การกระทำ ทุกกรกิริยา ในขั้นใดถือว่ามีความยากมากที่สุด

พระมหาบุรุษเสด็จเข้าสำนักดาบส-เริ่มทรงบำเพ็ญทุกกรกิริยา

ลำดับนั้น พระมหาบุรุษก็เสด็จจาริกจากที่นั้น ไปสู่สำนักอาฬารดาบส กาลามโคตร
ซึ่งสร้างอาศรมอยู่ในพนาสณฑ์ตำบลหนึ่ง ขอพำนักศึกษาวิชาและข้อปฏิบัติอยู่
ทรงศึกษาอยู่ไม่นาน ก็ได้สำเร็จสมาบัติ ๗ คือ รูปฌาน ๔ อรูปฌาน ๓ สิ้นความรู้ของอาฬารดาบส

ทรงเห็นว่าธรรมเหล่านี้มิใช่ทางตรัสรู้ จึงได้อำลาอาฬารดาบส
ไปสู่สำนักอุทกดาบส รามบุตร ขอพำนักศึกษาอยู่ด้วย ทรงศึกษาไดอรูปฌาน ๔ ครับสมาบัติ ๘
สิ้นความรู้ของอุทกดาบส ครั้นทรงไตร่ถามถึงธรรมวิเศษขึ้นไป อุทกดาบสก็ไม่สามารถจะบอกได้
และได้ยกย่องตั้งพระมหาบุรุษไว้ในที่เป็นอาจารย์เสมอด้วยตน

การกระทำ ทุกกรกิริยา ในขั้นใดถือว่ามีความยากมากที่สุด

แต่พระมหาบุรุษทรงเห็นว่า ธรรมเหล่านี้มิใช่ทางตรัสรู้
จึงได้อำลาอาจารย์ออกแสวงหาธรรมวิเศษสืบไป ทั้งมุ่งพระทัยจะทำความเพียรโดยลำพังพระองค์เดียว
ได้เสด็จจาริกไปยังมคธชนบท บรรลุถึงตำบลอุรุเวลา เสนานิคม ได้ทอดพระเนตรเห็นพื้นที่ราบรื่น
แนวป่าเขียวสด เป็นที่เบิกบานใจ แม่น้ำไหล มีน้ำใสสะอาด มีท่าน่ารื่นรมณ์ โคจรคาม
คือ หมู่บ้านที่อาศัยเที่ยวภิกษาจาร ก็ตั้งอยู่ไม่ไกล ทรงเห็นว่าประเทศนั้น
ควรเป็นที่อาศัยของกุลบุตรผู้มีความต้องการด้วยความเพียรได้ จึงเสด็จประทับอยู่ ณ ที่นั้น

ส่วนบรรพชิตทั้ง ๕ อันมีนามว่า ปัญจวัคคีย์ คือ พระโกณทัญญะ
พระวัปปะ พระภัททิยะ พระมหานามะ พระอัสสชิ พากันเที่ยวติดตามพระมหาบุรุษในที่ต่าง ๆ
จนไปประสบพบพระมหาบุรุษยังตำบลอุรุเวลา เสนานิคม จึงพากันเข้าไปถวายอภิวาทแล้ว
อยู่ปฏิบัติบำรุง จัดทำธุระกิจถวายทุกประการ โดยหวังว่าเมื่อพระองค์ได้ตรัสรู้แล้ว จะได้แสดงธรรมโปรดตนบ้าง

พระมหาบุรุษทรงเริ่มทำทุกกรกิริยา ซึ่งเป็นปฏิปทาที่นิยมว่าเป็นทางให้ตรัสรู้ได้ในสมัยนั้น
โดยทรมานพระกายให้ลำบาก ซึ่งเป็นกิจยากที่บุคคลจะกระทำได้ ด้วยการทรมานเป็น ๓ วาระ ดังนี้

วาระแรก ทรงกดพระทนต์(ฟัน)ด้วยพระทนต์
กดพระตาลุ(เพดานปาก)ุด้วยพระชิวหา(ลิ้น)ไว้ให้แน่น จนพระเสโท(เหงื่อ)ไหลจากพระกัจฉะ(รักแร้)
ในเวลานั้นได้เสวยทุกขเวทนาอันกล้า เปรียบเหมือนบุรุษมีกำลัง
จับบุรุษมีกำลังน้อยไว้ที่ศรีษะ หรือที่คอ บีบให้แน่น ฉะนั้น
แม้พระกายจะกระวนกระวายไม่สงบระงับอย่างนี้ ทุกขเวทนานั้นก็ไม่อาจครอบงำพระหฤทัยให้กระสับกระส่าย
พระองค์มีพระสติมั่น ไม่ฟั่นเฟือน ปรารภความเพียรไม่ท้อถอย ครั้นทรงเห็นว่า
การกระทำอย่างนั้น ไม่ใช่ทางตรัสรู้ จึงทรงเปลี่ยนวิธีอื่นต่อไป

วาระที่ ๒ ทรงผ่อนกลั้นลมอัสสาสะปัสสาสสะ(ลมหายใจเข้าออก)
เมื่อลมไม่ได้ทางเดินสะดวก โดยช่องพระนาสิก(จมูก)และช่องพระโอฐ(ปาก)
ก็เกิดเสียงดังอู้ทางช่องพระกรรณ(หู)ทั้งสอง ให้ปวดพระเศียร(หัว) ร้อนในพระกายเป็นกำลัง
แม้จะได้เสวยทุกขเวทนากล้าถึงเพียงนี้ ทุกขเวทนานั้น ก็ไม่อาจครอบงำพระหฤทัยให้กระสับกระส่าย
มีพระสติตั้งมั่นไม่ฟั่นเฟือน ปรารภความเพียรไม่ย่อหย่อน ครั้นทรงเห็นว่า
การกระทำอย่างนี้ ไม่ใช่ทางตรัสรู้ ก็ทรงเปลี่ยนวิธีอื่นต่อไป

วาระที่ ๓ ทรงอดพระอาหาร ผ่อนเสวยแต่วันละน้อย ๆ บ้าง เสวยอาหารละเอียดบ้าง
จนพระกายเหี่ยวแห้ง พระฉวี(ผิว)เศร้าหมอง พระอัฏฐิ(กระดูก)ปรากฏทั่วพระกาย
เมื่อทรงลูบพระกาย เส้นพระโลมามีรากเน่าร่วงจากขุมพระโลมา
พระกำลังน้อยถอยลง จะเสด็จไปข้างไหนก็ซวนเซล้ม วันหนึ่งทรงอ่อนพระกำลัง
อิดโรยโหยหิวที่สุด จนไม่สามารถจะทรงพระกายไว้ได้ ก็ทรงวิสัญญีภาพ(สลบ)ล้มลงในที่นั้น

��й��෾´�ͧ��˹���Ӥѭ�Դ�Դ��Ҿ�к��⾸��ѵ����Һ������鹾�Ъ������� �֧�պ�Ӥ���价����ҡ�ا���ž�ʴ�� ��������ط⸷�зç��蹾�з����� ��Һ㴷���������ѧ�����������繾�����������ط���� ������ǹ����¾�Ъ���վŧ���ҧ��͹

"�Ѫ���һ�Ի�� ��ҧ��¡�ҧ"

���鹿�鹤׹ʵ� ��к��⾸��ѵ����Һ���ɷç�Ԩ�ó����Ի�� ��� ��û�оĵ������ҧ���Թ 㹷ءá����ҷ�����з���������� �֧�ؤ�ŷ���������ͼ�����š���С�з���觡��Ҿ��ͧ�������� ����䩹�ѧ����Ҩ����ؾ��⾸ԭҳ ��� �ѭ�ҷ��е�������繾�оط���� �֧�������˹�ҧ��餧������Ըա�÷��е��������� ���Ǩ���˹�ҧ����������

��й�� �������Թ��Ҹ��Ҫ ���;���Թ��� �ç��Һ��ͻ���Ե��ͧ��к��⾸��ѵ��֧�ӾԳ�Ծ���������Ҵմ����
�� ���˹�觢֧���֧ ����ʹմ��¨֧�Ҵ
�� ���˹�觢֧������͹ ����ʹմ�֧��������§
�� ���˹�觢֧���ʹ� ���֧������͹����ʹմ��ѧ�Դ���§����ШѺ� ��к��⾸��ѵ����ʴѺ���§�Գ�ç�ǹ���֡�֧�Գ�����ͧ���·ç����ҧ��͹ �ç�Ԩ�ó���� �Ѫ���һ�Ի�� ���͡�û�ԺѵԵ���ҧ��¡�ҧ����ͧ ��� ˹�ҧ���⾸ԭҳ

����;�����⾸��ѵ��Ԩ�ó���ѧ��� ���ͧ���ç���������������鹵���ӴѺ ���������ҧ��¿������ó��� �������ҧ��¾�����ó��� ����ອ��Ѥ�շ�� � �������繾��ͧ�������ԡ㹡�÷��ҹ��㹡����ǧ����������� ��Դ������Ҫ���Է�ѵ��Шзç¡��ԡ㹡����ǧ����������� �����ԡ����͡�Ǫ���͡�Ѻ令�ͧ�Ҫ�����ѵ��蠨֧���������ա�ҡ��Ҫ���Է�ѵ���仠 ����������ͧ��������§������ǵ���Ӿѧ�

การกระทำ ทุกกรกิริยา ในขั้นใดถือว่ามีความยากมากที่สุด

คุณครู Qanda - puffperpur

การกระทำ ทุกกรกิริยา ในขั้นใดถือว่ามีความยากมากที่สุด

โปรดแจ้งหากมีคําถามเพิ่มเติมหลังจากดูวิธีแก้โจทย์!

การกระทำ "ทุกกรกิริยา" ในขั้นใดถือว่ามีความยากที่สุด

3. ขั้นที่ 3 ทรงบำเพ็ญทุกกรกริยา ทุกกรกริยา แปลว่า การกระทำที่ทำได้ยากยิ่ง พระองค์ทรงเล่าไว้ว่า ทรงกระทำเป็น 3 ขั้นตอนตามลำดับดังนี้ 3. ขั้นที่ 3 ทรงบำเพ็ญทุกกรกริย

ทุกกรกิริยาของพระพุทธเจ้า มีอะไรบ้าง

- ทรงกดพระทนต์ด้วยพระทนต์ (การกัดฟัน) กดพระตาลุ ด้วยพระชิวหา (เอาลิ้นดันเพดาน) จนพระเสโท (เหงื่อ) ไหลทาง พระกัจฉะ (รักแร้) ทรงกลั้นลมอัสสาสะ ปัสสาสะ (กลั้นลมหายใจเข้าออก) จนปวดพระเศียร (ศีรษะ) ทรงอดพระกระยาหาร (อาหาร) จนพระวรกาย (ร่างกาย) ซูบผอมและไม่มีเรี่ยวแรง ในที่สุดพระองค์ทรงทราบว่า วิธีที่ทำอยู่ไม่ใช่หนทางแห่งการ ...

ข้อใดคือการบำเพ็ญทุกกรกิริยา

การบำเพ็ญทุกรกิริยา หมายถึง กิริยาที่ทำได้ยาก อาทิ การลดปริมาณในการรับประทานอาหาร จนถึงขั้นไม่รับประทานเลย การกลั้นลมหายใจ การบำเพ็ญเพียรเพื่อบรรลุธรรมวิเศษ ด้วยวิธีการทรมานตนด้วยวิธีต่างๆ เป็นวิธีของโยคี

ทุกกรกิริยาที่เจ้าชายสิทธัตถะทรงบำเพ็ญวาระแรก คืออะไร ?

วาระที่ทรงกดพระทนต์ด้วยพระทนต์ กดพระตาลุด้วยชิวหาไว้ให้แน่นจนพระเสโทไหลโซมจากพระกัจฉะ ในเวลานั้นได้เสวยทุกขเวทนากล้า เปรียบเหมือนบุรุษมีกำลังมากจับบุรุษที่มีกำลังน้อยที่ศีรษะหรือที่คอ บีบให้แน่นฉะนั้น แม้พระกายจะกระวนกระวายไม่สงบอย่างนี้ แต่ทุกขเวทนานั้นไม่อาจครอบงำพระหฤทัยให้กระสับกระส่ายได้ พระองค์มีพระสติมั่นไม่ ...