การเรียกเก็บค่าธรรมเนียม กรมที่ดิน

คู่มือสำหรับเจ้าหน้าที่และประชาชน

ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย อากรแสตมป์ และภาษีธุรกิจเฉพาะเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ ณ สำนักงานที่ดิน

สรุปโดย ศูนย์ส่งเสริมประสิทธิภาพกรมที่ดิน และสำนักมาตรฐานการทะเบียนที่ดิน

กรมที่ดิน กรกฎาคม 2546

(ศสป. 10.02-46.007)

Show

คำนำ

            สำนักงานที่ดินมีภาระหน้าที่ตามประมวลกฎหมายที่ดิน และพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ.2522 เช่น การออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน และอาคารชุด การรังวัด การจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม หรือการทำธุรกรรมอื่น ๆ เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ โดยเรียกเก็บค่าธรรมเนียม และค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ได้ตามที่กำหนดในกฎกระทรวง แต่ไม่เกินอัตราตามบัญชีท้ายประมวลกฎหมายที่ดิน และกฎกระทรวง ออกตามความในพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. 2522 นอกจากนี้ กรมที่ดินได้ให้ความร่วมมือกับกรมสรรพากร ในการจัดเก็บภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป์ ตามประมวลรัษฎากร ซึ่งค่าธรรมเนียม ภาษี อากร ต่าง ๆ ที่จัดเก็บได้ดังกล่าว จะนำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน และส่งให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อไป

โดยที่อัตราค่าธรรมเนียม ภาษี อากร ที่เรียกเก็บ นั้น มีหลายอัตราแตกต่างกัน ทั้งมีความละเอียดซับซ้อน มีข้อยกเว้น ทำให้ประชาชนทั่วไปอาจไม่เข้าใจ หรือเข้าใจผิดในวิธีการคิดคำนวณ และอัตราที่เรียกเก็บ ศูนย์ส่งเสริมประสิทธิภาพกรมที่ดินโดยได้รับความร่วมมือจากสำนักมาตรฐานการทะเบียนที่ดิน จึงได้จัดทำคู่มือสำหรับเจ้าหน้าที่และประชาชน เรื่อง อัตราค่าธรรมเนียม ค่าใช้จ่าย ค่าตอบแทน ภาษี อากร ฯลฯ เป็นตารางสรุป แยกตามอัตราค่าธรรมเนียม และประเภทการจดทะเบียน โดยมีคำชี้แจงวิธีคิดคำนวณไว้ด้วย ซึ่งหวังว่าจะช่วยให้ประชาชนผู้รับบริการ มีความเข้าใจอันดี เกิดความโปร่งใส ตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ราชการของเจ้าหน้าที่ได้ และเกิดความพึงพอใจในการให้บริการของสำนักงานที่ดิน บรรลุวัตถุประสงค์หลักในการบริหารงานราชการในยุคแห่งการปฏิรูประบบราชการ

                                                                                                                                                ศูนย์ส่งเสริมประสิทธิภาพ กรมที่ดิน

                                                                                                                                                            กรกฎาคม 2546

1. ประเภทการจดทะเบียนที่ต้องชำระค่าธรรมเนียมร้อยละ 2 และ/หรือภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ภาษีธุรกิจเฉพาะ หรือ ๅ(ดูคำชี้แจงหน้า 4-5)

ประเภทการจดทะเบียน

ค่าธรรมเนียม

ภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย

ภาษีธุรกิจเฉพาะ

อากรแสตมป์

“เฉพาะกรณี”

ค่าธรรมเนียม

ภาษีเงินได้

หัก ณ ที่จ่าย

ภาษีธุรกิจเฉพาะ

อากรแสตมป์

1.     ขาย

1.1     ขาย ขายเฉพาะส่วน แบ่งขาย

ร้อยละ 2

เสีย

ร้อยละ 3.3

(ดูคำชี้แจง)

ร้อยละ 0.5

กรณีมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ, มูลนิธิชัยพัฒนา   มูลนิธิสายใจไทย เป็นผู้โอนหรือรับโอน

กรณีโอนกรรมสิทธิหรือสิทธิครอบครองอสังหาริมทรัพย์อันเป็นมรดกหรือที่ได้รับจากการให้โดยเสน่หา ที่ดินตั้งอยู่นอกเขต กทม. เทศบาล สุขาภิบาล เมืองพัทยา

กรณี คณะรัฐมนตรีมีมติให้ลดหย่อนค่าธรรมเนียมได้แก่กรณีปรับปรุงโครงสร้างหนี้ กรณีสนับสนุนการซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยการจัดสรรที่ดินและอสังหาริมทรัพย์ประเภทอาคารสำนักงาน

กรณีองค์การบริหารสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์หรือบริษัทจำกัดที่สถาบันการเงินตามพ.ร.ฎ.จัดตั้งองค์การบริหารสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2540 จัดตั้งขึ้นเพื่อดำเนินการบริหารสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์โดยความเห็นชอบของธนาคารแห่งประเทศไทย เป็นผู้รับโอนหรือโอนคืน หรือกรณีกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ

ก.ล.ต.เป็นผู้รับโอน

กรณีโอนให้ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ ผู้โอนได้รับค่าตอบแทนเป็นสิทธิในการใช้ทรัพย์สินที่โอนนั้นเพื่อกิจการผลิตสินค้าของตนเอง

ร้อยละ 0.001

ร้อยละ 2

ร้อยละ 0.01

ร้อยละ 0.01

อย่างสูงไม่เกิน 100,000 บาท

ร้อยละ 2

เสีย

เสียเฉพาะส่วนที่เกิน 200,000 บาท

เสีย

เสีย

ไม่เสีย

ร้อยละ 3.3

(ดูคำชี้แจง)

     ¯

ร้อยละ 0.5

ร้อยละ 0.5

เสีย

เสีย

ประเภทการจดทะเบีย2น

ค่าธรรมเนียม

ภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย

ภาษีธุรกิจเฉพาะ

อากรแสตมป์

“เฉพาะกรณี”

ค่าธรรมเนียม

ภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย

ภาษีธุรกิจเฉพาะ

อากรแสตมป์

1.2     ขายทอดตลาด

2 ขายฝาก

2.1     ขายฝาก ขายเฉพาะส่วน

2.2     โอนสิทธิการไถ่จากขายฝาก โอนสิทธิการไถ่จากขายฝากเฉพาะส่วน

-มีค่าตอบแทน

-ไม่มีค่าตอบแทน

1.3   กรรมสิทธิ์รวมหรือกรรมสิทธิ์รวมเฉพาะส่วน

-มีค่าตอบแทน

-ไม่มีค่าตอบแทน

1.4 แลกเปลี่ยนหรือแลกเปลี่ยนเฉพาะส่วน

5. ให้ ให้เฉพาะส่วน แบ่งให้

ร้อยละ 2

ร้อยละ 2

ร้อยละ 2

ร้อยละ 2

ร้อยละ 2

ร้อยละ 2

ร้อยละ 2

ร้อยละ 2

เสีย

เสีย

ไม่เสีย

ไม่เสีย

เสีย

เสีย

เสีย

เสีย

(ดูคำชี้แจง)

¯

สนง.บังคับคดีเป็นผู้เรียกเก็บ

เสีย

เสีย

ไม่เสีย

เสีย

เสีย

เสีย

เสีย

กรณีไม่มีค่าตอบแทน ระหว่างผู้บุพการีกับผู้สืบสันดาน หรือระหว่างคู่สมรส

กรณีไม่มีค่าตอบแทน ระหว่างผู้บุพการีกับผู้สืบสันดาน (ซึ่งไม่ใช่กรณีบิดามารดาให้บุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย) หรือระหว่างคู่สมรส

กรณีไม่มีค่าตอบแทน บิดามารดาให้บุตรที่ชอบด้วย กฎหมาย (ไม่รวมบุตรบุญธรรม)

กรณีไม่มีค่าตอบแทน กับส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจที่มิใช่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล

กรณีไม่มีค่าตอบแทน ระหว่างผู้บุพการีกับผู้สืบสันดาน (ซึ่งไม่ใช่กรณีบิดามารดาให้บุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย) หรือระหว่างคู่สมรส

ร้อยละ 0.5

ร้อยละ 0.5

ร้อยละ 0.5

ร้อยละ 2

ร้อยละ 0.5

ไม่เสีย

เสีย

ไม่เสีย

ไม่เสีย

เสีย

(ดูคำชี้แจง)

¯

ไม่เสีย

เสีย

เสีย

เสีย

เสีย

ประเภทการจดทะเบียน

ค่าธรรมเนียม

ภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย

ภาษีธุรกิจเฉพาะ

อากรแสตมป์

ข้อสังเกต

ค่าธรรมเนียม

ภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย

ภาษีธุรกิจเฉพาะ

อากรแสตมป์

  1. 6.หลุดเป็นสิทธิจากจำนอง
  2. 7.โอนชำระหนี้/โอนชำระค่าหุ้น
  3. 8.โอนตามคำสั่งศาลมีค่าตอบแทน
  4. 9.แบ่งคืนทรัพย์สินของห้างหุ้นส่วน

     หรือบริษัทให้ผู้เป็นหุ้นส่วน

     หรือผู้ถือหุ้น

ร้อยละ 2

ร้อยละ 2

ร้อยละ 2

ร้อยละ 2

ร้อยละ 2

ร้อยละ 2

เสีย

เสีย

เสีย

เสีย

ไม่เสีย

ไม่เสีย

(ดูคำชี้แจง)

¯

เสีย

เสีย

เสีย

เสีย

ไม่เสีย

ไม่เสีย

กรณีไม่มีค่าตอบแทน บิดามารดาให้บุตรที่ชอบด้วย กฎหมาย ไม่รวมบุตรบุญธรรม)

กรณีให้วัด,วัดคริสต์,มัสยิด เพื่อตั้งศาสนสถาน รวมกับที่ดินที่มีอยู่ก่อนแล้วไม่เกิน 50 ไร่

กรณีให้ที่ดินแก่มูลนิธิหรือสมาคมที่ได้รับการประกาศเป็นองค์กรการกุศลสาธารณะตามประกาศกระทรวงการคลังรวมกับที่ดินที่มีอยู่ก่อนแล้วไม่เกิน 25 ไร่

กรณีโอนมรดกระหว่างผู้บุพการีกับผู้สืบสันดาน หรือระหว่างคู่สมรส

อสังหาริมทรัพย์ที่ได้เป็นกรรมสิทธิ์ของผู้ได้มาโดยการครอบครองปรปักษ์ ถือเป็นเงินได้ ผู้ได้กรรมสิทธิ์จะต้องนำไปเสียภาษีเงินได้ประจำปีด้วยโดยให้ยื่นเสียภาษีเงินได้ประจำปีเอง สำนักงานที่ดินไม่เก็บภาษี หัก ณ ที่จ่าย

ร้อยละ 0.5

ร้อยละ 0.01

ร้อยละ 0.01

ร้อยละ 0.5

ไม่เสีย

ไม่เสีย

ไม่เสีย

ไม่เสีย

(ดูคำชี้แจง )

¯

ไม่เสีย

เสีย

เสีย

เสีย

ไม่เสีย

คำชี้แจง

1. ค่าธรรมเนียม   คำนวณจากราคาประเมินทุนทรัพย์ นอกจากค่าธรรมเนียมที่คำนวณได้แล้ว จะเรียกเก็บค่าคำขอแปลงละ 5 บาท ค่ามอบอำนาจ ค่าพยาน ฯลฯ (ถ้ามี) ด้วย

2. ภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย   กรณีบุคคลธรรมดาเป็นผู้โอนคำนวณจากราคาประเมินทุนทรัพย์ อัตราภาษีร้อยละ 5-37 (ดูตาราง) ทั้งนี้ จะไม่ยกเว้น 50,000 บาทแรก ตามหนังสือกรมสรรพากรที่ กค 0811/12882ลงวันที่ 22 ธันวาคม 2542 เวียนตามหนังสือที่ มท 0710/ว.47112 ลงวันที่ 30 ธันวาคม 2542

ขั้นเงินได้สุทธิตั้งแต่

เงินได้สุทธิจำนวนสูงสุดของขั้น

อัตราภาษีร้อยละ

ภาษีในแต่ละขั้นเงินได้

ภาษีสะสมสูงสุดของขั้น

1-100,000

100,000

5

5,000

5,000

100,001-500,000

400,000

10

40,000

45,000

500,001-1,000,000

500,000

20

100,000

145,000

1,000,001-4,000,000

3,000,000

30

900,000

1,045,000

4,000,001 ขึ้นไป

37

กรณีนิติบุคคลเป็นผู้โอน คำนวณจากราคาประเมินทุนทรัพย์หรือจำนวนทุนทรัพย์ที่ผู้ขอแสดง แล้วแต่อย่างใดจะสูงกว่า อัตราภาษีร้อยละ 1

การหักค่าใช้จ่ายลดหย่อนภาษี

-อสังหาริมทรัพย์อันเป็นมรดกหรือได้รับจากการให้โดยเสน่หา ให้หักค่าใช้จ่ายร้อยละ 50 ของเงินได้

-อสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาโดยทางอื่น ให้หักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมา ตามจำนวนปีที่ถือครอง ถ้าเกินสิบปีให้นับเพียงสิบปี เศษของปีให้นับเป็นหนึ่งปี

จำนวนปีที่ถือครอง

1

2

3

4

5

6

7

8 ปีขึ้นไป

หักค่าใช้จ่ายร้อยละ

92

84

77

71

65

60

55

50

วิธีคำนวณภาษี นำเงินได้หักค่าใช้จ่าย เหลือเท่าใดถือเป็นเงินได้สุทธิแล้วหารด้วยจำนวนปีที่ถือครอง ได้ผลลัพธ์เป็นเงินเท่าใด ให้คำนวณภาษีตามอัตราภาษีเงินได้ ได้เท่าใดให้คูณด้วยจำนวนปีที่ถือครอง ผลลัพธ์ที่ได้เป็นเงินภาษีที่ต้องเสีย

3. อากรแสตมป์     คำนวณจากราคาประเมินทุนทรัพย์หรือจำนวนทุนทรัพย์ที่ผู้ขอแสดง แล้วแต่อย่างใดจะสูงกว่า ยกเว้นกรณีขายให้ส่วนราชการ องค์การของรัฐ คำนวณจากจำนวนเงินที่ได้รับจากการขายนั้น ตามคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.100/2543 ข้อ 11(1)

  1. 4.ภาษีธุรกิจเฉพาะ เรียกเก็บในอัตราร้อยละ 3.3 (รวมภาษีท้องถิ่น) โดยลดเหลือร้อยละ 0.11 ไปจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2546

การคำนวณ คำนวณจากราคาประเมินทุนทรัพย์หรือจำนวนทุนทรัพย์ที่ผู้ขอแสดง แล้วแต่อย่างใดจะสูงกว่า กรณีที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะแล้ว ไม่ต้องเสียค่าอากรแสตมป์ใบรับ

หลักเกณฑ์การจัดเก็บภาษีธุรกิจเฉพาะ

ข้อยกเว้น

การขายต่อไปนี้ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ

  1. 1.ขายอสังหาริมทรัพย์ของผู้ซึ่งได้รับอนุญาตให้จัดสรรที่ดินตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการจัดสรรที่ดิน
  2. 2.ขายห้องชุดของผู้ประกอบกิจการซึ่งเป็นผู้ขอจดทะเบียนอาคารชุดตามกฎหมายว่าด้วยอาคารชุด
  3. 3.ขายอาคารที่สร้างขึ้นเพื่อขาย รวมถึงการขายที่ดินอันเป็นที่ตั้งของอาคารดังกล่าว
  4. 4.การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ไม่เข้าลักษณะตาม 1,2 หรือ 3 เฉพาะกรณีที่มีการแบ่งขายหรือแบ่งแยกไว้เพื่อขาย โดยได้จัดทำถนนหรือสิ่งสาธารณูปโภคอื่น หรือให้คำมั่นว่าจะจัดให้มีสิ่งดังกล่าว
  5. 5.ขายอสังหาริมทรัพย์ที่ผู้ขายมีไว้ในการประกอบกิจการเฉพาะของนิติบุคคลตาม ม.77/1 ป.รัษฎากร
  6. 6.การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ไม่เข้าลักษณะตาม (1) (2) (3) (4) หรือ (5) ที่ได้กระทำภายในห้าปี นับแต่วันที่ได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์นั้น
  7. 1.การจดทะเบียนขายเกินกำหนดห้าปีนับแต่วันที่ได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์นั้น
  8. 2.ขายหรือถูกเวนคืนตามกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์
  9. 3.ขายอสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาโดยทางมรดก
  10. 4.ขายอสังหาริมทรัพย์ที่ใช้เป็นสถานที่อยู่อาศัยอันเป็นแหล่งสำคัญที่ผู้ขายมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎรไม่น้อยกว่า หนึ่งปี นับแต่วันที่ได้มา ในกรณีได้ที่ดินและอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างมาไม่พร้อมกัน กำหนดเวลาห้าปี ถือตามระยะเวลาการได้มาซึ่งที่ดินหรืออาคารหรือสิ่งปลูกสร้างที่ได้มาภายหลัง
  11. 5.โอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์โดยไม่มีค่าตอบแทนแก่บุตรโดยชอบด้วยกฎหมาย แต่ไม่รวมถึงบุตรบุญธรรม
  12. 6.การโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ทางมรดกให้แก่ทายาทโดยธรรมหรือผู้รับพินัยกรรมซึ่งเป็นทายาทโดยธรรม
  13. 7.โอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ส่วนราชการหรือองค์การของรัฐบาล โดยไม่มีค่าตอบแทน
  14. 8.แลกเปลี่ยนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์กับส่วนราชการหรือองค์การของรัฐบาล เฉพาะกรณีที่ส่วนราชการหรือองค์การของรัฐบาลนั้นมิได้มีการจ่ายค่าตอบแทนเป็นอย่างอื่น นอกจากอสังหาริมทรัพย์ที่แลกเปลี่ยนนั้น

หมายเหตุ “ขาย” หมายความรวมถึง สัญญาจะขาย ขายฝาก แลกเปลี่ยน ให้ เช่าซื้อ หรือจำหน่ายจ่ายโอน ไม่ว่าจะมีประโยชน์ตอบแทนหรือไม่

               “องค์การของรัฐบาล” หมายความว่า องค์การของรัฐบาลตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งองค์การของรัฐบาล และกิจการของรัฐตามกฎหมายที่จัดตั้งกิจการนั้น และหมายความรวมถึง หน่วยงานธุรกิจที่รัฐบาลเป็นเจ้าของซึ่งไม่มีฐานะเป็นนิติบุคคลด้วย

5. การคำนวณ ราคาประเมินหรือจำนวนทุนทรัพย์ถ้ามีเศษต่ำกว่า 100 บาท ให้คิดเป็น 100 บาท การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมที่คำนวณถ้ามีเศษของ 1 บาท ให้คิดเป็น 1 บาท

2. ประเภทการจดทะเบียนที่ต้องชำระค่าธรรมเนียมร้อยละ 1 และอากรแสตมป์ ไม่เสียภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย

ประเภทการจดทะเบียน

ค่าธรรมเนียม

อากรแสตมป์

ข้อสังเกต

ค่าธรรมเนียม

อากรแสตมป์

1.    การเช่า

  1. 2.แก้ไขเพิ่มเติมสัญญาเช่า

       กรณีมีผลให้ค่าเช่าเพิ่มขึ้น

  1. 4.ภาระจำยอม
  2. 5.สิทธิเก็บกิน
  3. 6.สิทธิเหนือพื้นดิน
  4. 7.สิทธิอาศัย
  5. 8.ภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย์

ร้อยละ 1

ร้อยละ 1

ร้อยละ 1

ร้อยละ 1

ร้อยละ 1

ร้อยละ 1

ร้อยละ 1

ร้อยละ 1

อัตรา 1 บาทต่อทุกจำนวนเงิน 1,000 บาทหรือเศษของ 1,000 บาท แห่งค่าเช่าหรือเงินกินเปล่า หรือทั้งสองอย่างรวมกันตลอดอายุการเช่า

อัตรา 1 บาทต่อทุกจำนวนเงิน 1,000 บาทหรือเศษของ 1,000 บาท แห่งค่าเช่าหรือเงินกินเปล่า หรือทั้งสองอย่างรวมกันตลอดอายุการเช่า

ไม่เสีย

ร้อยละ 0.5

ร้อยละ 0.5

ร้อยละ 0.5

ร้อยละ 0.5

ร้อยละ 0.5

กรณีเช่าทรัพย์สินในการทำนา ไร่ สวน

กรณีเช่าตามม.6 พ.ร.บ.สหกรณ์ พ.ศ. 2542 และ ม.41    พ.ร.บ.ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร พ.ศ.2509

กรณีไม่มีผลให้ค่าเช่าเพิ่มขึ้นหรือไม่มีค่าตอบแทน

กรณีไม่มีค่าตอบแทน

กรณีไม่มีค่าตอบแทน

กรณีไม่มีค่าตอบแทน

กรณีไม่มีค่าตอบแทน

กรณีไม่มีค่าตอบแทน

ร้อยละ 1

ยกเว้นค่าธรรมเนียม

50 บาท

50 บาท

50 บาท

50 บาท

50 บาท

50 บาท

ไม่เสีย

ไม่เสีย

ไม่เสีย

ไม่เสีย

ไม่เสีย

ไม่เสีย

ไม่เสีย

ไม่เสีย

หมายเหตุ   ค่าธรรมเนียมและอากรแสตมป์ คำนวณจากทุนทรัพย์ที่ผู้ขอแสดง

               โดยราคาประเมินหรือจำนวนทุนทรัพย์ถ้ามีเศษต่ำกว่า 100 บาท ให้คิดเป็น 100 บาท การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมที่คำนวณถ้ามีเศษของ 1 บาท ให้คิดเป็น 1 บาท (กฎกระทรวง ฉบับที่ 47 ข้อ 3)

  1. ประเภทการจดทะเบียนที่ต้องชำระค่าธรรมเนียมร้อยละ 1 ไม่เสียภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย และอากรแสตมป์

ประเภทการจดทะเบียน

ค่าธรรมเนียม

อากรแสตมป์

“เฉพาะกรณี”

ค่าธรรมเนียม

อากรแสตมป์

  1. 2.โอนสิทธิการรับจำนอง (กรณีโอนโดยการตกลงกัน)

3.   บุริมสิทธิ

ร้อยละ 1 อย่างสูงไม่เกิน 200,000 บาท

ร้อยละ 1 อย่างสูงไม่เกิน 200,000 บาท

ร้อยละ 1 อย่างสูงไม่เกิน 200,000 บาท

ไม่เสีย

ไม่เสีย

ไม่เสีย

กรณีจำนองสำหรับการให้สินเชื่อเพื่อการเกษตรของสถาบันการเงินที่รัฐมนตรีกำหนด

กรณีองค์การบริหารสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์หรือบริษัทที่สถาบันการเงิน   ตามพ.ร.ฏ.จัดตั้งองค์การบริหารสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2540 จัดตั้งขึ้นเพื่อดำเนินการบริหารสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ โดยความเห็นชอบของธนาคารแห่งประเทศไทย เป็นผู้ขอจดทะเบียน

กรณีฟื้นฟูความเสียหายจากอุทกภัย อัคคีภัย วาตภัย หรือ มหันตภัยอื่น ตามหลักเกณฑ์ที่รัฐมนตรีกำหนด หรือกรณีคณะรัฐมนตรี มีมติให้ลดหย่อนค่าธรรมเนียม ได้แก่ กรณีปรับปรุงโครงสร้างหนี้ หรือกรณีสนับสนุนการซื้อขาย

กรณีการจำนองที่คู่สัญญาประสงค์ให้สัญญาจำนองเป็นหลักฐานการกู้ยืมเงินหรือเบิกเงินเกินบัญชี

กรณีสถาบันการเงินรับโอนสิทธิเรียกร้องจากการขายทรัพย์สินเพื่อชำระบัญชีตามม.30 พ.ร.ก.ปฏิรูประบบสถาบันการเงิน พ.ศ. 2540

กรณีบุริมสิทธิสำหรับการให้สินเชื่อเพื่อการเกษตรของสถาบันการเงินที่รัฐมนตรีกำหนด

กรณีองค์การบริหารสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์หรือบริษัทที่สถาบันการเงิน   ตาม พ.ร.ฏ.จัดตั้งองค์การบริหารสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2540 จัดตั้งขึ้นเป็นผู้ขอจดทะเบียน

ร้อยละ 0.5 อย่างสูงไม่เกิน 100,000 บาท

ร้อยละ 0.01 อย่างสูงไม่เกิน 100,000 บาท

ร้อยละ 0.01

ร้อยละ 1 อย่างสูงไม่เกิน 200,000 บาท

ร้อยละ 0.01 อย่างสูงไม่เกิน 100,000 บาท

ร้อยละ 0.5อย่างสูงไม่เกิน 100,000 บาท

ร้อยละ 0.01 อย่างสูงไม่เกิน 100,000 บาท

ไม่เสีย

ไม่เสีย

ไม่เสีย

ร้อยละ 0.5

ไม่เสีย

ไม่เสีย

ไม่เสีย

หมายเหตุ ค่าธรรมเนียม คำนวณจากทุนทรัพย์ที่ผู้ขอแสดง

             โดยราคาประเมินหรือจำนวนทุนทรัพย์ถ้ามีเศษต่ำกว่า 100 บาท ให้คิดเป็น 100 บาท การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมที่คำนวณถ้ามีเศษของ 1 บาท ให้คิดเป็น 1 บาท (กฎกระทรวง ฉบับที่ 47 ข้อ 3)

  1. 4.ประเภทคำขอจดทะเบียนฯที่เสียค่าธรรมเนียม แปลงละ 50 บาท ไม่เสียภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย ไม่เสียค่าอากรแสตมป์ ได้แก่การจดทะเบียนฯประเภทไม่มีทุนทรัพย์ เช่น
  1. 1.ไถ่ถอนขายฝาก ปลดเงื่อนไขการไถ่ ระงับสิทธิการไถ่ ขยายกำหนดเวลาไถ่จากขายฝาก โอนมรดกสิทธิการไถ่
  2. 2.คำมั่นจะให้
  3. 3.โอนตามกฎหมาย
  4. 4.จำนองเพิ่มหลักทรัพย์ แก้ไขหนี้ ไถ่ถอน ระงับจำนอง (ปลดจำนอง/หนี้เกลื่อนกลืนกัน) ปลอดจำนอง ผ่อนเงินต้น ลดเงินจากจำนอง โอนมรดกสิทธิการรับจำนอง ระงับจำนอง (ศาลขายบังคับจำนอง) โอนสิทธิการรับจำนอง (โดยมีกฎหมายเฉพาะให้โอน)
  5. 5.แก้ไขเพิ่มเติมสัญญาเช่า (กรณีไม่มีผลให้ค่าเช่าเพิ่มขึ้น) ปลอดการเช่า เลิกเช่า เลิกแบ่งเช่า/เลิกเช่าช่วง
  6. 6.ภาระจำยอมไม่มีค่าตอบแทน ปลอด เลิก แก้ไขเปลี่ยนแปลง
  7. 7.สิทธิเก็บกินไม่มีค่าตอบแทน ปลอด เลิก แก้ไขเปลี่ยนแปลง
  8. 8.สิทธิเหนือพื้นดินไม่มีค่าตอบแทน ปลอด เลิก แก้ไขเปลี่ยนแปลง
  9. 9.สิทธิอาศัยไม่มีค่าตอบแทน ปลอด เลิก แก้ไขเปลี่ยนแปลง
  10. 10.ภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย์ไม่มีค่าตอบแทน ปลอด เลิก แก้ไขเปลี่ยนแปลง
  1. 11.บรรยายส่วน
  2. 12.โอนให้ตัวการ
  3. 13.ปลอดบุริมสิทธิ เลิกบุริมสิทธิ
  4. 14.ห้ามโอน
  5. 15.ลงชื่อคู่สมรส
  6. 16.แบ่งทรัพย์สินระหว่างคู่สมรส (ได้คนละเท่า ๆ กันจึงจะไม่เสียภาษี)
  7. 17.ผู้จัดการมรดก/ผู้จัดการมรดกเฉพาะส่วน/โอนเปลี่ยนนามผู้จัดการมรดก/เลิกผู้จัดการมรดก
  8. 18.ผู้ปกครองทรัพย์/เลิกผู้ปกครองทรัพย์
  9. 19.โอนจากสุขาภิบาลเป็นของเทศบาล
  10. 20.แบ่งในนามเดิม
  11. 21.แบ่งกรรมสิทธิรวม
  1. 5.ประเภทคำขอจดทะเบียนฯที่ได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียม ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป์

ประเภทการจดทะเบียน

ค่าธรรมเนียม

ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

อากรแสตมป์

ภาษีธุรกิจเฉพาะ

     -บุคคลธรรมดา

      -นิติบุคคล รับค่าทดแทน

                   ไม่รับค่าทดแทน

  1. 2.โอนให้เป็นที่สาธารณประโยชน์ หรือให้แก่ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ โดยไม่มีค่าตอบแทน

ไม่เสีย

ไม่เสีย

ไม่เสีย

ไม่เสีย

ไม่เสีย

ร้อยละ 1

ไม่เสีย

ไม่เสีย

ไม่เสีย

ไม่เสีย

ไม่เสีย

ไม่เสีย

ไม่เสีย

ไม่เสีย

ไม่เสีย

ไม่เสีย

ประเภทคำขอ

ค่าธรรมเนียม

ค่าอนุญาต

1. ขอให้ได้มาซึ่งที่ดินของคนต่างด้าว

รายละ 500 บาท

ไร่ละ 100 บาท เศษของไร่คิดเป็นหนึ่งไร่

2. ขอให้ได้มาซึ่งที่ดินเพื่อการค้าที่ดิน

รายละ 500 บาท

ไร่ละ 20 บาท เศษของไร่คิดเป็นหนึ่งไร่

3. ขอสัมปทาน

รายละ 500 บาท

ไร่ละ 20 บาท/ปี เศษของไร่คิดเป็นหนึ่งไร่

4. ขอออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์

ที่ดินเนื้อที่ไม่เกิน 20 ไร่ แปลงละ 30 บาท

หากเนื้อที่ดินเกิน 20 ไร่ ส่วนที่เกินไร่ละ 2 บาท เศษของไร่คิดเป็นหนึ่งไร่

5. ขอออกโฉนดที่ดิน

แปลงละ 50 บาท

หากเนื้อที่ดินเกิน 20 ไร่ ส่วนที่เกินไร่ละ 2 บาท เศษของไร่คิดเป็นหนึ่งไร่

  1. 6.การพิสูจน์สอบสวนหรือตรวจสอบเนื้อที่หนังสือรับรองการทำประโยชน์

-ค่าคัดหรือจำลองแผนที่

     -ค่าคำนวณเนื้อที่หรือสอบแส

     -ค่าจับระยะ

แปลงละ หรือ วันละ 30 บาท

แปลงละ 30 บาท

แปลงละ 30 บาท

แปลงละ 10 บาท

     -ค่าคัดหรือจำลองแผนที่

     -ค่าคำนวณเนื้อที่หรือสอบแส

     -ค่าจับระยะ

แปลงละ หรือ วันละ 40 บาท

แปลงละ 30 บาท

แปลงละ 30 บาท

แปลงละ 10 บาท

  1. 8.ขออนุญาตตาม มาตรา 9 (1) ประมวลกฎหมายที่ดิน (ยึดถือ ครอบครอง ก่นสร้างฯ)

ไร่ละ 1,000 บาท/ปี

  1. 9.ขออนุญาตตาม มาตรา 9 (2) หรือ (3) ประมวลกฎหมายที่ดิน

-ขุด/ดูดทราย

-ขุดดินลูกรัง

ลูกบาศก์เมตรละ 28 บาท

ลูกบาศก์เมตรละ 10 บาท หรือไร่ละ 10,000 บาท/ปี

หมายเหตุ องค์กรท้องถิ่นเป็นผู้เก็บค่าอนุญาตตาม มาตรา 9 (1) (2) (3) ประมวลกฎหมายที่ดิน

  1. 7.ประเภทค่าธรรมเนียมเบ็ดเตล็ดและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ (ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 47 (พ.ศ. 2541) และฉบับที่ 48 (พ.ศ.2542)

รายการ

ค่าธรรมเนียม

1. ค่าคำขอ

แปลงละ 5 บาท

2. ค่าคัดสำเนาเอกสารต่าง ๆ รวมทั้งค่าคัดสำเนาเอกสารเป็นพยานในคดีแพ่ง โดยเจ้าหน้าที่เป็นผู้คัด

ร้อยคำแรกหรือไม่ถึงร้อยคำ 10 บาท ร้อยคำต่อไป ร้อยละ 5 บาท เศษของร้อยคิดเป็นหนึ่งร้อย

3. ค่ารับรองเอกสาร

ฉบับละ 10 บาท

4. ค่าตรวจหลักฐานทะเบียนที่ดิน

แปลงละ 10 บาท

5. ค่ารับอายัดที่ดิน

แปลงละ 10 บาท

6. ค่ามอบอำนาจ

เรื่องละ 20 บาท

7. ค่าออกใบแทนโฉนดที่ดินหรือหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินอย่างอื่น

ฉบับละ 50 บาท

8. ค่าประกาศ

แปลงละ 10 บาท

9. ค่าปิดประกาศ

ให้แก่ผู้ปิดประกาศ แปลงละ 10 บาท

10. ค่าพยาน

ให้แก่พยานคนละ 10 บาท

11.ค่าหลักเขตที่ดิน

หลักละ 15 บาท (กรณีเดินสำรวจออกโฉนดที่ดินและสอบเขตที่ดินทั้งตำบล คิดแปลงละ 60 บาท)

12. ค่าป่วยการให้เจ้าพนักงาน ผู้ปกครองท้องที่ หรือผู้แทนที่ไปรังวัดฯ

ให้แก่ผู้ไปฯ คนหนึ่ง/วันละ 50 บาท

13. ค่าพาหนะเดินทางให้แก่เจ้าพนักงาน พนักงานเจ้าหน้าที่ และคนงานที่จ้างไปทำการรังวัดฯ

14.ค่าเบี้ยเลี้ยงให้แก่เจ้าพนักงาน พนักงานเจ้าหน้าที่ และคนงานที่จ้างไปทำการรังวัดฯ

ให้จ่ายในลักษณะเหมาจ่าย ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ด้วยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง

15. ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ในการรังวัด พิสูจน์ สอบสวน หรือตรวจสอบเนื้อที่

8. การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. 2522

ประเภทการจดทะเบียน

ค่าธรรมเนียม

ภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย

ภาษีธุรกิจเฉพาะ

อากรแสตมป์

“เฉพาะกรณี”

ค่าธรรมเนียม

ภาษีเงินได้

หัก ณ ที่จ่าย

ภาษีธุรกิจเฉพาะ

อากรแสตมป์

  1. 1.ค่าจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมมีทุนทรัพย์

ร้อยละ 2 แต่อย่างต่ำต้องไม่น้อยกว่า 20 บาท

คำนวณตามราคาประเมินทุนทรัพย์

เสีย

ร้อยละ 3.3 ดูคำชี้แจง

เสีย

กรณีองค์การบริหารสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์หรือบริษัทจำกัดที่สถาบันการเงินตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การบริหารสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2540 จัดตั้งขึ้นเพื่อดำเนินการบริหารสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ โดยความเห็นชอบของธนาคารแห่งประเทศไทย เป็นผู้รับโอนหรือโอนคืนหรือกรณีที่กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ก.ล.ต. เป็นผู้รับโอน

กรณีคณะรัฐมนตรีมีมติให้ลดหย่อนค่าธรรมเนียมเป็นพิเศษเพื่อประโยชน์สาธารณะหรือความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ เช่น กรณีสนับสนุนการซื้อขายห้องชุด และกรณีปรับปรุงโครงสร้างหนี้

กรณีโอนมรดกหรือให้ระหว่างผู้บุพการีกับผู้สืบสันดาน (ซึ่งไม่ใช่กรณีบิดามารดาให้บุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย) หรือระหว่างคู่สมรส

กรณีไม่มีค่าตอบแทน บิดามารดาให้บุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย (ไม่รวมถึงบุตรบุญธรรม)

ร้อยละ 0.01 แต่อย่างสูงไม่เกิน 100,000 บาท

ร้อยละ 0.01

ร้อยละ 0.5

ร้อยละ 0.5

เสีย

เสีย

เสีย

ไม่เสีย

ดูคำชี้แจง

¯

เสีย

เสีย

เสีย

เสีย

2. ค่าจดทะเบียนจำนองหรือบุริมสิทธิ

ร้อยละ 1

คำนวณตามราคาที่จำนองหรือบุริมสิทธิ

ไม่เสีย

ไม่เสีย

เสีย

กรณีองค์การบริหารสินเชื่อหรือบริษัทจำกัดที่สถาบันการเงินตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การบริหารสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์พ.ศ. 2540 จัดตั้งขึ้นเพื่อดำเนินการบริหารสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์โดยความเห็นชอบของธนาคารแห่งประเทศไทย เป็นผู้ขอจดทะเบียน

ร้อยละ 0.01 แต่อย่างสูงไม่เกิน 100,000 บาท

ไม่เสีย

ไม่เสีย

เสีย

ประเภทการจดทะเบียน

ค่าธรรมเนียม

ภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย

ภาษีธุรกิจเฉพาะ

อากรแสตมป์

“เฉพาะกรณี”

ค่าธรรมเนียม

ภาษีเงินได้

หัก ณ ที่จ่าย

ภาษีธุรกิจเฉพาะ

อากรแสตมป์

3. ค่าจดทะเบียนการเช่า

ร้อยละ 1

คำนวณตามค่าเช่าหรือเงินกินเปล่าหรือทั้งสองอย่างรวมกัน

ไม่เสีย

ไม่เสีย

อัตรา 1 บาทต่อทุกจำนวนเงิน 1,000 บาทหรือเศษของ 1,000 บาท แห่งค่าเช่าหรือเงินกินเปล่า หรือทั้งสองอย่างรวมกัน)

กรณีเช่าตลอดชีวิต ให้คำนวณค่าเช่าเท่ากับระยะเวลาเช่า 30 ปี

4.ค่าจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม

ไม่มีทุนทรัพย์ ห้องชุดละ

20 บาท

ไม่เสีย

ไม่เสีย

ไม่เสีย

หมายเหตุ การคำนวณค่าธรรมเนียม เศษของทุนทรัพย์ 100 ให้คิดเป็น 100 (กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2529) ออกตามความในพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. 2522 )