออกมีความสำคัญอย่างไร
กิจกรรมโลจิสติกส์ขาเข้าและโลจิสติกส์ขาออกมีความสำคัญอย่างไร

คลังสินค้าครบวงจร  Boxme Thailand ให้บริการในด้าน Fulfillement ทั้งจัดเก็บสินค้าในคลัง พร้อมแพ็คจัดส่ง โดยขนส่งชั้นนำทั่วประเทศ ให้คุณดูแลจัดการธุรกิจออนไลน์ของคุณได้ง่ายยิ่งขึ้น

สนใจใช้บริการสต๊อกสินค้าพร้อมแพ็ค จัดส่ง

ติดต่อเจ้าหน้าที่โดยตรง เพื่อขอรับรายละเอียดเพิ่มเติมโทร 02-026-3165 หรือ > ขอรับใบเสนอราคา < กดที่นี่

ข้อใด คือ กิจกรรมของโลจิสติกส์ขาเข้า (Inbound Logistics)

กิจกรรมโลจิสติกส์ขาเข้า (Inbound Logistics) ประกอบด้วย การจัดหาและจัดการวัตถุดิบหรือการจัดซื้อการขนย้าย การบริหารคลังสินค้าหรือลานเทกอง การบริหารการเงิน-ข้อมูล-คำสั่งซื้อ กิจกรรมด้านกระบวนการผลิต (Operation) ได้แก่ การวางแผนการผลิต

กิจกรรมโลจิสติกส์ขาเข้า (Inbound Logistics) และ กิจกรรมโลจิสติกส์ขาออก (Outbound Logistics) มีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร

ความแตกต่างระหว่างโลจิสติกส์ขาเข้าและขาออก โลจิสติกส์ขาเข้าเป็นกิจกรรมที่ต้องมีการจัดการด้านความสัมพันธ์ระหว่างผู้ประกอบการ และคลังสินค้า (Fulfillment) ส่วนโลจิสติกส์ขาออกเป็นการจัดการด้านความสัมพันธ์ระหว่าง คลัง Fulfillment กับขนส่งเพื่อส่งมอบให้กับลูกค้าหรือผู้บริโภคปลายทาง

โลจิสติกส์ขาเข้า มีอะไรบ้าง

โลจิสติกส์ขาเข้า (Inbound Logistics) หมายถึง กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดหา การจัดเก็บ และการส่งมอบวัตถุดิบและชิ้นส่วนไปยังกระบวนการผลิตในโรงงานหรือธุรกิจต่างๆ โลจิสติกส์ขาเข้า เป็นกิจกรรมพื้นฐานที่มุ่งเน้นในเรื่องของการจัดซื้อจัดหาการกำหนดตารางการไหลเข้าของวัตถุดิบ เครื่องมือ และสินค้าขั้นสุดท้ายจากผู้จำหน่ายวัตถุดิบ ...

โลจิสติกส์ขาเข้าและโลจิสติกส์ขาออกเกี่ยวข้องกับการผลิตอย่างไร

โลจิสติกส์ขาเข้า (Inbound Logistics) เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนย้ายจากจุดต้นทางหรือการ เคลื่อนย้ายวัตถุดิบจากแหล่งวัตถุดิบเข้าสู่กระบวนการผลิต ณ โรงงานผู้ผลิตสินค้า ส่วนโลจิสติกส์ขาออก (Outbound Logistics) เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนย้ายสินค้าส าเร็จรูปหรือผลิตภัณฑ์จากโรงงานผู้ผลิต ไปยังจุดปลายทาง ...