เปลี่ยน ภาษา liveworksheet

หมายความว่า ผู้สอนประเมนิ การเรียนรู้ของผู้เรียนต้ังแต่เรม่ิ บทเรียน และประเมนิ อย่างสมำ่ เสมอตลอดการสอน

17

แต่ละหน่วย เพื่อให้ได้ข้อมูลมาปรับปรุงการสอน ผู้สอนต้องตั้งเกณฑ์ไว้ล่วงหน้าเพื่อรองรับการสอนและการ
ประเมิน และตอ้ งอธบิ ายเกณฑ์ท่ีต้องการใหน้ ักเรยี นทราบแจ้งผลการประเมินใหผ้ ู้เรียนทราบอยา่ งสมำ่ เสมอ

ประการที่สอง : การประเมินจะต้องใช้ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลท่ีมีความหลากหลาย
หมายความวา่ การประเมินผลในชัน้ เรยี นที่ดีตอ้ งได้จากการสังเคราะหข์ ้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ

ประการที่สาม : การประเมินจะต้องมีความเที่ยงตรง เชื่อถือได้ และยุติธรรม หมายความว่า
ความเที่ยงตรงและความเช่ือม่ัน หรือความคงเสน้ คงวาในการประเมิน เป็นคุณสมบัติสำคญั ของเครือ่ งมือที่ใชใ้ น
การวัดผลการเรยี นรู้ของผูเ้ รียน เชน่ กิจกรรมการเรียนรู้ทส่ี อนดว้ ยวธิ ีการอ่านในใจ จะประเมินผลการตอบคำถาม
จากเรอื่ งทอ่ี า่ น การสรุปสาระสำคัญจากเร่ืองท่ีอา่ น การประเมนิ การเรยี นรทู้ ส่ี อน

2. การประเมินผลการสอนอ่านเพื่อความเข้าใจ การอ่านเพื่อความเข้าใจ มีวิธีการสอนแบบ
หลากหลายวิธี การประเมินจึงประเมินผลตามลักษณะของกิจกรรมการเรียนรู้ ครูควรเน้นการประเมินผลตาม
สภาพจริงที่มีประสทิ ธิภาพประกอบด้วย การประเมนิ ด้านภาษาใหค้ รบสามประการทกี่ ลา่ วมาข้างตน้ ไดแ้ ก่

2.1 การประเมนิ ผลอย่างสมำ่ เสมอในขณะทท่ี ำการสอนแตล่ ะหน่วย
2.2 การประเมนิ จากแหล่งข้อมูลท่หี ลากหลายหรือไดจ้ ากการสังเคราะห์ขอ้ มูล
2.3 การประเมนิ จากแบบทดสอบท่มี คี วามเทย่ี งตรง และความเช่อื ม่ัน

กระทรวงศึกษาธิการ (2554 : 2) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนจุดมุ่งหมาย
พ้นื ฐานสองประการ

ประการแรกคือ การวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาผู้เรียน โดยเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผลการ
เรียนและการเรยี นร้ขู องผู้เรียนในระหว่างการเรียนการสอนอย่างตอ่ เนื่อง บนั ทกึ วิเคราะห์ และแปลความหมาย
ข้อมูล แล้วนำไปใช้ในการส่งเสริมหรือปรับปรุงแก้ไขการเรียนรู้ของผู้เรียนและการสอนของครู การวัดและ
ประเมนิ ผลกบั การสอนจึงเปน็ เรื่องทีส่ ัมพันธก์ ัน หากขาดสงิ่ หนงึ่ สิ่งใด การเรยี นการสอนกข็ าดประสิทธภิ าพ การ
ประเมินระหว่างการเรียนการส อนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ เช่นนี้เป็นการวัดและประเมินผลเพื่อการพัฒนา
(Formative Assessment) ท่เี กิดข้นึ ในห้องเรียนทกุ วนั เปน็ การประเมินเพอ่ื ให้รจู้ ดุ เดน่ จดุ ทีต่ ้องปรับปรงุ จึงเปน็
ข้อมูลที่ใช้ในการพัฒนาในการเก็บข้อมูล ผู้สอนต้องใช้วิธีการและเครื่องมือการประเมินที่หลากหลาย เช่น การ
สังเกต การซักถาม การระดมความคิดเห็นเพื่อให้ได้มติข้อสรุปของประเด็นที่กำหนด การใช้แฟ้มสะสมงาน การ
ใช้ภาระงานที่เน้นปฏิบัติ การประเมินความรู้เดิม การให้ผู้เรียนประเมินตนเอง การให้เพื่อนประเมินเพื่อน และ
เกณฑ์การให้คะแนน (Rubrics) สิ่งสำคัญที่สุดในการประเมินเพื่อพัฒนาคือ การให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนใน
ลกั ษณะคำแนะนำ ท่เี ชอ่ื มโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ ทำใหก้ ารเรียนรู้พอกพูน แก้ไขความคิด ความเข้าใจเดิม
ท่ีไมถ่ ูกตอ้ ง ตลอดจนการใหผ้ เู้ รียนสามารถตงั้ เปา้ หมายและพัฒนาตนได้

ประการที่สองคือ การวัดและประเมินผลเพื่อตัดสินผลการเรียน เป็นการประเมินสรุปผลการ
เรียนรู้ (Summative Assessment) ซ่ึงมหี ลายระดับไดแ้ ก่ เมอื่ เรียนจบหนว่ ยการเรยี น จบรายวิชาเพ่ือตัดสินให้
คะแนน หรอื ให้ระดับผลการเรยี น ใหก้ ารรบั รองความรู้ความสามารถของผู้เรียนวา่ ผ่านรายวิชาหรือไม่ ควรได้รับ
การเล่อื นชน้ั หรือไม่ หรอื สามารถจบหลักสูตรหรือไม่ ในการประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนที่ดีต้องให้โอกาสผู้เรียน
แสดงความรู้ความสามารถด้วยวิธีการที่หลากหลายและพิจารณาตัดสนิ บนพ้ืนฐานของเกณฑ์ผลการปฏิบัติมากกว่า
ใช้เปรยี บเทียบระหวา่ งผู้เรียน

สรุปได้ว่า ในการวัดและประเมินผลความเข้าใจในการอ่าน นิยมใช้แบบทดสอบปรนัยชนิด
เลือกตอบ (Multiple Choices) เพราะเป็นแบบทดสอบที่มคี วามเที่ยงตรงสูง โดยกําหนดขอ้ ที่ถูกต้อง ไว้ชัดเจน
เกณฑ์การให้คะแนนเหมือนกันไม่ว่าใครจะเป็นผู้ตรวจ นอกจากนี้การตรวจให้คะแนน สะดวก รวดเร็ว เพราะ
คําตอบทถี่ ูกต้องมเี พียงคําตอบเดียว และใชเ้ วลาในการทําแบบทดสอบน้อย รวมทัง้ ยังสามารถถามได้ครอบคลุม
เนื้อหาหลาย ๆ ด้าน และสามารถใช้วัดกับผู้สอบทุกระดับ และการวัดและประเมินผลได้กำหนดการวัดและ

18

ประเมินผลสองช่วง ได้แก่ ช่วงที่ 1 วัดและประเมินผลเพื่อการพัฒนา (Formative Assessment) ที่เกิดขึ้นใน
ห้องเรียนหลังจากการสอน และช่วงที่ 2 วัดและประเมินผลเพื่อสรุปผลการเรียนรู้ (Summative Assessment)
หลงั จากจบทกุ หน่วยการเรยี นรู้

3. เอกสารทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับเทคนคิ ซี ไอ อาร์ ซี (CIRC Technique)

3.1 ความหมายและองคป์ ระกอบของเทคนิค ซี ไอ อาร์ ซี
เทคนิคซี ไอ อาร์ ซี (Cooperative Integrated Reading and Composition) คือ โปรแกรม

สำหรับสอนการอ่าน การเขียนและทักษะทางภาษา (Language Arts) ใช้กับนักเรียนระดับประถมศึกษาตอน
ปลายขึ้นไป โดยเน้นท่หี ลักสูตรและวิธีการสอน โดยการพยายามนาํ การเรียนร้แู บบร่วมมือมือ มาใช้ โปรแกรมซี
ไอ อาร์ ซี พัฒนาข้นึ โดย Slavin และ Stevens ในปี 1986 นบั วา่ เป็นโปรแกรมทีใ่ หม่ที่สดุ ของวิธีการเรียนรู้เป็น
ทีม ซึ่งเป็นโปรแกรมการเรียนแบบร่วมมือที่น่าสนใจยิ่ง เนื่องจากเป็นโปรแกรมการเรียนการสอนที่นำการเรียน
แบบรว่ มมอื มาใช้กบั การอา่ นและการเขยี นโดยตรง

นักการศึกษาหลายท่านได้กล่าวถึงหลักการ แนวคิด และทฤษฎีการเรียนด้วยกลุ่มร่วมมือแบบ
เทคนิคซี ไอ อาร์ ซี ไวด้ งั น้ี

Slavin (1990 : 345) กล่าวว่าเทคนิคซี ไอ อาร์ ซี เป็นวิธีการเรียนแบบร่วมมือที่ใช้ในการสอน
อ่านการเขียนและศิลปะทางภาษา ที่ประยุกต์จากการวิจัยทางด้านจิตวิทยาพุทธิ ปัญญา (Cognitive
Psychology) ซงึ่ มอี งคป์ ระกอบ 4 ประการ คอื

1. กจิ กรรมท่เี ก่ียวขอ้ งกบั เรื่องทอ่ี ่าน (Story-Related Activity)
2. การสอนอ่านจบั ใจความ (Direct Instruction in Comprehension)
3. การบูรณาการการเขยี นกับศลิ ปะในการใช้ภาษา (Integrated Writing & Language Arts)
4. การอา่ นนอกเวลา
ทิศนา แขมมณี (2552 : 270) กล่าวถึงรูปแบบเทคนิคซี ไอ อาร์ ซี (CIRC) หรือ Cooperative
Integrated Reading and Composition ว่าเปน็ รปู แบบการเรยี นการสอนแบบรว่ มมือท่ีใช้ในการสอนอ่านและ
เขียน โดยเฉพาะรูปแบบนี้ประกอบด้วยกิจกรรมหลัก 3 กิจกรรม คือ กิจกรรมการอ่านแบบเรียน การสอนอ่าน
เพอื่ ความเข้าใจ และการบรู ณาการภาษากบั การเขียน
วัชรา เล่าเรียนดี (2555 : 169 - 170) ได้กำหนดองค์ประกอบสำคัญของเทคนิคซี ไอ อาร์ ซี ไว้
3 ประการคือ
1. กจิ กรรมการเรยี นรูเ้ พือ่ สร้างพืน้ ฐานดา้ นการอา่ นและการเขียน
2. การดำเนินการสอนของครู
3. การบูรณาการการอ่านและการเขยี น
จากทีก่ ล่าวมาข้างต้นสรุปไดว้ ่า เทคนคิ ซี ไอ อาร์ ซี เปน็ วิธีการเรียนแบบร่วมมือสำหรับสอนอ่าน
การเขียนและศิลปะทางภาษา มีองค์ประกอบ 3 ประการ คือ กิจกรรมการเรียนรู้เพื่อสร้างพื้นฐานด้านการอ่าน
และการเขียน การดำเนนิ การสอนของครู และการบรู ณาการการอ่านและการเขียน

19

3.2 ขน้ั ตอนการสอนโดยเทคนคิ ซี ไอ อาร์ ซี
เทคนคิ ซี ไอ อาร์ ซี มนี ักวิชาการได้สรุปข้นั ตอนการสอนไว้ ดังน้ี
วัชรา เล่าเรียนดี (2555) กล่าวว่า สิ่งที่ผู้สอนต้องคํานึงถึงในขั้นเตรียมการสอน โดยเทคนิค ซี ไอ

อาร์ ซี มีอยู่ 4 ประการ คอื
1. การเตรียมเนื้อหา เนื้อหาที่ใช้สอนเป็นแบบโครงสร้างข้อเขียน (Story Grammar) ที่

จัดเป็นชุด ๆ ตามระดับความสามารถของผู้เรียน หรือครูผู้สอนสามารถที่จะเลือกเนื้อหาที่ใช้สอนประเภท
เดียวกันเช่นเรื่องที่เป็นตอนเดียวจบหรือมากกว่าหนึ่งตอน ซึ่งจะอธิบายถึงฉาก ตัวละคร สถา นที่ เวลา ที่มี
เหตุการณ์ดําเนินไปอธบิ ายเปา้ หมายของตวั ละครการกระทําและผลจากการกระทาํ เปน็ อย่างไรบ้าง และเร่ืองจบ
ลงแบบใด หรืออาจจะใช้เรื่องที่ไม่สมบูรณ์แล้วให้นักเรียนคาดการณ์ว่าส่วนที่ไม่สมบูรณ์นั้นควรเป็นอะไร เช่น
นกั เรยี นอ่านเร่อื งที่ไมม่ ตี อนจบ แล้วคาดว่าเหตุการณ์ควรจะจบลงอย่างไรเป็นตน้

2. การจัดนักเรียนเข้ากลุ่ม (Assigning Students to Teams) ครูเป็นผู้จัดกลุ่มให้กับ
นักเรยี นโดยมีขัน้ ตอน ดังนี้

2.1 เรียงลําดับคะแนนผู้เรียนตามคะแนนที่ทําได้ในเกมครั้งก่อน ๆ หรือตามเกรดหรือ
ตามความร้สู ึกของผสู้ อนก็ได้เรียงคะแนนสงู ไปหาต่ํา

2.2 กำหนดจํานวนทีม แต่ละทีมควรประกอบดว้ ยสมาชิก 4 คน ถา้ หารไมล่ งตัวอาจเพ่ิม
สมาชกิ ให้บางกลมุ่ เปน็ 5 คนได้

2.3 จัดผู้เรียนเข้าทีม แต่ละทีมประกอบด้วยสมาชิก 4 คนคือ ผู้ที่มีความสามารถในการ
อ่านสูง 2 คน และตํ่า 2 คน จากนั้นจัดให้นักเรียนที่มีความสามารถในการอ่านสูงจับคู่กับนักเรียนที่มี
ความสามารถในการอา่ นต่ํา

3. การจัดทําใบคะแนนของทีม (Team Score Sheet) เป็นแบบบันทึกคะแนน รายบุคคล
ของนักเรียน แต่ละทีมประกอบด้วย รายชื่อสมาชิกในทีมและตารางคะแนนทดสอบเมื่อจบแต่ละบทเรียน เช่น
ความเขา้ ใจในการอ่าน อา่ นออกเสยี งคาํ ศัพท์หาความหมายของคํา การสอบสะกดคําและการเขยี นเก่ียวกับเร่ือง
ท่ีอ่าน เปน็ ตน้ ครูจะอธบิ ายการไดม้ าซ่งึ คะแนนแต่ละอยา่ งทีมท่ีทําคะแนนได้ถงึ 90 คะแนนขน้ึ ไป จะไดร้ บั เกยี รติ
บัตร “Super Team” ทีมทไี่ ด้คะแนน 80 - 89 จะได้รับเกียรติบัตร “Great Team” และทมี ที่ได้คะแนน 70 - 79
จะได้รบั เกยี รติบัตร “Good Team” ครูควรอธบิ ายเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนและให้นกั เรยี นเป็นผู้กรอกรายช่ือสมาชิก
ในทีมเอง

4.การจัดทําแบบฟอร์มบันทึกการทํางานที่ได้รับมอบหมาย (Assignment Record Form)
ในแบบฟอรม์ จะมชี ่ือนักเรยี น วนั ทท่ี ี่เรยี นและตารางกิจกรรมท่ที ําหลังการอ่านและระหว่างการอ่าน

คะแนนของนักเรียนได้จากการตอบคําถามทําแบบฝึกหัดแต่ละคาบเรียน และสมุดรายงาน (Book
Reports) โดยนาํ มารวมกนั เปน็ คะแนนของทีม เพ่อื พิจารณาคะแนนความก้าวหน้าพัฒนาการของนักเรียนแต่ละ
คนและของกลมุ่ ดว้ ย

1. ทีมที่ทําคะแนนในทุกกิจกรรมได้ถึงเกณฑ์ 90% (กิจกรรมที่ได้รับในสัปดาห์หนึ่งจะ
ได้รบั การประกาศวา่ เปน็ “Super Teams” และไดร้ ับประกาศนียบัตร

2. ทีมที่ทําคะแนนได้ 80 - 90% จะได้รับการประกาศให้เป็น “Great Teams” และ
ได้รับใบประกาศนยี บัตรในระดับรองลงมา

การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือผลงานของนักเรียนทุกคนคือ ผลงานของกลุ่มและกลุ่มที่ได้รับ
คะแนนรวมสูงสุดจัดเป็นกลุ่มดีเยี่ยม ดังนั้น ในการทดสอบทุกครั้งหลังจากกิจกรรมกลุ่มแล้ว มีการทดสอบเป็น
รายบุคคล คะแนนสอบของแต่ละคนจะนําไปเปรียบเทียบกบั คะแนนฐานเพ่ือคิดคะแนนพัฒนา คะแนนฐานอาจ
มาจากคะแนนสอบในรายวิชานั้นในภาคเรียนก่อนที่จะมีการสอนในภาคเรยี นตอ่ ไป แต่คะแนนฐานและคะแนน

20

สอบควรเทียบกับคะแนน 100 เสมอ คะแนนฐานอาจได้มาจากคะแนนสอบแต่ละครั้งจากคะแนนฐานที่สามารถ
นํามาคิดคะแนนพฒั นาจากคะแนนสอบในคร้งั ต่อไป (วัชรา เล่าเรยี นดี, 2555 : 196) ดังตารางท่ี 2.1

ตารางที่ 2.1 เกณฑก์ ารคาํ นวณคะแนนความกา้ วหนา้

คะแนนจากการทดสอบ/แต่ละคน คะแนนพฒั นา

ต่าํ กว่าคะแนนฐาน มากกวา่ 10 คะแนน 0
ต่ํากว่าคะแนนฐาน 1 - 10 10
เทา่ กับคะแนนฐานหรือมากกว่า 1 - 10 คะแนน 20
สงู กวา่ คะแนนฐานมากกว่า 10 คะแนน 30

ในการทดสอบแต่ละครั้งนักเรียนต้องรู้คะแนนฐานของตนเองก่อนและคํานวณว่าตนเอง อาจต้องทํา
อีกเท่าไรจึงจะได้คะแนนพัฒนาตามที่คาดหวัง คะแนนพัฒนาของแต่ละคนขึ้นอยู่กับ ความพยายามของแต่ละ
คน ทจ่ี ะพยายามทําข้อสอบให้มากกว่าคะแนนฐานในแตล่ ะครัง้ ที่มีการสอบเพ่ือผลประโยชนข์ องตนเองและของ
กลุ่ม กลุ่มที่ไดค้ ะแนนพัฒนาสงู สุดหรือถึงเกณฑท์ ่ีกำหนดจะได้รับ รางวลั เป็นเครอื่ งหมายความสาํ เร็จ (วชั รา เล่า
เรยี นดี, 2555 : 196)

ตารางที่ 2.2 เกณฑ์การพัฒนา

คะแนนพฒั นาเฉลีย่ ของกลุม่ ระดบั การพัฒนา

0 - 15 กลุ่มเกง่
16 - 25 กล่มุ เก่งมาก
26 - 30 กลมุ่ ยอดเยยี่ ม

วชั รา เลา่ เรยี นดี (2555) ได้สรุปการเตรียมการสอนโดยเทคนคิ ซี ไอ อาร์ ซี ไว้ดังนี้
1. ขน้ั เตรยี ม ประกอบดว้ ย การแบง่ กลุ่มนกั เรียนโดยคละความสามารถ กำหนดสัดสว่ น เกง่ ปาน

กลาง อ่อนเป็น 1 : 2 : 1 แนะนําวิธีการเรียนรู้เทคนิค ซี ไอ อาร์ ซี อธิบายวิธีการวัดผลประเมินผล การคิด
คะแนนกลุ่ม วิธกี ารทาํ งานกลุม่ สร้างแรงจงู ใจในการเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื กัน แจ้งจดุ ประสงคก์ ารเรียน

2. ขั้นสอน ประกอบด้วย ครูทบทวนความรู้เดิม การนําเสนอคําศัพท์ใหม่ นําเสนอบทเรียนใหม่

และสอน วิธีสอนอ่านเพอื่ ความเข้าใจ นักเรยี นอา่ นบทอ่าน ครูฝึกทกั ษะในการอ่านเพอื่ ความเขา้ ใจจากเรอ่ื ง

3. ขั้นกิจกรรมกลุ่ม ดําเนินการสอนตามกิจกรรมการเรียนการสอนแบบร่วมมือกันด้ว ยเทคนิค

CIRC ประกอบด้วย ขั้น C (Cooperative) คือ การให้นักเรียนฝึกปฏิบัติโดยจับคู่กนั อ่าน ผลัดกันอ่าน แก้ไขการ

อ่านของเพื่อน เข้ากลุ่มช่วยกันสรุป ขั้น IR (Integrated Reading) เป็นการบูรณาการการสอนอ่าน นักเรียน

รว่ มกันอ่านบทอา่ น ร่วมกันคดิ พิจารณา จบั ใจความสาํ คัญ บอกรายละเอียดจากเร่ือง เรียงลาํ ดบั เหตุการณ์ บอก

ความหมายของคําศัพท์จากบริบท การแปลความ ตีความ ขั้น C (Composition) คือ การเขียนสรุป และแสดง

ความคดิ เห็นจากเรือ่ งทีอ่ า่ น

21

4. ขั้นประเมินผล และมอบรางวัล ประกอบด้วย นักเรียนช่วยกันสรุปบทเรียน นักเรียนทํา
แบบทดสอบโดยลาํ พงั ไม่มีการช่วยเหลือกัน ตรวจให้คะแนน บันทึกคะแนนของสมาชกิ ในแต่ละกลุ่ม รวมคะแนน
แตล่ ะกลุ่มเพอื่ ประเมินผลสัมฤทธ์ิของกลุ่ม ใหร้ างวลั สาํ หรับกลมุ่ ทท่ี าํ คะแนนเฉลย่ี ได้มากท่สี ดุ

ทิศนา แขมมณี (2552 : 270 - 271) กลา่ วถงึ ขั้นตอนในการสอนด้วยเทคนคิ ซี ไอ อาร์ ซี ดงั นี้
1. ครูแบง่ กล่มุ นกั เรยี นตามระดบั ความสามารถในการอ่าน นักเรยี นในแต่ละกลุ่มจับคู่ 2 คน หรือ

3 คน ทำกิจกรรมการอา่ นแบบเรยี นรว่ มกัน
2. ครูจัดทีมใหม่โดยให้นักเรียนแต่ละทีมต่างระดับความสามารถอย่างน้อย 2 ระดับทีมทำ

กิจกรรมร่วมกัน เช่น เขียนรายงาน แตง่ ความ ทำแบบฝกึ หัดและแบบทดสอบต่าง ๆ และมีการให้คะแนนของแต่
ละทีม ทีมใดได้คะแนน 90% ขึ้นไป จะได้รับประกาศนียบัตรเป็น “ซุปเปอร์ทีม” หากได้คะแนนตั้งแต่ 80 -
89% ก็จะได้รบั รางวลั รองลงมา

3. ครูพบกลุ่มการอ่านประมาณวันละ 20 นาที แจ้งวัตถุประสงค์ในการอ่าน แนะนำคำศัพท์ใหม่
ๆ ทบทวนศัพท์เก่า ต่อจากนั้นครูจะกำหนดและแนะนำเรือ่ งที่อ่านแลว้ ใหผ้ ู้เรียนทำกิจกรรมตา่ ง ๆ ตามที่ผู้เรียน
จดั เตรียมไว้ให้ เชน่ อา่ นเร่ืองในใจแล้วจับคู่อา่ นออกเสียงให้เพื่อนฟังและชว่ ยกันแกจ้ ุดบกพร่อง หรือครูอาจจะให้
นักเรยี นชว่ ยกันตอบคำถาม วิเคราะหต์ วั ละครวเิ คราะหป์ ัญหาหรือทำนายวา่ เรื่องจะเปน็ อยา่ งไรต่อไป เป็นตน้

4. หลังจากกจิ กรรมการอ่าน ครนู ำอภิปรายเรื่องที่อ่าน โดยครจู ะเน้นการฝึกทกั ษะต่าง ๆ ในการ
อ่าน เช่น การจบั ประเด็นปัญหา การทำนาย เปน็ ตน้

5. นักเรียนรับการทดสอบการอ่านเพื่อความเข้าใจ นักเรียนจะได้รับคะแนนเป็นทั้ง รายบุคคล
และทมี

6. นักเรียนจะได้รับการสอนและฝึกทักษะการอ่านสัปดาห์ละ 1 วัน เช่น ทักษะการจับใจความ
สำคญั ทกั ษะการอ้างอิง ทกั ษะการใชเ้ หตุผล เป็นต้น

7. นักเรียนจะได้รับชุดการเรียนการสอนเขียน ซึ่งผู้เรียนสามารถเลือกหัวข้อการเขียน ได้ตาม
ความสนใจ นักเรียนจะช่วยกันวางแผนเขียนเรื่องและช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องและในที่สุดตีพิมพ์ผลงาน
ออกมา

8. นักเรียนจะได้รับการบ้านให้เลือกอ่านหนังสือที่สนใจ และเขียนรายงานเรื่องที่อ่าน เป็น
รายบุคคล โดยให้ผู้ปกครองช่วยตรวจสอบพฤติกรรมการอา่ นของนักเรียนทบี่ ้าน โดยมีแบบฟอรม์ ให้

สังวาล วิริจินดา (2553 : 36 - 38) ได้สรุปกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนด้วยเทคนิค ซี ไอ
อาร์ ซี ดงั นี้

1. การจัดกล่มุ อ่าน (Reading Group)
2. การจัดทมี รว่ มกันเรียนรู้ (Teams)
3. การจัดกิจกรรมพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องหลักที่จะให้นักเรียนอ่าน (Basal-Related
Activities)
4. การจบั คอู่ า่ น (Partners Reading)
5. การเรียนรู้ไวยากรณ์ในเรื่องและการฝึกเขียนในเรื่อง (Story Grammar and Story-
related writing)
6. การฝึกอา่ นออกเสยี งคำท่ีกำหนด (Word Out Loud)

22

7. การฝกึ หาความหมายของคำศัพท์ (Word Meaning)
8. การสรุปเร่อื ง (Story Retell)
9. การฝกึ สะกดคำ (Spelling)
10. การตรวจสอบโดยเพื่อน (Partners Checking)
11. การทดสอบความร้คู วามเข้าใจ (Test)
12. การสอนอ่านเพ่ือความเข้าใจ (Direct Instruction in Reading Comprehension)
13. การให้อ่านบทความต่าง ๆ นอกเวลาและการให้เสนอรายงานการอ่านต่าง ๆ
(Independent Writing-Reading and Book Reports)
14. การผสมผสานหลักภาษากับการเขยี น (Integrated Language Arts and Writing)
สรปุ ได้ว่า ขัน้ ตอนการสอนโดยเทคนิค ซี ไอ อาร์ ซี ท่ีผ้วู จิ ยั นำมาใช้ในการจัดการเรยี นรู้ประกอบด้วย
4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นเตรียมความพร้อม ขั้นสอน ขั้นกิจกรรมกลุ่ม และวัดผลและประเมินผล โดยเน้นการสอน
การอ่านภาษาองั กฤษเพอ่ื ความเข้าใจ และเรียนรดู้ ้วยกจิ กรรมกลุ่มแบบร่วมมอื กัน

4. เอกสารที่เก่ยี วกบั ใบงานมชี วี ติ Live worksheet

4.1 ความหมายของใบงานมชี ีวิต Live worksheet
Liveworksheet เป็นเว็บไซต์ที่สามารถใช้งานได้ฟรี และมีรูปแบบใบงานที่หลากหลายให้คุณครู

ได้เลือกใช้ หรือถ้าคุณครูต้องการยกระดับประสทิ ธิภาพการใช้งานกส็ ามารถสมัครสมาชิกกับทางเว็บไซต์เพื่อให้
ใช้งานได้ดีขึ้นในอีกระดับหนึ่ง โดยสามารถเลือกระดับสมาชิกได้อย่างหลากหลาย มีรูปแบบใบงานที่สามารถ
สรา้ งได้น้นั มีหลากหลายแบบด้วยกนั ยกตัวอยา่ งเช่น ใบงานการโยงเสน้ จับคู่ ใบงานการแยกหมวดหมโู่ ดยลากไป
วาง ใบงานเลอื กคำตอบถูก-ผิด ใบงานเติมคำจากตัวเลือกท่ีกำหนดให้ ขอ้ สอบปรนยั ใบงานการตอบคำถามแบบ
อัตนยั และใบงานการฝกึ พดู -อ่านออกเสยี ง

4.2 การใชง้ าน Liveworksheets
1 ไปที่เว็บไซต์ https://www.liveworksheets.com

การสร้างใบงานออนไลน์ สำหรับคนรนุ่ ใหม่ ด้วย Live Worksheet
2 ไปท่ี Teachers access เลอื กเข้าไปสมัครใช้งานที่ Register

23

การสรา้ งใบงานออนไลน์ สำหรบั คนรุ่นใหม่ ดว้ ย Live Worksheet
3 เขา้ ไปกรอกข้อมูลฝงั่ ซ้าย ส่วนฝ่ังขวายังไม่จำเปน็ ต้องกรอกกไ็ ด้ (ท่สี ำคัญจะต้องจำ
username และ password ท่ใี ชส้ มัครให้ได้)

การสรา้ งใบงานออนไลน์ สำหรบั คนร่นุ ใหม่ ด้วย Live Worksheet
4 กลับเข้าไปทกี่ ล่องจดหมายของ E-mail ท่ีเราสมคั รเพ่ือไป Activate เขา้ ใชง้ านไปที่ จดหมาย
Welcome to liveworksheets (กดเลือกตรงขอ้ ความที่ยาวทสี่ ุด)

24

5 จากนนั้ จะกลับเขา้ มา login หน้าเว็บอกี ครง้ั โดยใส่ Username และ Password ที่เราใชส้ มคั ร
ลงไป (โดยอาจจะกดให้เคร่ืองท าการบันทึกไวท้ ่ี Remember me)

5. เอกสารทเ่ี กย่ี วกบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น

5.1 ความหมายของผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นความสามารถของนักเรียนในด้านต่าง ๆ ซึ่งเกิดจากนักเรียนได้รับ

ประสบการณ์จากกระบวนการเรียนการสอนของครู โดยครูต้องศึกษาแนวทางในการวัดและประเมินผล การ
สรา้ งเครื่องมอื วดั ใหม้ ีคณุ ภาพนน้ั ไดม้ ผี ูใ้ หค้ วามหมายของผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นไวด้ งั น้ี

พโรจน์ คะเชนทร์ (2556) ให้คำจำกัดความผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนว่า คือ คุณลักษณะรวมถึง
ความรู้ความสามารถของบุคคลอันเป็นผลมาจากการเรียนการสอน หรือมวลประสบการณ์ทั้งปวงที่บุคคลได้รับ
จากการเรียนการสอน ทำให้บุคคลเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในด้านต่าง ๆ ของสมรรถภาพทางสมอง ซึ่งมี
จุดมุ่งหมายเพื่อเป็นการตรวจสอบระดับความสามารถสมองของบุคคลว่าเรียนแล้วรู้อะไรบ้าง และมี
ความสามารถด้านใดมากนอ้ ยเท่าไร ตลอดจนผลทเ่ี กิดขึน้ จากการเรยี น การฝกึ ฝนหรือประสบการณ์ต่าง ๆ ทง้ั ใน
โรงเรียน ทีบ่ ้าน และสง่ิ แวดลอ้ มอ่นื ๆ รวมทง้ั ความรสู้ กึ ค่านิยม จรยิ ธรรมตา่ ง ๆ กเ็ ป็นผลมาจากการฝกึ ฝนดว้ ย

อรทัย จันใด (2553 : 18) กล่าวว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความรู้ความสามารถใน
การท่ีจะพยายามเขา้ ถึงความรู้ หรอื ทักษะซง่ึ เกดิ จากการกระทำที่ประสานกนั ตอ้ งอาศัยความพยายามอย่างมาก
ทั้งองค์ประกอบทางด้านที่เกี่ยวข้องกับสติปัญญา และองค์ประกอบที่ใช้สถิติปัญญา แสดงออกในรูปของ
ความสำเร็จ ซง่ึ สามารถสงั เกตและวดั ได้ดว้ ยเคร่ืองมือทางจติ วิทยาหรือวา่ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทวั่ ไป

สรุปได้ว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คือ ผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรได้มาตามหลักการวัดและ
ประเมินผลที่ครอบคลุมทั้งด้านความรู้ความคิดหรือพุทธิพิสัย ด้านอารมณ์และความรูสึกหรือจิตพิสัย และด้าน
ทักษะปฏบิ ัติหรอื ทักษะพิสยั ทผ่ี สู้ อนกำหนดไวใ้ นช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง

5.2 ประเภทของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นความสามารถของนักเรียนในด้านต่าง ๆ ซึ่งเกิดจากนักเรียนได้รับ

ประสบการณ์จากกระบวนการเรียนการสอนของครู โดยครูต้องศึกษาแนวทางในการวัดและประเมินผล การ
สรา้ งเครอ่ื งมอื วดั ใหม้ ีคณุ ภาพนนั้ ไดม้ ีผูบ้ อกประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนไว้ ดงั นี้

25

พโรจน์ คะเชนทร์ (2556) ได้จัดประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบ่ง
ออกเป็น 2 ประเภท คือ แบบทดสอบที่ครูสร้างขึ้นเอง (Teacher Made Tests) และแบบทดสอบ
มาตรฐาน (Standardized Tests) ซึ่งทั้ง 2 ประเภทจะถามเนื้อหาเหมือนกัน คือถามสิ่งที่ผู้เรียนได้รับจากการ
เรยี นการสอนซงึ่ จัดกลุม่ พฤติกรรมได้ 6 ประเภท คอื ความรู้ ความจำ ความเขา้ ใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การ
สังเคราะห์ และการประเมนิ

1. แบบทดสอบท่ีครูสรา้ งขึ้นเปน็ แบบทดสอบท่ีครสู รา้ งข้ึนเองเพื่อใช้ในการทดสอบผู้เรียนในชั้น
เรยี น แบ่งเปน็ 2 ประเภท คือ

1.1 แบบทดสอบปรนัย (Objective Tests) ได้แก่ แบบถูก - ผิด (True - False)แบบ
จับคู่ (Matching) แบบเติมคำให้สมบูรณ์ (Completion) หรือแบบคำตอบสั้น (Short Answer)และแบบ
เลือกตอบ (Multiple Choice)

1.2 แบบอัตนัย ( Essay Tests) ได้แก่ แบบจำกัดคำตอบ ( Restricted Response
Items) และแบบไมจ่ ำกดั ความตอบ หรือตอบอย่างเสรี (Extended Response Items)

2. แบบทดสอบมาตรฐาน (Standardized Tests) เป็นแบบทดสอบที่สร้างโดยผู้เชี่ยวชาญที่มี
ความรู้ในเนื้อหา และมีทักษะการสร้างแบบทดสอบ มีการวิเคราะห์หาคุณภาพของแบบทดสอบ มีคำชี้แจง
เกี่ยวกับการดำเนินการสอบ การให้คะแนนและการแปลผล มีความเป็นปรนัย (Objective) มีความ
เที่ยงตรง (Validity) และความเชื่อมั่น (Reliability) แบบทดสอบมาตรฐาน ได้แก่ California Achievement
Test, Iowa Test of Basic Skills, Standford Achievement Test และ the Metropolitan Achievement
tests เป็นต้น

พิสณุ ฟองศรี (2553 : 124 - 125) ได้กล่าวถึงการสร้างและพัฒนาแบบสอบชนิดเลือกตอบ ไว้ว่า
แบบสอบประเภทปรนัยชนิดเลือกตอบใช้กันแพร่หลายมากที่สุด แบ่งย่อยออกเป็น 3 ประเภท คือ แบบคำถาม
โดด แบบสถานการณ์และแบบตัวเลือกคงที่ จุดมุ่งหมายในการใช้แบบทดสอบชนิดเลอื กตอบ เพื่อวัดพฤติกรรม
ด้านพุทธิพิสัยเกี่ยวกับความรู้ ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้วิเคราะห์ โดยอาจวัดได้ถึงการสังเคราะห์และ
ประเมนิ คา่ ได้

ข้อดขี องแบบสอบชนดิ เลอื กตอบ
1. ออกข้อคำถามได้ทุกเนื้อหาและพฤติกรรม
2. ตรวจงา่ ย ยุตธิ รรม

3. ในการตรวจไมม่ ปี ัญหาเรอ่ื งการอา่ น

4. สามารถพฒั นาให้เป็นแบบสอบมาตรฐานได้

5. สอดคลอ้ งกบั พฤติกรรมของมนุษยท์ ่ตี ้องตดั สินใจเลือกอยูเ่ สมอ

ข้อเสียของแบบสอบชนดิ เลือกตอบ

1. สร้างยากใช้เวลาค่อนข้างนานกว่าแบบสอบปรนัยประเภทอื่น เนื่องจากต้องสร้าง ทั้งข้อ

คำถามและตัวเลอื ก ยงิ่ มหี ลายตวั เลือกกย็ ่ิงสร้างยาก

2. ใชเ้ วลานานและคา่ ใชจ้ า่ ยสงู

3. ถ้าสร้างไมด่ ีมักจะวดั ไดเ้ ฉพาะพฤติกรรมระดับความรู้ - ความจำ

พิสณุ ฟองศรี (2553 : 126 - 147) ได้กลา่ วถงึ การสร้างแบบสอบชนิดเลือกตอบไวว้ ่า การสร้างแบบ

สอบชนดิ เลอื กตอบมหี ลกั การสรา้ ง ดงั นี้

1. ศกึ ษาหลกั สูตร เนอ้ื หา และวัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรมหรือการเรียนรู้

2. สรา้ งตารางวิเคราะห์หลกั สูตร (Table of Specification)

26

3. รา่ งข้อคำถามและองคป์ ระกอบ ขอ้ คำถามทใ่ี ช้สำหรบั วดั พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยท้งั 6 ระดับ

โดยมีข้อคำถามหลกั ๆ ดงั นี้

3.1 ด้านความรู้ความจำ การวัดด้านความรู้ความจำ เป็นความสามารถในการระลึกได้ถึง

เรื่องราวต่าง ๆ ที่เคยประสบมาคำถามประเภทนี้จะเป็นคำถามตามตำราหรือตามประสบการณ์ที่เคยได้รับ หรือ

ตามท่ีผู้บอกหรอื สอนไว้ หรอื ถามความจำทเี่ กีย่ วกบั เน้อื หาวชิ าที่เรียนมา แบ่งออกเปน็ 3 ระดับ คือ

3.1.1 ความจำเก่ียวกบั เน้ือเรอ่ื ง

1) การถามความรู้เกี่ยวกับศัพท์และนิยาม เช่น การถามชื่อ ถามคำศัพท์ การถาม

ความหมาย การถามตัวอย่าง

2) ถามความรู้เกี่ยวกับกฎและความจริง เช่น การถามสูตร กฎ หลักการ ทฤษฎี

สมมตฐิ าน ถามความจริงเก่ียวกับเรื่องราวหรือเนื้อเรื่อง ถามขนาด จำนวน ถามสถานท่ี ถามเวลา ถามคุณสมบัติ

ถามวัตถปุ ระสงค์ ถามสาเหตุและผลทีเ่ กิด ถามประโยชน์และโทษ ถามสทิ ธหิ นา้ ที่

3.1.2 ความรู้เกี่ยวกับดำเนินการ เปน็ การถามความรู้เกย่ี วกับวิธีปฏิบัติ ในการทำกิจการ

ต่าง ๆ และเรื่องราวเหตุการณ์ เขียนได้ 5 แบบ ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับระเบียบแบบแผน ความรู้เกี่ยวกับลำดับขั้น

และแนวโน้ม ความรูเ้ กี่ยวกบั การจำแนกประเภท ความร้เู กยี่ วกบั เกณฑ์ และความรูเ้ กี่ยวกับวิธีการ

3.1.3 ความรู้รวบยอดในเนื้อเรื่อง เป็นการถามความสามารถในการจดจำข้อสรุปหรือ

หลกั การของเรื่องที่เกิดข้ึนจากการผสมผสานหาลักษณะรว่ มเพ่ือรวบรวมและย่นย่อลงมาเป็นหลักหรือหัวใจของ

เนื้อหานั้น มี 2 แบบ คือ ความรู้เกี่ยวกับหลักวิชาการกับการขยายหลักวิชา และความรู้เกี่ยวกับ ทฤษฎีกับ

โครงสรา้ ง
3.2 ความเข้าใจ การวัดความเข้าใจเป็นการถามเกี่ยวกับความสามารถในการนำ ความรู้

ความจำไปดัดแปลงปรับปรุง เพื่อให้สามารถจับใจความอธิบาย หรือเปรียบเทียบย่นย่อเรื่องราว ความคิด
ขอ้ เท็จจริงต่าง ๆ รวมทง้ั สามารถอธิบายและเปรียบเทยี บส่ิงท่มี ีลักษณะและสภาพคล้ายคลงึ กันเปน็ ทำนองเดียวกับ
ของเดิมได้ ผทู้ ม่ี ีความเข้าใจในสิง่ ใดจะสามารถแปลความหมายหรือตคี วามหมาย หรอื ขยายความเก่ียวกับสิ่งนั้น
ได้ คำถามทีใ่ ชว้ ดั ความเขา้ ใจมี 3 แบบ คอื การแปลความ การตีความและการขยายความ

3.3 การนำไปใช้ การวัดการนำไปใช้ เป็นการถามเก่ยี วกับการนำเอาความรู้ ความเขา้ ใจไปใช้
ในการแก้ปญั หาใหม่ท่ีมีลักษณะเดียวกนั หรือคล้ายคลึงกันได้ ถามประเภทนี้จะถามสิ่งต่าง ๆ 3 แบบ คือ ถามให้
แก้ปัญหา ถามความสอดคล้องระหว่างหลักวิชาการกับการปฏิบัติ และถามให้อธิบายเหตุผลตามหลักวิชาหรือ
เหตุผลของการปฏิบัติ

3.4 การวิเคราะห์ การวัดการวิเคราะห์เป็นการวัดความสามารถในการแยกแยะ สิ่งต่าง ๆ
หรือเรื่องราวต่าง ๆ ออกเป็นส่วนย่อย ๆ เพื่อค้นหาความจริงทีซ่ ่อนเร้นอยู่ในเร่ืองราวน้ัน ๆ ว่ามีอะไรสำคญั มาก
หรือนอ้ ยในด้านใด มคี วามเกีย่ วพันกันอยา่ งไร และยึดหลกั การใด คำถามประเภทนี้แบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ การ
วิเคราะหค์ วามสำคัญ การวเิ คราะหค์ วามสัมพันธ์ และการวเิ คราะห์หลักการ

3.5 การสังเคราะห์ การวัดการสังเคราะห์เป็นการวัดความสามารถในการรวบรวมผสมผสาน
สิ่งต่าง ๆ เช่น สิ่งของ ข้อเท็จจริง รายละเอียด ความคิด เพื่อนำมาผลิตหรือทำให้เป็นสิ่งใหม่ หรือเพื่อหาข้อสรุป
ข้อยุติ คำถามประเภทนี้แบ่งเป็น 3 แบบ คือ การสังเคราะห์ข้อความ การสังเคราะห์แผนงาน และการสังเคราะห์
ความสัมพนั ธ์

3.6 การประเมินค่า การวัดการประเมินค่าเป็นการวินิจฉัยตีราคาโดยสรุปอย่างมีหลักเกณฑ์
การประเมนิ คา่ แบง่ ยอ่ ยออกเปน็ 2 แบบ คอื การประเมินค่าโดยอาศยั เกณฑภ์ ายในและการประเมนิ คา่ โดยอาศัย
เกณฑภ์ ายนอก

27

ไพศาล วรคำ (2556 : 239 - 243) ได้กล่าวถึงการสร้างแบบทดสอบและประเภทของ แบบทดสอบ
ไว้ว่า แบบทดสอบ (Test) หมายถงึ ชุดของข้อคำถามท่ีใชว้ ัดค่าของตัวแปรใดตัวแปรหน่งึ โดยมีคำตอบที่ถูกต้อง
แน่นอน และมีกฎเกณฑ์ในการตรวจให้คะแนนอย่าง สมเหตุสมผลและแน่นอน สามารถแบ่งประเภทของ
แบบทดสอบ ได้ดงั นี้

1. จำแนกตามคุณลักษณะที่ต้องการวัด ซึ่งเป็นคุณลักษณะทางจิตภาพ แบบทดสอบจึงทำ
หนา้ ทเี่ ป็นแบบวดั เพราะใชว้ ดั คุณลักษณะต่าง ๆ จำแนกไดเ้ ปน็ 3 ประเภท คือ

1.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (Achievement Test) เป็นแบบทดสอบที่ใช้วัด
ความรู้ (Knowledge) และทกั ษะ (Skill)

1.2 แบบทดสอบวัดบุคลิกภาพ (Personality Test) เป็นแบบดสอบที่ใช้วดั คุณลักษณะของ
คนเกี่ยวกับความรู้สึกนึกคิดและเจตคติ ลักษณะของแบบทดสอบมีทั้งแบบสอบภาคปฏิบัติ และแบบถามตอบ
การทดสอบเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ แบบวัดที่ใช้การฉายออก (Projective Test)
และแบบวัดที่ไม่ใช้การฉายออก (Non Projective Test) แบบวัดที่ใช้การฉายออกจะมีลักษณะเป็นแบบทดสอบ
ส่วนแบบวดั ที่ไม่มีการฉายออกจะมีลักษณะเป็นแบบสอบถามหรือรายงานตนเอง ซึ่งมกั จะมีปัญหาเร่ืองการตอบ
คือ ผ้ตู อบจะตอบในแนวทางทใี่ หต้ นเองดดู ี คำตอบทไี่ ดจ้ ึงไมค่ ่อยตรงตามความเปน็ จริง

1.3 แบบวดั ความถนัด (Aptitude Test) เปน็ การวดั ศกั ยภาพ (Potential) ของผูต้ อบเพ่ือใช้
ในการทำนายความสามารถในการปฏิบัติงาน กิจกรรมหรือการศึกษาในอนาคต ผลของการวัดความถนัดจะเป็น
ประโยชน์ต่อครูผู้สอน ครูแนะแนว และผู้บริหาร แบบวัดความถนัดแบ่งออกเป็น แบบวัดความถนัดทั่วไป แบบวัด
ความถนัดเฉพาะทาง แบบวัดความพร้อม และแบบวดั ความคิดสรา้ งสรรค์

2. จำแนกตามลักษณะการตรวจให้คะแนน แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ไดแ้ ก่
2.1 แบบทดสอบปรนัย (Objective Test) หมายถึง แบบทดสอบที่การตรวจให้คะแนนมี

ความเป็นปรนัยสูง กล่าวคือ ไม่ว่าจะให้บุคคลใดเป็นผู้ตรวจก็สามารถให้คะแนนได้ถูกต้องตรงกันเสมอ เช่น
แบบทดสอบแบบเลือกตอบ แบบทดสอบแบบจับคู่ แบบทดสอบแบบถกู -ผดิ เป็นตน้

2.2 แบบทดสอบอัตนัย (Subjective Test) หมายถึง แบบทดสอบที่การตรวจ ให้คะแนนมี
ความเป็นปรนัย หรือคะแนนที่ได้จะขึ้นอยู่กับการพิจารณาของผู้ตรวจให้คะแนนแต่ละคน เช่น แบบทดสอบ
ความเรียง แบบทดสอบเตมิ คำ เป็นต้น

2.3 แบบทดสอบอัตนัยประยุกต์ (Modified Subjective Test) หมายถึง แบบทดสอบที่ทำ
การปรบั ปรงุ มาจากแบบทดสอบอัตนยั โดยการปรับวธิ กี ารตรวจให้คะแนนใหม่ ความเป็นปรนยั มากขน้ึ

3. จำแนกตามลักษณะการสร้าง จำแนกได้ 2 ประเภท คือ
3.1 แบบทดสอบมาตรฐาน (Standardized Test) เป็นแบบทดสอบที่มีคณะผู้เชี่ยวชาญ

ทางด้านจิตวิทยา ด้านการวัดและประเมิน และนักวิชาการสาขาต่าง ๆ ร่วมกันพัฒนาขึ้นภายใต้ กระบวนการ
สร้างทไี่ ด้มาตรฐาน และมีการพัฒนาอย่างตอ่ เน่อื งจนเปน็ ทยี่ อมรบั กนั ทัว่ ประเทศ

3.2 แบบทดสอบที่ผู้วิจัยสร้างเอง (Researcher - Made Test) เป็นแบบทดสอบที่ผู้วิจัย
สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย หรืออาจเป็นแบบทดสอบที่มีผู้วิจัยอื่น ๆ
สร้างไว้แล้ว

4. จำแนกตามลักษณะการนำผลที่ไดไ้ ปใชป้ ระเมิน จำแนกเปน็ 2 ประเภท คอื
4.1 แบบทดสอบแบบอิงเกณฑ์ (Criterion - Referenced Test) เป็นแบบทดสอบ ที่สร้างขึ้น

เพื่อวัดความรู้ความสามารถของแต่ละบุคคลว่ามีความรู้ความสามารถตามเกณฑ์ตั้งไว้หรือไม่ ส่วนใหญ่จะใช้ใน
การประเมนิ เพ่ือพัฒนาผ้เู รยี น

4.2 แบบทดสอบแบบอิงกลุ่ม (Norm - Referenced Test) เป็นแบบทดสอบที่สร้างขึ้นเพ่ือ
วัดความรู้ความสามารถของแต่ละบุคคลว่ามีอยู่ในระดับใดเมื่อเทียบกับบุคคลอื่น ๆ เกี่ยวกับเนื้อหาและ

28

พฤติกรรมที่ต้องการวัด สว่ นใหญแ่ บบทดสอบแบบองิ กลมุ่ จะใช้จัดตำแหน่ง ความรอบรู้ของผเู้ รียนในเร่อื งที่สอน
หรือใช้ในการประเมินผลสรุปรวม แบบทดสอบประเภทนี้จึงมุ่งทดสอบให้ครอบคลุมเนื้อหาที่ต้องการวัดให้มาก
ทสี่ ดุ

5. จำแนกตามลักษณะการตอบสนอง จำแนกได้เปน็ 3 ประเภท คือ
5.1 แบบทดสอบข้อเขียน (Paper - Pencil Test) เป็นแบบทดสอบที่ผู้ตอบต้องอ่านข้อ

คำถามแล้วเลือกคำตอบหรือเขียนตอบในกระดาษคำตอบที่จัดให้ มีหลายรูปแบบ ได้แก่ แบบทดสอบเลือกตอบ
แบบทดสอบความเรียง แบบทดสอบเติมคำ แบบทดสอบโคลซ

5.2 แบบทดสอบปฏิบตั ิ (Performance Test) เปน็ แบบทดสอบทีใ่ ชว้ ัดทกั ษะ ความสามารถ
ในการปฏิบัติงานโดยการกำหนดภาระงาน เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ให้ผู้เข้าสอบได้ปฏิบัติงานตามคำสั่ง หรือ
สถานการณท์ ีก่ ำหนด

5.3 แบบทดสอบปากเปล่า (Oral Test) เป็นแบบทดสอบที่มีลักษณะคล้าย แบบทดสอบ
ความเรียงหรือแบบทดสอบอัตนัย แต่แทนทจี่ ะให้ผ้ตู อบเขียนคำตอบในกระดาษคำตอบ กใ็ ห้ผู้ตอบบรรยายหรือ
อธิบายออกมาให้ฟัง หรือมีลักษณะเดียวกันกับการสัมภาษณ์ เพียงแต่ประเด็นคำถามต้องการที่จะ ตรวจสอบ
ความรู้ความสามารถ ตลอดจนปฏิญาณไหวพรบิ ของผ้ตู อบ

สรุปได้ว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบ่งได้ 2 ประเภท คือ แบบทดสอบมาตรฐาน ซึ่ง
สร้างจากผู้เชีย่ วชาญดา้ นเนื้อหาและด้านวัดผลการศึกษา มีการหาคุณภาพเป็นอย่างดี ส่วนอีกประเภทหนึ่ง คือ
แบบทดสอบที่ครูสร้างขึ้น เพื่อใช้ในการทดสอบในชั้นเรียน ในการออกแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
คำศพั ทเ์ พ่ือการสื่อสาร ผู้วิจยั ไดเ้ ลือกแบบทดสอบที่ผู้วิจัยสร้างขึน้ แบบปฏิบตั ิ ในการวัดความสามารถในการนำ
คำศัพท์ไปใช้ในการสื่อสารด้านการการพูดและการเขียน และเลือกแบบทดสอบแบบเขียนตอบที่จำกัดคำตอบ
โดยการเลือกตอบจากตัวเลือกที่กำหนดให้ในการวัดความรู้ความเข้าใจความหมายของคำศัพท์ และการนำ
คำศพั ทไ์ ปใชใ้ นการฟังและการอ่าน

5.3 ปัจจัยทม่ี ีความสัมพันธ์กบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น
เรณุกา หนูวัฒนา (2551 : 94) พบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา

ภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่
ปัจจยั ผเู้ รียนด้านเจตคติตอ่ การเรียนภาษาอังกฤษ ปัจจัยด้านโรงเรียน และปัจจยั ด้านครอบครวั

อรทัย จันใด (2553 : 80 - 81) พบว่า ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
ภาษาอังกฤษ ได้แก่ คุณภาพการสอนของครู บุคลิกภาพของครู บรรยากาศในชั้นเรียน เจตคติ ต่อการเรียน
ภาษาอังกฤษ ความต้งั ใจเรยี น อัตมโนทัศน์เกยี่ วกบั ตนเอง และแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์

วนิดา ดีแป้น (2553 : ค - ง) พบว่า ตัวแปรอิสระระดับนักเรียนที่มีความสัมพันธ์ทางบวกกับ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ได้แก่ โอกาสในการฝึกใช้
ภาษาอังกฤษ ความรู้พื้นฐานเดิม ความถนัดทางภาษา เวลาที่เข้าเรียนชั่วโมง ภาษาอังกฤษ เจตคติต่อ
ภาษาองั กฤษ แรงจงู ใจใฝ่สมั ฤทธิ์ ความเอาใจใสข่ องผูป้ กครอง และนิสัยในการเรียน

ศิรินาฏ เจาะจง (2554 : 84 - 93) ได้ศึกษาสภาพปัจจัยการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและ ผลกระทบ
ของครอบครวั ท่มี ีต่อนกั เรยี นในชนบท พบวา่ ปจั จัยท่ีมอี ิทธพิ ลต่อการเรียนภาษาองั กฤษ ไดแ้ ก่ ปัจจยั ทางครอบครัว
รายได้ของครอบครัว การสนับสนุนทางครอบครัว โอกาสในการใช้ภาษาอังกฤษ ตัวนักเรียนเอง ครูสอน
ภาษาองั กฤษดุและเข้มงวดเกินไป สภาพการจดั การเรียนการสอนของครู สภาพแวดล้อมของโรงเรียน ผู้ปกครอง
ไมเ่ หน็ ความสำคัญของการเรยี นภาษาอังกฤษ

29

สรุปได้ว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษมีมากมาย ในการจัด
กระบวนการเรียนการสอนนั้นควรคำนึงถึงตัวผู้เรียน ซึ่งตัวผู้เรียนเองนั้นนับเป็นปัจจัยที่สำคัญที่มีอิทธิพลต่อ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ สามารถสังเกตได้จากเจตคติต่อวิชาภาษาอังกฤษ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์
และความตั้งใจเรียน อกี ปจั จัยหนึ่งทสี่ ่งผลต่อผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นวิชาภาษาอังกฤษ คือ ครูผู้สอนและการจัด
กระบวนการเรียนการสอน ครผู ้สู อนจะตอ้ งเอาใจใส่ในการเตรียมความพร้อมไมว่ ่าจะเป็นเตรยี มเน้ือหาท่ีจะสอน
เตรียมพร้อมเรื่อง สื่อโสตทัศนูปกรณ์ต่าง ๆ และแม้กระทั่งบุคลิกภาพการสอนของครู เช่น การแต่งกายของครู
ท่วงท่า น้ำเสียง การยืน การเดิน ท่าทางประกอบการบรรยายของครูที่สอนนักเรียน ตลอดรวม ไปถึงปัจจัยดา้ น
สภาพแวดล้อม การจัดบรรยากาศในช้ันเรยี น การตกแต่งห้องเรียน และบรรยากาศทีด่ ีเอ้ือประโยชน์ต่อการเรียน
น้นั กส็ ่งผลตอ่ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวชิ าภาษาอังกฤษ ดว้ ยทง้ั สน้ิ

6. เอกสารท่ีเกยี่ วกับแบบสอบถามความคดิ เห็น

6.1 ความหมายของแบบสอบถามความคิดเห็น
แบบสอบถามเป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งที่สร้างขึ้นเพื่อวัดความคิดเห็นต่าง ๆ หรือวัดความจริงที่ไม่

ทราบ อนั จะทำใหไ้ ดม้ าซ่ึงข้อเท็จจรงิ ทั้งในอดีต ปจั จุบนั และการคาดคะเนเหตุการณ์ในอนาคตส่วนใหญจ่ ะอยู่ใน
รูปของคำถามเป็นชุด ๆ เพื่อวัดสิ่งที่ต้องการวัด โดยมีคำถามเป็นตัวกระตุ้นเร่งเร้า ให้บุคคลตอบออกมา นับว่า
เป็นเครื่องมือที่นิยมใช้วัดทางด้านจิตพิสัย (Affective Domain) และมีผู้ให้คำจำกัดความของ “แบบสอบถาม”
ไว้หลายทา่ นดว้ ยกัน ดงั นี้

พิชญ์สินี ชมภูคำ (2551) ให้คำนิยามว่า แบบสอบถามเป็นรปู แบบของคำถามเปน็ ชุด ๆ ที่ได้ถูก
รวบรวมไว้อย่างมีหลักเกณฑ์และเป็นระบบ เพื่อใช้วัดสิ่งที่ผู้วิจัยต้องการจะวัดจากกลุ่มตัวอย่าง หรือประชากร
เป้าหมายให้ได้มาซึ่งข้อเท็จจริงทั้งในอดีต ปัจจุบันและการคาดคะเนเหตุการณ์ในอนาคต แบบสอบถาม
ประกอบด้วย รายการคำถามที่สร้างอย่างประณีต เพื่อรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นหรือข้อเท็จจริง โดยส่ง
ให้กลุ่มตัวอย่างตามความสมัครใจ การใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลนั้น การสร้าง
คำถามเป็นงานที่สำคัญสำหรับผู้วิจัย เพราะว่าผู้วิจัยอาจไม่มีโอกาสได้พบปะกับผู้ตอบแบบสอบถามเพื่ออธิบาย
ความหมายต่าง ๆ ของข้อคำถามทต่ี อ้ งการเก็บรวบรวม

อุดม กุลธร (2551 : 23) กล่าวถึงความคิดเห็นในแบบความพึงพอใจ เป็นระดับความรู้สึก หรือ
ทัศนคติของกลุ่มบุคคล หรือบุคคลที่มีต่อปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ความรู้สึกพึงพอใจจะเกิดขึ้นต่ อเมื่อความ
ต้องการของบุคคล หรือกลุ่มบุคคลเหล่านั้นได้รับการตอบสนอง ทั้งในด้านตัวสินค้า และบริการ โดยทำการ
เปรียบเทยี บกบั ผลประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั กบั ความคาดหวงั ในการรับบริการ หรือ ซอ้ื บรกิ าร

ธเนศ ต่วนชะเอม (2552) แบบสอบถาม คือ ข้อคำถามที่ผู้วิจัยต้องสร้างขึ้นตามกรอบแนวคิด
และนิยามปฏิบัติการอย่างได้มาตรฐาน (Standard) สำหรบั วัดสงิ่ ที่ต้องการวัด

สรุปได้ว่า แบบสอบถามเป็นรูปแบบของคำถามเป็นชุด ๆ ที่ได้ถูกรวบรวมไว้อย่างมีหลักเกณฑ์และ
เป็นระบบ โดยสร้างขนึ้ เพอ่ื วัดระดับความคดิ เหน็ หรือความพงึ พอใจ ความรู้สกึ หรือทัศนคติของกลุ่มบุคคลหรือ
บุคคล ท่มี ีตอ่ ปจั จยั ต่าง ๆ

30

6.2 ประเภทของแบบสอบถามความคดิ เห็น
แบบสอบถามความคิดเห็นที่ใช้ในการวัดระดับความคิดเห็นทางด้านจิตพิสัย ( Affective

Domain) มีผู้จำแนกประเภทของแบบสอบถามความคดิ เห็น ดงั นี้
ไพศาล วรคำ (2556 : 251 - 258) ได้กล่าวถึงการสร้างแบบสอบถามไว้ว่า แบบสอบถามเป็น

เครื่องมือที่ใช้สอบถามความคิดเห็นต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือใช้สอบถามพฤติกรรมการปฏิบัติ คุณลักษณะและ
บุคลิกภาพ โดยให้กลุม่ ตัวอย่างเขียนตอบหรอื เลือกคำตอบทจ่ี ัดไวใ้ ห้ สามารถแบง่ ออกเปน็ 3 ประเภท ได้แก่

1.จำแนกตามคุณลักษณะที่ต้องการวัด ได้แก่ แบบวัดบุคลิกภาพ แบบวัดเจตคติ แบบวัดความ
สนใจ

2.จำแนกตามลักษณะของมาตรประมาณค่า ได้แก่ มาตรวัดของลิเคิร์ต มาตรวัดของออสกูด
มาตรวัดของเทอร์สโตน และมาตรวัดของกัทท์แมน ในที่นี้ผู้วิจัยจะนำเสนอรายละเอียดของมาตรวัดลิเคิร์ต
(Likert Scales) ดงั นี้

มาตรวัดลิเคิร์ต (Likert Scales) ส่วนใหญ่จะใช้ในการถามความรู้สึกหรือเจตคติต่อสิ่งใดส่ิง
หนึ่งโดยให้ผู้ตอบเลือกระดับความรู้สึกจากมากไปหาน้อย เช่น “มากที่สุด” “มาก” “ปานกลาง” “น้อย” และ
น้อยที่สุด” โดยกำหนดคะแนนเป็น 5, 4, 3, 2, 1 สำหรับข้อคำถามเชิงบวก และกำหนดคะแนนเป็น 1, 2, 3, 4
และ 5 สำหรับข้อคำถามเชิงลบ การแปลผลให้รวมคะแนนทั้งหมดของแบบวัด ถ้ามีคะแนนสูงแสดงว่ามีเจตคติ
ตอ่ ส่ิงนน้ั ในทางบวกสูง ข้อบกพรอ่ งทส่ี ำคญั ของมาตรวัดของลิเคริ ์ตคือ คะแนนท่ใี ห้ซง่ึ แทจ้ รงิ แล้วเป็นเพียงระดับ
ความคดิ เหน็ ไมส่ ามารถบอกไดว้ ่าระดับ ความคิดเห็นท่ตี ่างกันมีระยะห่างกันเทา่ ใด

3. จำแนกตามลักษณะการตอบ ได้แก่ แบบสอบถามปลายปิด แบบสอบถามปลายเปิด และ
แบบสอบถามชนิดผสม

ขนั้ ตอนการสร้างแบบสอบถาม
1. ระบตุ วั แปรและกลุ่มประชากรท่ีจะศึกษา
2. กำหนดนิยามเชงิ ปฏิบัตกิ ารของตัวแปรทต่ี ้องการวัด
3. ระบุวธิ ีการเก็บรวบรวมข้อมูล
4. เลือกรูปแบบของแบบสอบถามทีต่ อ้ งการ
5. รา่ งคำถามท่ตี ้องการถาม
6. นำเสนอผเู้ ชีย่ วชาญทางด้านเน้ือหา ด้านจิตวิทยา ดา้ นการวดั และประเมินผล หรอื ด้านอ่ืน ๆ

ท่เี กยี่ วขอ้ งในการตรวจสอบความเทยี่ งตรงเชงิ เนอ้ื หา
7. ทดลองใชแ้ บบสอบถาม
8. ปรบั ปรงุ แบบสอบถาม
9. จัดแบบสอบถามฉบบั สมบรู ณ์ มีจดหมายนำส่งและวิธีการส่งแบบสอบถามกลับคืน

สรุปได้ว่า ประเภทของแบบสอบถามความคิดเห็น สามารถจำแนกได้ตามลักษณะ ได้แก่ 3 ลักษะ
ดังนี้ คือ จำแนกตามคุณลักษณะที่ต้องการวัด จำแนกตามลักษณะของมาตรประมาณค่า และจำแนกตาม
ลักษณะการตอบ ซึ่งผู้วิจัยได้เลือกใช้แบบสอบถามประเภทจำแนกตามลักษณะของมาตรประมาณค่า คือ มาตร
วัดของลิเคิร์ต โดยผู้วิจยั ใชใ้ นการถามความคิดเห็นต่อการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้วิธกี ารสอน ซี
ไอ อาร์ ซี บนเครือข่ายสังคมออนไลน์เอ็ดโมโด โดยให้ผู้ตอบเลือกระดับความรู้สึกจากมากไปหาน้อย ได้แก่
“มากท่ีสดุ ” “มาก” “ปานกลาง” “น้อย” และนอ้ ยที่สุด” โดยกำหนดคะแนนเปน็ 5, 4, 3, 2, 1

31

6.3 หลักการสร้างและขัน้ ตอนการสร้างแบบสอบถาม
พิชญส์ ินี ชมภคู ำ (2551) ไดบ้ อกหลกั การสรา้ งแบบสอบถาม และขน้ั ตอนการสร้างแบบสอบถาม

ไว้ ดงั นี้
1. สอดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงค์การวิจยั
2. ใชภ้ าษาทเ่ี ข้าใจง่าย เหมาะสมกบั ผ้ตู อบ
3. ใชข้ ้อความที่สัน้ กะทัดรัด ไดใ้ จความ
4. แตล่ ะความถามควรมนี ัย เพียงประเดน็ เดยี ว
5. หลกี เลี่ยงการใช้ประโยคปฏิเสธซอ้ น
6. ไมค่ วรใช้คำย่อ
7. หลีกเลย่ี งการใชค้ ำทเ่ี ป็นนามธรรมมาก
8. ไมช่ น้ี ำการตอบให้เป็นไปแนวทางใดแนวทางหนึ่ง
9. หลีกเลี่ยงคำถามท่ีทำให้ผตู้ อบเกดิ ความลำบากใจในการตอบ
10. คำตอบท่มี ีให้เลอื กต้องชดั เจนและครอบคลุมคำตอบทเ่ี ป็นไปได้
11. หลกี เล่ียงคำที่สอ่ื ความหมายหลายอยา่ ง
12. ไม่ควรเป็นแบบสอบถามที่มีจำนวนมากเกินไป ไม่ควรให้ผู้ตอบใช้เวลาในการตอบ

แบบสอบถามนานเกนิ ไป
13. ขอ้ คำถามควรถามประเดน็ ท่ีเฉพาะเจาะจงตามเป้าหมายของการวิจัย
14. คำถามต้องนา่ สนใจสามารถกระตนุ้ ใหเ้ กิดความอยากตอบ

มขี นั้ ตอนการสรา้ งแบบสอบถามไว้ ดังนี้
1. กำหนดวตั ถุประสงค์ของการสรา้ งแบบสอบถาม
2. ระบุเนื้อหาหรือประเด็นหลกั ทีจ่ ะถามให้ครอบคลุมวตั ถุประสงค์ทจ่ี ะประเมนิ
3. กำหนดประเภทของคำถามโดยอาจจะเปน็ คำถามปลายเปิดหรือปลายปดิ
4. รา่ งแบบสอบถาม โครงสรา้ งแบบสอบถามอาจแบ่งเป็น 3 ตอน คือ
ตอนท่ี 1 ข้อมูลเบ้ืองต้น/ข้อมลู ทั่วไป
ตอนที่ 2 ข้อมลู หลักเกยี่ วกับเร่อื งท่จี ะถาม
ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ
5. ตรวจสอบข้อคำถามวา่ ครอบคลมุ เรือ่ งท่จี ะวัดตามวัตถุประสงค์หรือไม่
6. ใหผ้ เู้ ชียวชาญตรวจสอบความเทยี่ งตรงเน้อื หาและภาษาท่ีใช้
7. ทดลองใชแ้ บบสอบถามเพอ่ื ดูความเปน็ ปรนยั ความเชอื่ มัน่ และเพอ่ื ประมาณเวลาทีใ่ ช้
8. ปรบั ปรุงแก้ไข
9. จัดพิมพแ์ ละทำคมู่ ือ

32

ธเนศ ตว่ นชะเอม (2552) แบ่งข้ันตอนในการสรา้ งแบบสอบถามไว้ 7 ขัน้ ตอน ดังนี้

ขั้นที่ 1 สิ่งที่ผู้วิจัยยกร่างควรคำนึง ก่อนที่จะสร้างแบบสอบถามนั้น ผู้ยกร่างจะต้องคำนึงถึงส่ิง

ตา่ ง ๆ ดงั ตอ่ ไปนีก้ อ่ น คอื

1) ต้องทราบและคำนึงปัญหาการวิจัย วัตถุประสงค์และจุดมุ่งหมายของการวิจัย รวมทั้ง

สมมตฐิ านการวจิ ัย และทีส่ ำคัญมากท่สี ดุ คือนยิ ามปฏิบัติการ (O.D.) อย่างชัดเจนว่าต้องการศึกษาหรือถามอะไร

แล้วจงึ นำเอาความตอ้ งการทราบน้ันมาต้ังเปน็ คำถาม
2) ต้องคำนึงถึงผู้ตอบว่าเป็นใคร มีระดับการศึกษาแค่ไหน และมีเวลาหรือ ความตั้งใจ

เพียงใดนน่ั คอื คำนึงถงึ หน่วยท่ีจะวิเคราะห์ (Unit of Analysis)
3) ต้องทราบลักษณะของข้อมูลว่าเป็นเชิงปริมาณหรือคุณภาพ เพื่อจะได้ตั้งคำถามสำหรับ

เก็บขอ้ มลู ไดส้ ะดวก
4) ต้องพิจารณาถึงประเภทหรือชนิดของคำถามว่าจะใช้คำถามปิด (Close -Ended) หรือ

คำถามเปิด (Open - Ended) จึงจะเหมาะสม
ขั้นที่ 2 จัดทำรายการหัวข้อปัญหาหรือตวั ชี้วัด (Indicator) ก่อนที่จะยกร่างคำถามนัน้ ควรจะได้

จดั ทำปัญหาใหญ่ ๆ ไว้ก่อน เพอ่ื สะดวกแก่การยกร่าง โดยนำเอาวตั ถุประสงคข์ องการวิจยั ทีต่ อ้ งทราบมาแปลง
เปน็ หัวขอ้ คำถาม เชน่ จะทำวจิ ยั เรื่องความยากจนของชาวนาในภาคกลาง ก็อาจต้ังเปน็ รูปปญั หาว่าเพราะเหตุใด
หรือมีสาเหตุอะไรบ้างที่ทำให้ชาวนายากจน ซึ่งอาจทำให้หัวข้อรายการใหญ่ ๆ ที่จะถามก็ได้ โดยให้ตรงกับ
วัตถุประสงค์และสมมติฐานการวิจัย ตัวอย่างเช่น ปัญหา ที่สำคัญ (Key Question) เกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล
(จะมีกี่ข้อ ขอให้ดูโครงสร้าง หรือกรอบแนวคิด) พร้อมทั้งให้คำจำกัดความแต่ละรายการปัญหาว่ามีขอบเขตแค่
ไหน และจะตอ้ งศึกษาคน้ คว้าเพ่ิมเติมอีกหรือไม่ ทั้งน้ีเพื่อจะได้คำถามใหค้ รอบคลุม และตรงกบั ปัญหาในรายการ
นัน้ อยา่ งแท้จรงิ

ขั้นที่ 3 การนิยามตัวแปร เมื่อกำหนดปัญหาการวิจัยและตั้งสมมติฐานการวิจัยแล้วผู้วิจัยจะต้อง
นิยามตัวแปร (Variables Definition) ที่ปรากฏอยู่ในปัญหา หรือสมมติฐานการวิจัย นั้นว่า หมายความว่า
อย่างไร หรือกนิ ความลึกมากน้อยเพยี งไร ซึง่ การนิยามมี 2 ระดับ คือ

1) นยิ ามทั่วไป (General Definition) หรอื นิยามเชิงทฤษฎี (Theoretical Definition) เปน็
การนิยามทั่ว ๆ ไป หรือเป็นการนิยามที่กว้างเกินไป โดยปกติเป็นการให้คำจำกัดความตามหนังสือตำราที่มีผู้ให้
ความหมายไว้ ซ่งึ การนิยามระดบั น้ียังไม่สามารถเก็บข้อมลู ได้

2) นิยามปฏิบัติการ (Operational, Working Definition) เป็นการนิยามชี้เฉพาะ เจาะจง
หรือให้ลึกลงไป ซึ่งเป็นการตีความหมาย หรือแยกกระจายออกไปภายใต้การนิยามทั่วไป ซึ่งการนิยามเชิง
ปฏิบัติการนี้เป็นเรื่องที่ผู้วิจัยต้องนิยามเอง โดยอาศัยทฤษฎี แนวความคิด ความรู้ ประสบการณ์และผลงานท่ี
เกี่ยวข้องของผู้วิจัย ซึ่งการนิยามในระดับปฏิบัติการนี้จะช่วยชี้แนวทาง ให้ผู้วิจัยสามารถสร้างคำตอบ และ
เก็บขอ้ มูลไดต้ รงเป้าหมายที่กำหนดไว้ เพ่อื นำขอ้ มลู มาทดสอบสมมติฐานต่อไป

ขั้นที่ 4 ลงมือยกร่างคำถาม เมื่อได้จัดทำรายละเอียดของปัญหาพร้อมหมดแล้วก็ถึง ขั้นที่จะต้อง
ยกร่างคำถามในแต่ละหวั ข้อ รายละเอยี ดน้นั ซ่งึ อาจดำเนินการดังต่อไปน้ี

1) ตั้งคำถามใหม้ ากที่สดุ เทา่ ทจี่ ะมากได้ และให้มีหลาย ๆ แบบ
2) ต้งั คำถามให้เสร็จส้ินไปในแต่ละรายการ
3) ให้พิจารณาว่าคำถามท่ีตงั้ น้ันตรงกับวตั ถุประสงค์ของการวิจยั หรอื ไม่
4) คำถามที่ตั้งขึ้นนั้น ควรจะใช้คำถามปิดหรือคำถามเปิด จึงจะได้ข้อมูลที่ถูกต้องและ
สมบรู ณม์ ากทส่ี ุด

33

5) คำถามที่ตั้งขึ้นนั้น มีซ้ำกันหรือคล้ายคลึงกันหรือไม่ ถ้าซ้ำกันให้ตัดทิ้งหรือดัดแปลงเข้า
ดว้ ยกนั ใช้ เพยี งคำถามเดยี ว

6) ถ้าเปน็ คำถามปิด ให้พิจารณาวา่ มีคำตอบใหเ้ ลือกตอบครบถ้วนหรือไม่ แต่ถ้าไมแ่ น่ใจ ให้
เปิดชอ่ งว่างสำหรบั คำตอบอนื่ ๆ (ระบุ)...................ไวด้ ้วย

7) ถ้าเป็นคำถามที่วัดทัศนคติให้พิจารณาถึง Scale ที่จะใช้มาตรวัดและควรแบ่งอย่างไร
เช่น ถ้ามีการศึกษาต่ำ (ป.6) อาจแบ่งเป็น 3 ระดับ คือ เห็นด้วย ไม่แน่ใจ และไม่เห็นด้วย ถ้ามีการศึกษาสูง
อาจแบ่งเป็น 5 ระดับคือ เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง พร้อมทั้งกำหนดคะแนนไว้
ด้วย

ข้ันที่ 5 ตรวจแกแ้ บบสอบถาม เมอื่ ได้ยกร่างคำถามแต่ละรายการหมดแล้วต้องช่วยกันตรวจสอบ
ความถูกตอ้ งและครบถว้ นของคำถามท้ังหมดน้นั ซึ่งอาจทำได้ 2 ทาง คอื

1) ตรวจสอบโดยผยู้ กรา่ งเอง อาจพิจารณาใน 2 ลกั ษณะใหญ่ ๆ ดงั น้ี ตรวจดูประโยชน์และ
ภาษาที่ใช้ (Wording) ว่ามีคำถามข้อใดบ้างที่ซ้ำกัน ใช้ภาษาไม่สุภาพ ไม่ชัดเจน หรือ ใช้ศัพท์ทางวิชาการสูง
เกินไป รวมทั้งตรวจดูว่าคำถามข้อนี้ยากเกินไปสำหรับผู้คำถามระดับนี้หรือไม่ และจะเหมาะสมเพียงไร มี
ลักษณะเป็นคำถามนำหรอื ไม่ มีความหมายหลายนัยหรอื ไม่ ถ้าหลายนัย ให้แยกออกเป็น 2 ข้อ เป็นคำถามที่จะ
ใหค้ ำตอบตรงกับวัตถปุ ระสงค์และสมมติฐานหรือไม่ และสะดวกแก่การรวบรวมตัวเลขเพยี งไร ถา้ ถามคำถามข้อ
นี้จะได้ประโยชน์อย่างไรบ้าง และถ้าไม่ถามจะขาดประโยชน์อย่างไรบ้าง หรือคำถามข้อนี้ถ้าเห็นว่าผู้ถามทราบดี
เท่าผู้ตอบก็ไม่ต้องถามให้เสียเวลา ตลอดจนตรวจดูการจัดหน้า เว้นวรรคและตัวสะกดการันต์ว่าถูกต้องและ
เหมาะสมดแี ลว้ หรือไม่ เปน็ ตน้

2) ตรวจสอบโดยบุคลากรภายนอก เพื่อให้ผู้ที่มีความรู้และชำนาญทางด้านนี้โดยเฉพาะได้
พิจารณากลั่นกรองก่อนว่า มีข้อความหรือคำถามข้อใดบ้างที่ควรแก้ไขให้ถูกต้องสมบูรณ์ซึ่งตามทฤษฎี ต้องมี
ผู้เชี่ยวชาญตรวจแก้ความถูกต้อง (Validity) ของการสอบถาม จำนวน 33 คน แต่ในทางปฏิบัติมี 3 ท่านก็
เพียงพอ แต่ต้องตรวจสอบให้ครบถ้วนตามเนื้อหา (Content Validity) อย่างแท้จริงในการพิจารณาผูเ้ ชี่ยวชาญ
ตรวจความครบถ้วนสมบรู ณ์ (Validity) ท้ัง 3 ทา่ นนต้ี อ้ งเป็น ผูม้ คี วามรู้ ประสบการณ์ เคยศึกษาและคลุกคลีกับ
เรื่องนั้นมาอย่างดี พอบอกชื่อและนามสกุลก็ทราบเป็นอย่างดีว่า เชี่ยวชาญในเรื่องนี้ เช่น ทำวิจัยเรื่อง “การ
ฌาปนกิจศพ” ผู้เชี่ยวชาญตรวจแบบสอบถามเครื่องมือวิจัย ได้แก่ สัปเหร่อ และต้องเป็นหัวหน้าสัปเหร่อด้วยอย่าง
นอ้ ยตอ้ ง 3 วดั การตรวจ Validity นี้ ควรใหผ้ เู้ ชีย่ วชาญ 3 - 5 คน ตรวจสอบดัชนคี วามสอดคล้องของข้อคำถามแต่
ละขอ้ กับวัตถุประสงค์ดว้ ย โดยการใชส้ ตู ร IOC

ข้นั ที่ 6 การทดสอบแบบสอบถาม (Pre - test) เปน็ ข้นั ตอนท่ีมีความสำคัญมากในทางปฏบิ ตั ิ การ
ทดสอบแบบสอบถามหมายถึง การนำคำถามไปถามกลุ่มประชากรที่มีคุณลักษณะคล้ายกับตัวอย่างที่จะไปเก็บ
รวบรวมข้อมูลจริง ๆ เช่น จะทำวิจัยเรื่อง ปญั หาความยากจนของชาวนาในภาคกลาง นักวจิ ยั กต็ อ้ งทดสอบกับบุคคล
ที่มีอาชีพทำนาเท่านั้นด้วย จะทดสอบกับชาวสวน พ่อค้า หรือข้าราชการไม่ได้ และต้องเป็นชาวนาในภาคกลาง
เท่านั้นด้วย การทดสอบ เป็นการตรวจดูว่าแบบสอบถามที่ร่างขึ้นมานั้นผู้ถูกถามมีความเข้าใจมากน้อยเพียงไร
และข้อบกพร่องที่ควรจะแก้ไขอย่างไรบ้างหรือไม่ ก็ให้บันทึกพร้อมเสนอแนะในแต่ละข้อคำถามไว้ด้วย การ
ทดสอบแบบสอบถามนีไ้ ดจ้ ดั ทำขึ้นโดยมีวตั ถปุ ระสงคด์ ังต่อไปน้ี

1) เพื่อหาความถูกต้องสมบูรณ์ (Validity) และความเชื่อถือได้ (Reliability) ของ
แบบสอบถามว่า จะสามารถใชเ้ ปน็ เครอื่ งมอื วิจัยในการวดั ความรู้สึกและประชากรได้หรือไม่ และไดข้ ้อมลู ตรงกัน
เพียงไร การตั้งคำถามเพื่อหา Validity และ Reliability ก็เหมือนกับการสร้างเครื่องมือวัด เช่น ไม้บรรทัด ถ้า
สร้างไม้บรรทัดได้มาตรฐาน การวัดก็ย่อมถูกต้องและน่าเชื่อถือการสร้างคำถามก็เช่นกัน ถ้าสร้างได้มาตรฐาน
และถูกต้องย่อมเป็นเครื่องมือวิจัยท่ีมี Validity และ Reliability สูงด้วย แต่ในทางทฤษฎีและทางปฏิบัติการสรา้ ง
ตรงตาม Validity ได้ดแี ลว้ ไซร์ Relidbility กส็ ูงไปดว้ ย

34

2) เพ่อื ตรวจดวู า่ คำถามทต่ี งั้ ขึน้ นน้ั ผู้ตอบมีความเข้าใจในภาษาท่ีใช้หรือไม่เพียงไร
3) เพอื่ ตรวจดวู ่ามีคำถามซำ้ กนั หรอื ไม่ และมีคำถามขอ้ ใดบา้ งที่เกินความจำเป็น
4) เพื่อตรวจดูว่าผู้ตอบสามารถตอบคำถามได้ดีหรือไม่ หรือคำถามข้อใดบ้างที่ทำให้ผู้ตอบ
แบบสอบถามรู้สึกอดึ อดั ในการตอบ
5) เพื่อตรวจดวู า่ มีคำถามขอ้ ใดบ้างทมี่ ลี ักษณะเป็นการถามนำ
6) เพอ่ื ตรวจดูวา่ มีคำถามปดิ ได้จดั เตรียมคำถามไว้ให้เลือกตอบครบถ้วนหรือไม่ในประเด็นนี้
การไปทดสอบกอ่ นจะได้คำตอบอีกมาก
7) เพื่อตรวจดูว่ามีคำถามในเรื่องเดียวกัน ได้จัดเรียงลำดับคำถามต่อเนื่องสัมพันธ์กันดี
เหมอื น ลกู โซ่หรอื ไม่
8) เพื่อตรวจดูว่ามีคำถามที่ต่อเนื่องจะสามารถทดสอบข้อเท็จจริงในตัวได้หรือไม่ เช่น
คำถามเรอ่ื ง รายรับ - รายจา่ ย ถ้ารายรบั มากกว่ารายจ่าย กต็ ้องมีเงินออม ถ้ารายจา่ ยมากกวา่ รายรับก็ต้องมีเงิน
ยมื เปน็ ต้น
9) เพอ่ื ตรวจดวู า่ มคี ำตอบท่ไี ดร้ ับจะมาสนับสนุนสมมตฐิ านที่ตั้งไว้หรอื ไมเ่ พียงไร
10) เพอ่ื ตรวจสอบวา่ ใช้เวลาในการสอบถามโดยเฉล่ียนานเท่าไร
11) เพื่อหาประสบการณ์ให้ผู้สัมภาษณ์ก่อนที่จะออกไปเก็บรวบรวมข้อมูลจริง ๆ ใน
ภาคสนามต่อไป
ขั้นที่ 7 การปรับปรุงและแก้ไขแบบสอบถาม สรุปได้ว่าหลักการสร้างและขั้นตอนการสร้าง
แบบสอบถาม ในรูปแบบของแผนผงั ขน้ั ตอนการสรา้ งแบบสอบถาม

6.4 ประเภทของคำถามในแบบสอบถาม
ในการสร้างแบบสอบถามผู้วิจัยต้องทราบประเภทของคำถาม (Types of Question) ก่อนเพ่ือ

จะได้นำมาสร้างอย่างเหมาะสมกบั ข้อที่ต้องการจะวัด ซึ่ง ธเนศ ต่วนชะเอม (2552) กำหนดประเภทของคำถามไว้
2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ

1. คำถามปิดแบบปิดหรือปลายปิด (Close-ended Question) ได้แก่ คำถามที่ผู้วิจัยได้ตั้งไว้ 1
ข้อ แลว้ มีคำตอบใหเ้ ลือกตอบไว้ด้วย ซึง่ คำถามปดิ นแ้ี บง่ ออกเปน็ 2 ประเภทย่อย ดังนี้

1.1 คำถามให้ตอบรับหรือปฏิเสธ (Yes-No Question) ได้แก่ คำถามที่สั้นและง่ายที่สุดท่ี
ผูว้ จิ ัยไดต้ ้ังไว้ 1 ขอ้ แล้วมีคำตอบ (Choice) ให้เลือกตอบเพยี ง 2 เท่านั้น คอื ใช่ - ไมใ่ ช่, รู้ - ไมร่ ู้, มี - ไม่มี, หรือ
เคย - ไม่เคย เป็นตน้

1.2 คำถามเผื่อเลือก (Check list Question) ได้แก่ คำถามที่ผู้วิจัยได้ตั้งไว้ 1 ข้อ แล้วมี
คำตอบให้เลือกไว้หลาย ๆ คำตอบ เพื่อให้ผู้ตอบเลือกได้ตามความรู้สึกของผู้ตอบ ซึ่งคำถามประเภทนี้สามารถ
แบ่งออกได้ 4 ชนดิ คอื

1.2.1 คำถามให้เลือกตอบเพียงข้อเดียว (Check one Choice) ได้แก่ คำถามที่ผู้วิจัยต้ัง
ไว้ 1 ข้อ แล้วมีคำตอบให้เลือกหลาย ๆ คำตอบ แต่ใหผ้ ู้ตอบเลอื กเพยี งขอ้ เดยี วเท่าน้ัน

1.2.2 คำถามที่ให้เลือกตอบได้หลายคำตอบ (Check Multiple Choice) ได้แก่ คำถาม
ทีผ่ ูว้ จิ ยั ต้ังไว้ 1 ขอ้ แลว้ มีคำตอบเลอื กไวห้ ลาย ๆ คำตอบ และให้เลอื กตอบไดห้ ลาย ๆ คำตอบเช่นเดยี วกันพร้อม
ท้ังวงเลบ็ วา่ “(ตอบได้หลายข้อ)”

35

1.2.3 คำถามให้เลือกตอบตามน้ำหนักความสำคัญ (Weighting Question) ได้แก่
คำถามที่ผู้วิจัยได้ตั้งคำถามไว้ 1 ข้อ แล้วคำตอบให้ตอบไว้หลาย ๆ คำตอบ และในคำตอบเหล่านั้นให้ผู้ตอบ
เลือกตอบตามน้ำหนัก หรือตามความสำคัญจากมากไปหาน้อยด้วยการใส่เลข 1, 2 และ 3 หน้าข้อความที่
ตอ้ งการ

1.2.4 คำถามแบบประเมินคา่ หรอื มาตราสว่ น (Rating Scale) ไดแ้ ก่ คำถามท่ผี ู้วิจยั ต้ังไว้
เพื่อวัดสิ่งที่เป็นนามธรรม (Abstract) เช่น ความพึงพอใจ ค่านิยม ความซื่อสัตย์ ความดีงาม ความเลื่อมใส ความ
รัก ความต้องการ ความเหมาะสม หรือความรู้สึกนึกคิดต่าง ๆ ด้วยการแปลงข้อความเป็นปริมาณ (Quantities
Data) คือ เป็นตัวเลขที่ให้ผู้ตอบประเมินข้อคำถามที่เป็นสิ่งเร้าออกมาเป็นคำตอบที่เป็นปริมาณ มาก -น้อย
เพยี งไรได้ ซ่ึงคำถามแบบประเมินค่านี้มหี ลาย Scales เชน่ Turnstone Scale และ Liker scale เป็นตน้ ในการ
ตั้งคำถามเพื่อวัดทัศนคติความเห็นต่อสิ่งเร้าต่าง ๆ เจตคติ (Attitude) นี้ อาจแบ่งเป็น 3, 5, 7, หรือ 9 ระดับ
แล้วแต่ความเหมาะสม ตวั อยา่ งแบง่ เปน็ 5 ระดับ ไดแ้ ก่ มากท่สี ดุ - มาก - ปานกลาง - นอ้ ย และน้อยท่สี ุด หรือ
เห็นด้วยอย่างยิ่ง (Strongly Agree) เห็นด้วย (Agree) ไม่แน่ใจ (Neutral) ไม่เห็นด้วย (Disagree) และไม่เห็น
ด้วยอยา่ งย่ิง (Strongly Disagree) ซง่ึ คำถามในลกั ษณะนี้กใ็ หเ้ ลือกคำตอบเพียงข้อเดียว (Check one Choice)

2. คำถามเปิดแบบปิด หรือปลายเปิด (Open-ended Question) เป็นคำถามที่เปิดโอกาสให้
ผูต้ อบแสดงความคดิ เหน็ และตอบได้อย่างเสรี โดยตัง้ คำถามพร้อมเวน้ ที่วา่ งไว้

สรุปไดว้ า่ ประเภทของคำถามในแบบสอบถามแบ่งได้เปน็ 2 ชนดิ ไดแ้ ก่ แบบสอบถามแบบปลายเปิด
(Open-ended Form) และแบบสอบถามแบบปลายปิด (Closed-ended Form) ซึ่งผู้วิจัยได้เลือกใช้
แบบสอบถามแบบปลายเปิด (Open-ended Form) ประกอบด้วยข้อคำถามและตัวเลอื ก (คำตอบ) ซึ่งตัวเลือก
นี้สร้างขึ้นโดยคาดว่าผู้ตอบแบบสอบถามสามารถเลือกตอบได้ตามต้องการ และมีอย่างเพียงพอเหมาะสม
แบบสอบถามแบบนี้สร้างยาก ใช้เวลาในการสร้างมากกว่าแบบสอบถามแบบปลายเปิด แต่ผู้ตอบตอบง่าย
สะดวก รวดเร็ว นอกจากนขี้ อ้ มูลทไี่ ด้สามารถนำไปวเิ คราะห์ สรุปผลได้งา่ ยอกี ดว้ ย

6.5 ข้อดีและข้อเสียของแบบสอบถาม
การใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลมีข้อดีและข้อเสียที่ต้องพิจารณาประกอบในการ

เลอื กใช้แบบสอบถามในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ดงั นี้
เกยี รติสดุ า ศรสี ุข (2552) ไดก้ ลา่ วว่าขอ้ เดน่ ของการเก็บขอ้ มลู โดยใช้แบบสอบถามมดี งั นี้
1. ถ้ากลุ่มตัวอย่างมีขนาดใหญ่ วิธีการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม จะเป็นวิธีการ ที่สะดวก

และประหยดั กวา่ วธิ ีอ่นื
2. ผู้ตอบมีเวลาตอบมากกว่าวธิ กี ารอ่นื
3. ไม่จำเป็นตอ้ งฝกึ อบรมพนักงานเก็บขอ้ มูลมากเหมือนกบั วิธกี ารสัมภาษณ์หรือวธิ กี ารสงั เกต
4. ไม่เกิดความลำเอียงอันเนื่องมาจากการสัมภาษณ์หรือการสังเกต เพราะผู้ตอบ เป็นผู้ตอบ

ขอ้ มลู เอง
5. สามารถส่งแบบสอบถามใหผ้ ตู้ อบทางไปรษณยี ์ได้
6. ประหยัดค่าใช้จา่ ยในการเกบ็ ขอ้ มูล

เกยี รติสดุ า ศรสี ขุ (2552) ไดก้ ล่าวว่าข้อดอ้ ยของการเก็บข้อมูลโดยใชแ้ บบสอบถาม มดี งั นี้
1. ในกรณีท่สี ่งแบบสอบถามใหผ้ ้ตู อบทางไปรษณีย์ มกั จะได้แบบสอบถามกลบั คืน มาน้อย และ

ต้องเสยี เวลาในการตดิ ตาม อาจทำใหร้ ะยะเวลาการเกบ็ ข้อมลู ล่าชา้ กว่าท่กี ำหนดไว้

36

2. การเกบ็ ข้อมูลโดยวธิ ีการใช้แบบสอบถามจะใช้ได้เฉพาะกับกลุ่มประชากรเป้าหมายท่ีอ่านและ
เขยี นหนงั สือไดเ้ ท่านั้น

3. จะได้ข้อมูลจำกัดเฉพาะที่จำเป็นจริง ๆ เท่านั้น เพราะการเก็บข้อมูลโดยวิธีการใช้
แบบสอบถามจะต้องมีคำถามจำนวนน้อยขอ้ ทสี่ ุดเท่าทีจ่ ะเปน็ ไปได้

4. การส่งแบบสอบถามไปทางไปรษณีย์ หนว่ ยตัวอยา่ งอาจไม่ได้เป็นผู้ตอบแบบสอบถามเองก็ได้ ทำ
ให้คำตอบท่ไี ด้มีความคลาดเคลอ่ื นไม่ตรงกบั ความจรงิ

5. ถ้าผู้ตอบไม่เข้าใจคำถามหรือเขา้ ใจคำถามผิด หรือไม่ตอบคำถามบางข้อ หรือไม่ไตร่ตรองให้
รอบคอบก่อนที่จะตอบคำถาม ก็จะทำให้ข้อมูลมีความคลาดเคลื่อนได้ โดยที่ผู้วิจัยไม่สามารถย้อนกลับไป
สอบถามหนว่ ยตวั อย่างนนั้ ได้อกี

6. ผทู้ ีต่ อบแบบสอบถามกลับคืนมาทางไปรษณยี ์ อาจเป็นกลุ่มที่มลี ักษณะแตกต่างจากกลุ่มผู้ท่ีไม่
ตอบแบบสอบถามกลับคืนมา ดังนัน้ ขอ้ มลู ทนี่ ำมาวิเคราะหจ์ ะมคี วามลำเอยี งอนั เนอ่ื งมาจากกล่มุ ตัวอย่างได้

ธเนศ ตว่ นชะเอม (2552) ไดจ้ ำแนกขอ้ ดีของแบบสอบถามได้ ดังน้ี
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม จะช่วยให้ได้ข้อมูลในลักษณะหรือแบบเดียวกัน

ทัง้ หมด (Uniformity) เพราะมคี ำถามท่จี ะให้ได้ขอ้ มูลในลักษณะเดียวกนั ท้ังฉบบั
2. เป็นขอ้ มูลประเภทปฐมภมู ิ (Primary data) ที่ทนั สมัย ถูกต้องและทนั ต่อเหตุการณ์
3. ในกรณีที่ประชากรมีมาก และอยู่กันอย่างกระจัดกระจาย ก็สามารถส่งทางไปรษณีย์ได้ ซึ่ง

ประหยัดทง้ั กำลงั คน เวลา และงบประมาณ
4. ชว่ ยให้ผูต้ อบมอี ิสระในการตอบ
5. เป็นคู่มือช่วยในการตอบของผู้ตอบในขอบเขตของปัญหาที่ตั้งไว้เท่านั้น กล่าวคือ มีคำถาม

อย่างไรกต็ อบไปตามน้ัน
6. ง่ายต่อการวิเคราะห์ เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลมาได้แล้วก็สามารถบรรณาธิกรณ์ลงรหัสจัดทำ

ตารางได้สะดวกและรวดเรว็ ขึน้
จากการศกึ ษาข้อเด่นและข้อด้อยของแบบสอบถาม สรปุ ได้ว่า แบบสอบถามช่วยในการเก็บข้อมูลของ

ประชากรกลุ่มใหญ่ได้ดี ผู้ตอบมีอิสระในการตอบ และไม่เกิดความลำเอียงอันเนื่องมาจากการสัมภาษณ์หรือการ
สังเกต เพราะผู้ตอบเป็นผู้ตอบข้อมูลเอง แต่แบบสอบถามก็มีข้อด้อยคือ มีความยืดหยุ่นน้อย เนื่องจากต้องตาม
ระดับท่ีผวู้ ิจัยสร้างขนึ้ แต่ทงั้ นี้ผวู้ จิ ัยเลือกใช้แบบสอบถามความคิดเหน็ เพื่อใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูลการวิจัยใน
คร้ังนี้

37

7. งานวจิ ัยทเี่ กย่ี วขอ้ ง

ผู้วิจัยได้ศึกษางานวิจัยหลายเล่มที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาผลสัมฤทธิ์ของการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อ
ความเข้าใจที่ใช้การเรียนรู้ด้วยเทคนิค CIRC และการศึกษาผลสัมฤทธิ์ของการใช้ใบงาน Live worksheets ซ่ึง
สามารถสรุปได้ ดังต่อไปน้ี

เนตรวรา ศรีสิน (2556) ได้ศึกษาการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค ซี ไอ อาร์ ซี หลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ