การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร pdf

แผนการสอนวชิ า การพฒั นาผลติ ภณั ฑอ์ าหาร (30404-2003) โดย นางสาวเขมชุดา วงศผ์ าติกร สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ วอศ.เพชรบุรี

๗๕

ชื่อเร่อื ง ใบความรู้ที่ 3 หน่วยที่ 3

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้นั สงู พุทธศกั ราช 2563 สอนครงั้ ท่ี 4-9
รหัสวิชา 30404–2003 วิชา การพฒั นาผลติ ภัณฑอ์ าหาร ท-ป-น 2-3-3
การค้นควา้ และทดลองพัฒนาผลติ ภณั ฑ์อาหาร ท. 12 ชม. ป. 18 ชม.

1. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1.1 จดุ ประสงคท์ ั่วไป
1. เข้าใจและอธบิ ายเกี่ยวกับการค้นควา้ และทดลองอาหารได้
2. เข้าใจและอธบิ ายเกยี่ วกบั สืบคน้ ขอ้ มูลทเ่ี ก่ียวข้องกับเร่อื งทท่ี าการทดลองได้
3. เขา้ ใจและอธบิ ายเกี่ยวกับการนาขอ้ มูลท่เี กี่ยวขอ้ งกับเร่ืองทที่ าการทดลองมาใช้ใหถ้ ูกต้องได้
1.2 จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม
1. สามารถค้นควา้ และทดลองอาหารได้
2. สามารถสบื ค้นขอ้ มลู ท่ีเกี่ยวข้องกบั เรื่องที่ทาการทดลองได้
3. สามารถนาขอ้ มูลท่เี ก่ยี วข้องกับเร่ืองท่ีทาการทดลองมาใช้ใหถ้ กู ต้องได้

2. สมรรถนะประจาหนว่ ย
1. มคี วามรู้ ความเข้าใจในการคน้ คว้าและทดลองอาหาร
2. สามารถสืบคน้ ขอ้ มูลทีเ่ กี่ยวข้องกบั เรื่องท่ีทาการทดลอง
3. สามารถนาขอ้ มลู ทเี่ กยี่ วข้องกบั เร่ืองที่ทาการทดลองมาใช้ให้ถูกต้องได้

แผนการสอนวชิ า การพัฒนาผลติ ภัณฑ์อาหาร (30404-2003) โดย นางสาวเขมชดุ า วงศ์ผาติกร สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ วอศ.เพชรบรุ ี

๗๖

3. เนอ้ื หาสาระ (อาจมีรูปภาพประกอบ)

การค้นคว้าและทดลองพฒั นาผลิตภณั ฑอ์ าหาร

เม่ือได้สภาพปัญหาการทดลองที่สนใจจะทาการทดลอง ผู้ทดลองจาต้องศึกษาในรายละเอียดของ
ปัญหา เพื่อให้มีความกระจ่างชัด ทาให้มองเห็นภาพรวมของปัญหาในการทดลองได้กว้างและลึกมากข้ึน ทาให้เป็น
ขอ้ มูลพ้ืนฐานทีช่ ่วยในการตัดสินใจว่าจะดาเนินการต่อไป หรือจะเปลีย่ นแปลงแนวคิดใหม่ แต่หากมีความเขา้ ใจประกอบ
กับผู้ทดลองมีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ในเร่ืองที่เก่ียวกับสภาพปัญหานั้นอยู่ ก็คงดาเนินการต่อไป
โดยจะต้องค้นหาเพื่อที่จะสรุปปัญหาการทดลองให้มีขอบเขตท่ีชัดเจนและตรงเป้าหมาย ซึ่งจะต้องให้ได้ทั้งหลักการ
แนวคิด ทฤษฎแี ละผลการทดลอง ตลอดจนภูมิปญั ญาท่ีเก่ยี วข้องโดยตรง หรอื เกย่ี วข้องบางสว่ นกับปญั หาที่สนใจ เพอ่ื จะ
ได้เหน็ แนวทางในการกาหนดช่อื เรอ่ื งหรือปัญหาท่ตี ัดสินใจทาทดลองการทดลอง การกาหนดวตั ถปุ ระสงค์ ขอบเขตของ
การทดลอง ตัวแปรท่ีจะทาการศึกษา การกาหนดกรอบแนวคิด ตลอดท้ังทาให้มองเห็นแนวทางการทดลองได้อย่างมี
ความมน่ั ใจขึ้น

วตั ถุประสงคใ์ นการค้นควา้ เอกสาร

1. เพื่อหาความจริง การค้นคว้าเอกสารเพ่ือหาความจริง ความจริงในที่นี้เป็นความจริงระดับสูงที่ผ่าน
การพิสูจนม์ าแล้ว นนั่ ก็คอื ผวู้ จิ ัยจะต้องคน้ ควา้ หาสง่ิ ท่ีผอู้ น่ื พสิ ูจน์มาแลว้ ทามาแล้วได้ผลเป็นอย่างไร

2. เพื่อช่วยในการนิยามปัญหา เพ่ือช่วยในการนิยามปัญหา เปน็ ความจริงที่ว่าเม่ือพบสภาพปัญหาแล้ว
ทิศทางที่จะดาเนินการเพื่อคน้ หาความจริงยังคลุมเครอื จาเป็นจะต้องศึกษาคน้ คว้าเอกสารผลการทดลองท้งั หลาย เพื่อให้
เกิดความกระจา่ งแจ้งในปญั หาทีจ่ ะทาวจิ ัย มฉิ ะน้ันแล้วจะดาเนนิ การไปไมไ่ ด้เลย

3. เพื่อให้เลือกสรรปัญหาได้ถูกต้อง เพ่ือให้เลือกสรรปัญหาได้ถูกต้อง การเลือกปัญหาให้ตรงจุดไม่ใช่
ง่ายนัก การศึกษาปัญหาในรูปแบบต่างๆ ท่ีมีผู้ทามาแล้วจึงเป็นส่ิงจาเป็น ทาให้ได้แนวความคิดในการจาแนกลักษณะ
ปัญหา และสามารถเลือกปัญหามาทาการวจิ ัยไดต้ รงจุดมากข้ึน

4. เพือ่ ไม่ใหท้ าซ้ากับผู้อ่ืนโดยไมจ่ าเป็น เพอ่ื ไมใ่ หท้ าซ้ากบั ผู้อน่ื โดยไมจ่ าเป็น การทาทดลองซ้าน้ันจะทา
ได้ก็ต่อเมื่อผลการทดลองเป็นปัญหา เช่น เพราะการสุ่มตัวอย่างไม่ดี กระบวนการทาบกพร่อง เทคนิคตลอดจนการ
ควบคุม ตัวแปรเกิดความคลาดเคล่ือนโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ผู้ทดลองอาจจะทาปัญหาเก่าอีกทีก็ได้ เพื่อดูผลว่าแตกต่าง
กันเพียงใด เรยี กว่าเป็นการทดลองเพ่ือพิสจู น์ของเดิม แต่ถ้าเป็นการทดลองทีถ่ ูกต้องทุกประการแล้ว ปัญหาท่ตี รงกนั ไม่
นยิ มทาซา้ เพื่อหลกี เลย่ี งความซา้ ซอ้ น ผู้ทดลองจึงตอ้ งรู้วา่ ในสาขาที่ตนสนใจ
นั้นมีปัญหาใดบ้างที่เขาทากันแล้ว และทากันเมื่อไร ผลเป็นอย่างไร การค้นคว้าเอกสารอ้างอิงจึงเป็นประโยชน์อย่างย่ิง
และสามารถตอ่ ยอดความคิดได้

5. เพ่ือหาเทคนิคในการวิจัย เพ่ือหาเทคนคิ ในการทดลอง เทคนคิ ในการทดลองนั้นมีมาก เช่น เทคนิค
ในการส่มุ ตัวอย่าง เทคนิคในการวิเคราะห์ขอ้ มลู เทคนิคในการสรา้ งเครื่องมอื การวัดคา่ ตัวแปร ดงั น้นั การศึกษางาน

แผนการสอนวชิ า การพฒั นาผลติ ภณั ฑ์อาหาร (30404-2003) โดย นางสาวเขมชดุ า วงศผ์ าตกิ ร สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ วอศ.เพชรบุรี

๗๗

ทดลองที่ผา่ นมาทาใหเ้ กิดการเรียนรู้ในเทคนิคต่างๆ ได้เป็นอย่างดี แตท่ ั้งน้ผี ู้ทดลองจะต้องศึกษาเอกสารดงั กลา่ วมาอย่าง
ละเอียด และจะต้องติดตามดูด้วยวา่ ทาไมจึงต้องใช้เทคนิคอย่างนั้น ถ้างานทดลองของเราจะใช้แบบนนั้ ได้หรือไม่ ดงั นี้
เปน็ ตน้

6. เพ่ือช่วยในการแปลความของข้อมูล เพื่อช่วยในการแปลความของข้อมูล ในการแปลความหมาย
ข้อมูลน้ัน ถ้านาหลักการ แนวคิด ทฤษฎีและผลงานทดลองที่เก่ียวข้องอ่ืนๆ มาสนับสนุนด้วยจะเป็นการดีมาก เพราะทา
ใหน้ ้าหนัก การแปลผลแบบอภปิ รายผล จึงจาเป็นตอ้ งอา้ งอิงอย่างมาก ไม่วา่ จะยอมรบั สมมติฐาน หรอื ไม่กต็ าม

7. เพื่อเตรียมการเขียนรายงาน เพ่ือเตรียมการเขียนรายงาน การเขียนรายงานทดลองน้นั แตกต่างจาก
การเขียนรายงานธรรมดา เพราะงานทดลองมีกระบวนการแบบวิธีการวิทยาศาสตร์ การเขียนรายงานจึงมีระบบ
แบบแผน การจะเขียนได้ถูกต้องเป็นท่ียอมรับทั่วไป จึงจาเป็นต้องศึกษางานเขียนของผู้อ่ืนมาแล้ว จุดดีจุดเด่นของแต่ละ
งานทดลองมีแตกต่างกัน การอ่านงานทดลองเพ่ือเปรียบเทียบจึงเป็นส่ิงที่ผู้ทดลองจะต้องทา มิฉะน้ันแบบการเขียน
รายงานจะไมม่ ที างพฒั นาดีข้ึนไดเ้ ลย

ประโยชน์ของการคน้ คว้าเอกสารท่ีเก่ียวขอ้ ง

การคน้ คว้าเอกสารเปน็ การทาให้ผู้ทดลองเกดิ ความคิดต่อเนื่อง มองเห็นลทู่ างในการทดลองดีขึ้น
ประโยชน์ท้ังหลายท่ีได้รบั จงึ มีมากมาย เช่น

1. ทาใหส้ ามารถหาเร่ืองทาการทดลองได้เหมาะสมและเชื่อถือได้
2. ทาให้สามารถหาเคร่ืองมือท่ดี ีทส่ี ุดมาใชใ้ นการทดลองได้
3. ทาใหร้ ู้วิธกี ารเลอื กกลุ่มตัวอย่างวา่ ควรเลือกอย่างไร จานวนเท่าไร และควรศึกษาตัวแปรอะไรบา้ ง
4. ทาให้รูว้ ิธกี ารทางสถิติทจี่ ะใชว้ ิเคราะหส์ มมตฐิ านท่ตี งั้ ไวไ้ ดอ้ ยา่ งถูกต้อง
5. ทาใหร้ ู้วา่ วธิ กี ารดาเนินการทดลองแบบใดทีล่ งทุนน้อยทส่ี ุด แตไ่ ด้ผลดี
6. ทาให้ได้อา่ นบทวิเคราะหว์ ิจารณ์อยา่ งมเี หตผุ ลของคนอนื่ ในสาขาวิชาเดียวกนั
7. ทาให้ได้กรอบแนวคิดในการทดลองท่มี คี วามชดั เจนขึน้

ท่ีกล่าวมานี้เป็นประโยชน์ใหญ่ๆ เท่านั้น ส่วนประโยชน์ท่ีได้รับจากการค้นคว้าเอกสารท่ีเก่ียวข้องด้าน
อื่น ๆ ยังมีอีกมาก การทดลองจะต้องใช้สมรรถภาพสมองทั้งด้านวิเคราะห์และสังเคราะห์อาจจะได้สูตร กฎ ทฤษฎี และ
กระบวนการแบบใหม่ การท่ีคนจะมีหัวสมองด้านสังเคราะห์มากๆ น้ัน จะนัง่ คิดเฉย ๆ คงไมเ่ กิดแน่ จาเป็นจะต้องค้นคว้า
แนวความคิดต่างๆ มาปรุงแต่งใหม่ให้มีรูปใหม่ โครงสร้างใหม่ หรือหน้าท่ีใหม่ สิ่งเหล่านี้ย่อมเกิดจากการค้นการอ่าน
ผลงานทผ่ี ่านมาทัง้ นนั้ ในการทาการทดลองจึงจาเป็นอยา่ งยิ่งที่ต้องอาศัยผลงานท่ีเก่ียวข้อง จะไปนึกว่าเราคิดเป็นคนแรก
ไม่ได้ ถึงแม้ว่าปัญหานัน้ จะเปน็ ปัญหาท่ีไม่ซา้ ซ้อนกับของผู้ใดทามาเลย แต่การจะนยิ ามปัญหานั้นให้ชดั เจนจนสามารถทา
การทดลองได้ดี จาเป็นจะต้องหาเอกสารที่เกี่ยวข้องด้านใดด้านหนึ่งจนได้ ปัญหาทุกอย่างเป็นของมีอยู่เดิมแล้วทั้งสิ้น
ทีเ่ รามองเห็นว่าใหมก่ เ็ พราะแตกแขนงแปลงรปู เทา่ น้นั เอง

แผนการสอนวิชา การพัฒนาผลติ ภัณฑ์อาหาร (30404-2003) โดย นางสาวเขมชดุ า วงศ์ผาติกร สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ วอศ.เพชรบรุ ี

๗๘

วธิ ีเลือกผลงานจากเอกสาร

ผลงานการคน้ ควา้ และการทดลองนั้นมีจานวนมากในแต่ละสาขาวิชา ท้ังภายในประเทศก็มีมากแตก่ าร
ทดลองไม่ใช่จะศึกษาผลงานเพียงในประเทศอย่างเดียว จาเป็นจะต้องศึกษาของต่างประเทศด้วย ย่ิงกว้างเท่าไรย่ิงจะทา
ให้ผลงานมีความหมายมากย่ิงขึ้นเท่าน้ัน ดังนั้นเอกสารท่ีต้องค้นคว้าย่อมมีมากเป็นธรรมดาท่ีกล่าวมากแล้วมองในแง่
ส่วนรวม แต่มีเหมือนกันบางสาขาวิชา การศึกษาการทดลองยังไม่เป็นการแพร่หลายกว้างขวางนัก เอกสารท่ีเกี่ยวข้อง
ย่อมมีจานวนน้อยแต่ถึงขนาดไม่มีเลยคงเป็นไปได้ยาก เพราะมองในแง่ของความเกี่ยวข้อง เหตุการณ์ในโลกน้ีเก่ียวข้อง
เช่ือมโยงกันเวน้ แตว่ ่าจะหนักไปทางใดเทา่ นน้ั เอง การศกึ ษาคน้ ควา้ ทเ่ี ก่ยี วข้องควรคานึงถึงหลักในการเลือกผลงานดังน้ี

1. เอกสารนั้นทนั สมัยพอใชก้ ับงานวิจยั ของเราหรือไม่
2. เอกสารน้นั เปน็ เครื่องชีน้ าในการศกึ ษาข้อมลู ของเราหรือไม่
3. เอกสารนน้ั มีหนงั สืออา้ งอิงพอช่วยแนวทางใหเ้ ราไดไ้ ปคน้ คว้าเพิ่มเติมให้กวา้ งขวางข้ึนอีกหรอื ไม่
4. เอกสารน้ันชี้แนวคิดและทาให้เกิดการเรียนรูใ้ นการทาวิจัยเรอ่ื งนนั้ บางประการใหเ้ ราหรือไม่

วธิ กี ารค้นคว้าเอกสารท่เี กี่ยวขอ้ ง

ขนั้ แรกในการค้นคว้าเอกสารก็คือ ต้องพยายามพจิ ารณาอยา่ งดีว่าเอกสารนั้นควรอ่านหรอื ไม่ โดยดูจาก
รายการช่ือหนงั สอื ตามห้องสมุด ประเภทเอกสารทีค่ วรศกึ ษา ได้แก่

1. วารสารการวจิ ยั ทางด้านธุรกจิ
2. วารสารการวจิ ยั เฉพาะสาขาวชิ า
3. รายงานการทดลองในสาขาวิชาโดยตรงที่สมบูรณแ์ บบ เชน่ งานวจิ ัย ปรญิ ญานพิ นธร์ ะดับตา่ งๆ
4. บทคัดยอ่ วิจัยทกุ ระดบั ในสาขาท่เี กย่ี วข้อง
5. สารานุกรมทางการวิจยั ธรุ กจิ หรือแขนงวชิ าทเ่ี กีย่ วข้อง
6. ตาราและแหลง่ อ่ืนๆ ท่เี ช่ือถือได้

เอกสารเหล่านี้แต่ละหัวข้อแยกแยะอีกเป็นจานวนมาก และขอให้เข้าใจด้วยว่าถ้าพยายามจะค้นคว้า
เป็นภาษาไทยอย่างเดียว คงมีไม่พออ้างอิง เพราะงานวิจัยในบ้านเรายังมีน้อย จึงจาเป็นต้องค้นคว้าเอกสารของ
ต่างประเทศเป็นหลักด้วยเพราะเขาทาการทดลองไว้มาก การค้นคว้าเอกสารอ้างอิงท่ีเก่ียวข้องควรจะค้นคว้างานวิจัย
ก่อน เพราะงานวิจัยมีรายละเอียดทุกแง่ทุกมุมให้ศึกษา เพ่ือเป็นแนวทางในการทาการทดลองของนักเรียนด้วย แต่ถ้ามี
งานวิจัยระดับมืออาชีพที่เป็นฉบับสมบูรณ์ศึกษาด้วยย่ิงดี ขอให้ได้ดูงานวิจัยท่ีมีอะไรอยู่ครบสมบูรณ์แบบ เพ่ือเป็น
ตวั อย่างในการสัมผสั เรมิ่ แรก ภาพทีฝ่ ังใจจะเป็นภาพที่ถูกที่ควร เม่ือไดเ้ ห็นรูปแบบท่ีสมบรู ณ์ของการวจิ ัยแล้ว ขั้นต่อไป
ควรจะค้นคว้าจากวารสารประเภทที่ย่อการวิจัยลงมา แต่ยังรักษารปู แบบ การทาวิจัยไว้ด้วย วารสารเหล่าน้ันมักจะมี
ชื่อเร่ืองของการวิจัย จุดมุ่งหมาย สมมติฐาน วิธีเก็บข้อมูล วิธีการวิเคราะห์ สรุปผล และเอกสารอ้างอิง เม่ือได้อ่านและ
ศึกษาหลายๆ เรื่องก็จะทาให้ได้แนวคิดในการทาการทดลองและมโนภาพในการทดลองท่ีถูกต้องด้วย เมื่อได้ศึกษา
เอกสารสองประการมาแล้ว ข้ันต่อไปเป็นการอ่านแบบ รวบรัดเอาแต่ผลสั้นๆ เอกสารประเภทน้ีเป็นประเภทบทคัดย่อ

แผนการสอนวิชา การพัฒนาผลิตภณั ฑ์อาหาร (30404-2003) โดย นางสาวเขมชุดา วงศ์ผาติกร สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ วอศ.เพชรบรุ ี

๗๙

เป็นส่วนใหญ่ แม้ไม่ใช่เอกสารประเภทคัดย่อ แต่เวลาอ่านให้เจาะจงอ่านแต่ผลของการวิจัยน้ันๆ การอ่านแบบน้ี
สามารถทาเวลาไดร้ วดเร็วกวา่ สองวิธแี รกมาก
อา่ นแล้วต้องรูจ้ กั การจะโนต้ เป็นด้วย การจดโน้ตต้องข้ึนอยกู่ ับวิธีการอ่านอีกเหมอื นกนั เชน่

1. การจะจดรูปแบบ สาระเนื้อหาของเขาท้ังหมด โดยไม่เปลี่ยนแปลงข้อความที่เขาเขียนไว้เลย แบบน้ีเรียกว่า
โคต้ (Quotation)

2. บางกรณีไมจ่ าเป็นจะตอ้ งโค๊ต ข้อความจากเอกสารนั้นโดยตรง ผู้อ่านอาจจะเขียนแนวคิดของผู้เขยี นเอกสาร
นั้นๆ ใหม่เป็นภาพเขียนของตนเองได้ แต่ต้องรักษาความคิดของผู้เขียนเดิมไว้ให้ครบถ้วน อย่างนี้เรียกว่า เรียบเรียง
(Paraphrase)

3. ผู้อา่ นอาจจะสรุปย่อความคดิ ในเน้อื เร่ืองนัน้ ๆ ได้ เรียกวา่ สรปุ ย่อ (Summary)
4. ผู้อ่านอาจจะใส่ความคิดเห็นของตนเองเพ่ือชี้ให้เห็นว่าเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วย หรือตีความหมายทัศนะของ
ผู้เขยี น อย่างนี้เรยี กวา่ ประเมิน (Evaluation)

ดังนั้น การจดโน้ตจะมากหรือน้อยจึงข้ึนอยู่กับผู้อ่านต้องการประเภทใด วิธีการจดโน้ต เพื่อให้สะดวก
แกผ่ ูอ้ า่ นหรือผศู้ กึ ษาเอกสารมีการแนะนาอยู่หลายวธิ ี เชน่

1. ควรมีสมุดเฉพาะสาหรับจดเอกสารที่ค้นคว้า โดยเฉพาะสมุดแบบน้ีควรมีสันสาหรับถอดได้เป็นแผ่นๆ เพ่ือ
ความสะดวกในการจัดกลุม่ ทีหลัง

2. ควรทาบัตรขนาด 4 x 6 น้ิว หรือ 5 x 8 น้ิว หรือขนาดไม่จากัดเพ่ือเอาไว้บันทึกผลการอ่าน ผู้ทาจะทา
ขนาดไหนก็ได้ เพียงแต่ว่าให้สะดวกในการเก็บหรือถือติดตัว ทาเป็นบัตรเวลาจัดเรียงลาดับหมวดหมู่จะทาได้ง่ายข้ึน
แตต่ อ้ งระวังเรอ่ื งการสูญหาย เพราะเป็นแผน่ ย่อยๆ ส่วนข้อความที่ผู้อ่านควรโน้ตลงในสมดุ หรอื บตั รท่เี ตรยี มไว้แล้วมกั จะ
เป็นสิ่งเหลา่ น้ี

- ช่ือของผูแ้ ต่ง รวมถึงช่อื และนามสกุล หรือชอื่ องคก์ าร สถาบันตา่ งๆ ทเ่ี ปน็ เจ้าของหรอื ผเู้ ขียน
- ชื่อหนังสอื ชอ่ื บทความ หรอื ช่อื วารสาร
- สถานที่พมิ พ์
- ปีท่พี ิมพ์
- เล่าทีเ่ ท่าไร หน้าไหน หมายถงึ ตงั้ แตห่ นา้ ทเี่ ท่าไรถงึ เท่าไร
- เพอ่ื สะดวกในการค้นใหม่ ควรจดเลขรหัสหอ้ งสมุดของหนังสอื หรอื แหล่งขอ้ มลู นน้ั ดว้ ย
อกี ส่วนหนง่ึ ทีเ่ ปน็ เน้อื หา แลว้ แตผ่ ูอ้ ่านเอกสารจะบันทึกลงไป ถา้ ต้องการายละเอียดสามารถบนั ทึกได้ เช่น
- ชอ่ื ปญั หา
- จดุ มุ่งหมาย
- สมมตฐิ าน
- วิธีการ
- การวเิ คราะห์
- ผลของการวิจัย

แผนการสอนวชิ า การพัฒนาผลติ ภณั ฑอ์ าหาร (30404-2003) โดย นางสาวเขมชดุ า วงศผ์ าตกิ ร สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ วอศ.เพชรบรุ ี

๘๐

การใช้บัตรแผ่นหน่ึงควรจะออกแบบให้คุ้มค่า ไม่จาเป็นจะต้องแยกบัตรเป็นประเภทต่างๆ มากนัก
ในกรณีที่ใช้สมดุ แทน พยายามใหเ้ ปน็ เร่ืองละหนึ่งหน้าหรือหน่ึงแผ่น เพอ่ื ความสะดวกและความเหมาะสมในการนาไปใช้

วิธีเขียนอา้ งอิงเอกสาร

การเขียนเอกสารอ้างอิงที่เก่ียวข้องในการทดลองเรื่องน้ัน จะต้องสังเคราะห์ข้อความให้ดี
นัน่ คือ การนาข้อความแต่ละเรื่องมาเขียนด้วยกันจะต้องเรยี บเรยี งให้ได้ความสมบูรณ์และต่อเนื่องกันอยา่ งราบร่ืนตลอด
เนือ้ หา ไมใ่ ชจ่ ับมาเรยี งต่อๆ กนั โดยไม่มคี วามเชอื่ มโยง หรอื เขียนแบบบูรณาการไดจ้ ะดีมาก

การจัดลาดับมักนิยมเร่ิมต้นจากการทดลองหรือผลงานค้นคว้าในประเทศก่ อนแล้วตามด้วยการศึกษา
ค้นคว้าของต่างประเทศ การแยกประเภทตัวแปรสาคัญที่จะศึกษาเป็นเรื่องสาคัญอันหนึ่งเช่น เกี่ยวกับความพึงพอใจใน
การปฏิบัติงาน แยกเรียบเรียงตอนหน่ึง เก่ียวกับยินดีกับผลของงานอีกกลุ่มหนึ่ง ควรเรียบเรียงแต่ละกลุ่มอย่าใช้วิธียกมา
เขียนเป็นคนๆ ถ้าค้นมาได้ 5 คน ต้องมาสังเคราะห์เข้าด้วยกันให้เป้าอันหนึ่งอันเดียวกัน แล้วเขียนเป็นแบบบูรณาการ
การอ้างอิงเอกสารนิยมทากัน 2 แบบ แบบหนึ่งทาเป็นเชิงอรรถ อีกแบบหน่ึงอ้างอิงในเนื้อหา เม่ือเลือกใช้แบบใดแบบ
หน่งึ แล้วตอ้ งใชแ้ บบน้ันตลอดท้งั เล่มการทดลองนัน้

การอ้างองิ แบบเชิงอรรถ

1. การอ้างอิงแบบเชิงอรรถ การเขียนเอกสารอ้างอิงแบบนี้ นาเอาผลจากเอกสารอ้างอิงมาสังเคราะห์เข้า
ดว้ ยกนั ส่วนใดที่เป็นผลมาจากงานของใครหรอื แหล่งใดทาตวั เลขเอาไว้ แล้วนาแหล่งที่อา้ งอิงไปเขียนไว้ตอนลา่ งของหน้า
เรียงตามลาดับ พอถึงหน้าใหม่ให้ใช้เลขเรียงลาดับใหม่คือ ข้ึนต้น 1 ใหม่อีกที ข้อความในเชิงอรรถแต่ละตอนควรจบใน
หน้าเดียว คาช้ีแจงในเชิงอรรถต้องอยู่หนา้ เดียวกับข้อความในเน้ือเรอ่ื งที่คาชี้แจงในเชิงอรรถกล่าวถงึ สิง่ ที่ควรยึดเป็นหลัก
ในการเขียนและพมิ พ์เชิงอรรถ คือ

1.1 รายละเอียดทั้งหมดที่จะเขียนในเชิงอรรถ แบ่งได้เป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่เก่ียวกับผู้แต่ง ส่วนชื่อ
หนงั สอื และสว่ นท่ีบอกหนา้ หนงั สือที่อา้ งอิง

1.2 เคร่ืองหมายคั่นระหว่างส่วนท้ังสาม ถ้าภาษาอังกฤษให้มหัพภาค ส่วนเคร่ืองหมายค่ันระหว่าง
ภายในของแตล่ ะส่วนใชเ้ ครอื่ งหมายจุลภาค ส่วนภาษาไทยไม่จาเปน็ ต้องใช้ค่นั ดว้ ยเคร่ืองหมายใดๆ ใชเ้ ว้นระยะแทน

1.3 ในการลงชื่อผู้แตง่ ทั้งในเชิงอรรถภาษาไทยและภาษาอังกฤษให้ลงช่ือตัวก่อน และตามด้วยช่ือสกุล
ถ้ามหี ลายคนใช้และ... หรือใช้ และคนอ่ืน ๆ ผู้แต่งบางทีอาจจะเปน็ สถาบันต่าง ๆ เช่นกระทรวง องค์การ สานกั งาน เป็น
ตน้

1.4 ตอ่ จากเรื่องผู้แต่งใสช่ ่ือหนังสอื ทอ่ี ้างอิงพร้อมท้งั ขีดเส้นใต้ หลงั ช่ือหนังสือเร่ืองให้ใส่เลขหน้าหนังสือ
ท่ีใช้อ้างอิง ภาษาอังกฤษใช้ p. เช่น p.13 ถ้าหลายหน้าใช้ p. 13 – 18 ภาษาไทยใช้แบบเดียว แต่เขียนหน้า เช่น หน้า
16 หรือหน้า 20 – 23 เป็นตน้ โดยไม่นาเสนอตวั อยา่ งในทีน่ ี้

แผนการสอนวชิ า การพัฒนาผลิตภณั ฑ์อาหาร (30404-2003) โดย นางสาวเขมชดุ า วงศผ์ าติกร สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ วอศ.เพชรบรุ ี