หนังสือ การควบคุมมอเตอร์ PDF

คำนำ

หนงั สอื เล่มนี้ทงั้ หมด 5 หนว่ ย โดยมีเน้อื หำเกี่ยวกบั กำรควบคุมมอเตอร์
ไฟฟ้ำและนวิ แมตกิ ส์ เป็นต้น โดยจะมีรำยละเอียดของ อุปกรณต์ ่ำงๆ
หลกั กำรทำงำนของกำรควบคมุ มอเตอรไ์ ฟฟำ้ และนิวแมติกสแ์ ละมีขอ้ มูลชว่ ย

ให้เข้ำใจในรำยวิชำ
คณะผจู้ ดั ทำหวงั วำ่ หนงั สือเล่มนจี้ ะทำให้เกดิ ประโยชนอ์ ยำ่ งย่ิงแก่ผู้ใช้
ศึกษำเกี่ยวกบั กำรควบคมุ มอเตอร์ไฟฟ้ำและนวิ แมติกส์หำกหนงั สอื เล่มนีม้ ี
ขอ้ ผดิ พลำดประกำรใดคณะผูจ้ ดั ทำข้อนอ้ มรบั ไวด้ ้วยควำมยนิ ดี

ผจู้ ดั ทำ

สำรบัญ หนำ้
1
บทที่
บทที่ 1 หลักการเลือกใช้อุปกรณ์ในการควบคุม
บทที่ 2 หลักการทางานของอุปกรณค์ วบคมุ
บทท่ี 3 การควบคมุ มอเตอร์
บทที่ 4 ระบบนิวเมตกิ สแ์ ละนวิ เมตกิ ส์ไฟฟ้า
บทท่ี 5 งานควบคุมในงานอุตสาหกรรม

สัปดำห์ท่ี 1

หลกั กำรเลอื กใชอ้ ปุ กรณใ์ นกำรควบคุม

ช่อื บทเรยี น
1.1 ความเป็นมาและความหมายของการควบคุม
1.1.1 ความเป็นมาของการควบคมุ
1.1.2 ความหมายของการควบคุม
1.2 หลกั การเลือกใชอ้ ุปกรณ์ในการควบคุม
1.2.1 สญั ลกั ษณ์ในงานควบคมุ
1.2.2 การเลอื กใช้อุปกรณใ์ นการควบคุม
1.2.3 ความปลอดภัยในการทางาน

จุดประสงค์กำรสอน
1.1 รู้ความเป็นมาและความหมายของการควบคมุ
1.1.1 บอกความเป็นมาของการควบคุม
1.1.2 บอกความหมายของการควบคมุ
1.2 เข้าใจหลกั การเลอื กใชอ้ ปุ กรณใ์ นการควบคมุ
1.2.1 บอกสญั ลักษณใ์ นงานควบคุม
1.2.2 อธิบายการเลือกใช้อุปกรณ์ในการควบคมุ
1.2.3 อธิบายความปลอดภยั ในการทางาน

32025301 การควบคมุ ไฟฟา้ และนวิ แมตกิ

หนว่ ยที่ 1

หลักกำรเลอื กใชอ้ ปุ กรณ์ในกำรควบคุม

บทนำ
ในการปฏิบัติงานนั้นนักศึกษาต้องมีความเข้าใจในการเลือกใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าในการควบคุม มีความ

จาเป็นที่ต้องรู้การความเป็นมาของการควบคุม และความหมายของการควบคมุ เบ้ืองต้น มาตรฐาน สัญลักษณ์
ต่างๆ ทีใ่ ชใ้ นระบบควบคุม เพอื่ เปน็ แนวทางในการเรียนทง้ั ภาคทฤษฎแี ละปฏิบัติ รวมทั้งความปลอดภัยในการ
ทางาน เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กาหนด

1.1 ควำมเป็นมำและควำมหมำยของกำรควบคมุ

1.1.1 ควำมเป็นมำของกำรควบคุม (ธวัชชัย อัตถวิบลู ยก์ ุล.การควบคมุ เครือ่ งกลไฟฟา้ .2546)

สถานประกอบการหรอื โรงงานอตุ สาหกรรมในประเทศไทย ได้มกี ารนาเข้าเครื่องจักรเพื่อใชง้ านใน

สายงานการผลติ เพื่อลดการใช้กาลังงานและลดต้นทุนการผลติ ซ่งึ เครือ่ งจักรทกุ เครือ่ งจาเปน็ ต้องใช้มอเตอร์

ไฟฟ้าเป็นเคร่ืองต้นกาลัง ดังนัน้ เพ่ือความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงานบคุ ลากรของโรงงานจะตอ้ งมีความรู้และ

ความเข้าใจในการส่ังการ หรือควบคุมเคร่ืองจักรนั้นๆ ให้ทางานได้บรรลุตามวัตถุประสงค์ ฉะนั้นบุคลากรที่

เก่ียวข้องกับงานดังกล่าวจะต้องมีความรู้ความเข้าใจด้านอุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า ตลอดจนสัญลักษณ์

ต่างๆ ทจี่ าเป็นต้องใชใ้ นวงจรควบคุมมอเตอร์ ซ่ึงผู้ผลติ เคร่ืองจกั รแตล่ ะประเภทอาจใชส้ ญั ลกั ษณท์ ่แี ตกต่างกัน

ส่วนใหญ่จะเป็นการเขียนการออกแบบวงจรควบคมุ วงจรกาลัง เงื่อนไขการทางาน การเร่ิมเดิน การกลับทาง

หมุน การหยดุ ของเคร่อื งกลไฟฟ้า ซ่ึงประกอบดว้ ย มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรง มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ

1.1.2 ควำมหมำยของกำรควบคุม

เครอ่ื งกลไฟฟ้ำ คือ อุปกรณท์ ่สี ามารถเปลี่ยนพลังงานกลเปน็ พลงั งานไฟฟ้าหรือเปลย่ี นพลงั งานไฟฟ้าไป

เป็นพลังงานกล พลังงานไฟฟ้า พลังงานกล

พลังงานกล พลังงานไฟฟา้

รปู ท่ี 1.1 ความหมาย เคร่ืองกลไฟฟา้
เครอ่ื งกำเนิดไฟฟ้ำ (Electric generator) คืออปุ กรณ์ที่แปลงพลงั งานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า อุปกรณ์

ดังกล่าวจะบังคับกระแสไฟฟ้าให้ไหลผ่านวงจรภายนอก แหล่งที่มาของพลังงานกลอาจจะเป็นลูกสูบหรือ
เครอื่ งยนต์กังหนั ไอน้า หรือแรงนา้ ตกผ่านกงั หันนา้ หรือลอ้ น้า หรือเคร่อื งยนต์สนั ดาปภายใน หรือกงั หันลมหรอื
ข้อเหว่ียงมือ หรอื อากาศอัด หรอื แหล่งพลังงานกลอน่ื ๆ เครื่องกาเนดิ ไฟฟา้ จะจ่ายพลงั งานไฟฟ้าเกือบทัง้ หมด

ใหก้ บั กรดิ พลงั งานไฟฟ้า (http://th.wikipedia.org/wiki/เครอ่ื งกาเนดิ ไฟฟ้า) 1/08/59

32025301 การควบคุมไฟฟ้าและนวิ แมตกิ

ก. เคร่ืองกาเนิดไฟฟา้ กระแสตรง

ข. เคร่ืองกาเนิดไฟฟา้ กระแสสลบั
รปู ที่ 1.2 หลักการทางานของเครือ่ งกาเนิดไฟฟา้
ท่ีมา : http://www.vcharkarn.com/lesson/13591/08/59
มอเตอร์ (Motor) เปน็ เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลงั งานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล ประกอบดว้ ยขดลวดท่ีพัน
รอบแกนโลหะทีว่ างอยู่ระหวา่ งขั้วแม่เหล็ก โดยเม่ือผา่ นกระแสไฟฟ้าเขา้ ไปยังขดลวดท่ีอยรู่ ะหว่างขั้วแม่เหล็ก
จะทาให้ขดลวดหมุนไปรอบแกน และเมื่อสลับข้ัวไฟฟ้า การหมุนของขดลวดจะหมุนกลับทิศทางเดิม
(http://engineerknowledge.blogspot.com/2011/02/motor.html)
มอเตอร์ไฟฟ้ำ หมายถึง เป็นเครื่องกลไฟฟ้าชนดิ หนึ่งที่เปลี่ยนแปลงพลงั งานไฟฟ้ามาเป็นพลังงานกล
มอเตอร์ไฟฟ้าที่ใช้พลังงานไฟฟ้าเปลี่ยนเป็นพลังงานกล มีท้ังพลังงานไฟฟ้ากระแสสลับและพลังงานไฟฟ้า
กระแสตรง
(http://www.sarahlong.org/มอเตอร์ไฟฟา้ -หมายถึงอะไร-18-42-306) 1/08/59

32025301 การควบคมุ ไฟฟ้าและนวิ แมติก

1) มอเตอร์ไฟฟ้ำกระแสสลับชนิด 1 เฟส (A.C. Single Phase) เป็นเครื่องกลไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่มี
หลักการคือ แปลงพลังงานไฟฟ้ามาเป็นพลังงานกล โดยไฟฟ้าที่ใช้เป็นแบบกระแสสลับ มอเตอร์ไฟฟ้า
กระแสสลับชนิ ด 1 เฟ ส หรือเรียกว่า ซิงเกิลเฟ สมอเตอร์(A.C.Single Phase) มีห ลายชนิดดังนี้
(http://webserv.kmitl.ac.th/s1010958/web/php/A.C.SinglePhase.php) 1/08/59

1.1) สปลิทเฟส มอเตอร์ (Split - Phase Motor) มีขนาดแรงม้าขนาดตั้งแต่ 1/4 แรงม้า 1/3
แรงม้า, 1/2 แรงมา้ แตจ่ ะมีขนาดไม่เกนิ 1 แรงม้า บางทีนิยมเรียกว่า อนิ ดักชั่นมอเตอร์(Induction motor)
มอเตอร์ชนิดนี้นยิ มใช้งานมากในตเู้ ยน็ เครื่องสูบน้าขนาดเลก็ เครือ่ งซกั ผ้า เปน็ ต้น

1.2) คำปำซิเตอร์ มอเตอร์ (Capacitor Motor) มีลักษณะคล้ายสปลิทเฟสมอเตอร์มาก
ต่างกันตรงท่ีมีคาปาซิสเตอร์เพิ่มข้ึนมา ทาให้มอเตอร์แบบน้ีมีคุณสมบัติพิเศษกว่าสปลิทเฟสมอเตอร์ คือมี
แรงบิดขณะสตาร์ทสูง ใช้กระแสขณะสตาร์ทน้อย มอเตอร์ชนิดน้ีมีขนาดต้ังแต่1/20 แรงม้า ถึง10 แรงม้า
มอเตอรน์ ้ีนิยมใช้งานเก่ยี วกับ ปม๊ั น้า เครอ่ื งอดั ลม ตู้แช่ ตเู้ ยน็ ฯลฯ

1.3) รีพัลชั่น มอเตอร์ (Repulsion-type Motor) มีโรเตอร์เป็นแบบวาวด์ ให้แรงบิดสูง
เหมาะสาหรบั ใชก้ บั งานทตี่ อ้ งการแรงบิดเรม่ิ หมนุ มากๆ เช่น มอเตอร์ของเครือ่ งปัม๊ ลมขนาดใหญ่ มอเตอรข์ อง
เครอื่ งป๊มั นา้ ขนาดใหญ่ มอเตอรข์ องเครื่องทาความเย็นขนาดใหญห่ รอื ตู้แช่ เปน็ ตน้

1.4) ยูนิเวอร์แซล มอเตอร์ (Universal Motor) เป็นมอเตอร์ขนาดเล็กมีขนาดกาลังไฟฟ้า
ตง้ั แต่ 1/200 แรงมา้ ถงึ 1/30 แรงม้า นาไปใช้ได้กบั แหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง และใชไ้ ด้กับแหล่งจ่ายไฟฟ้า
กระแสสลับ ชนิด 1 เฟส มอเตอร์ชนดิ น้ีมคี ุณสมบัติที่โดดเด่น คอื ให้แรงบิดเร่ิมหมุนสูง นาไปปรับตั้งความเร็ว
ได้ง่ายท้ังวงจรลดแรงดันและวงจรควบคุมอิเล็กทรอนิกส์ นิยมนาไปใช้เป็นตัวขับเคร่ืองใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน
เชน่ เครือ่ งบดและผสมอาหาร มดี โกนหนวดไฟฟา้ เคร่อื งนวดไฟฟ้า มอเตอร์จกั รเยบ็ ผ้า สว่านไฟฟา้ เป็นต้น

1.5) เช็ดเดดโพล มอเตอร์(Shaded-pole Motor) เป็นมอเตอร์ขนาดเล็กท่ีสุดมีแรงบิดเร่ิม
หมนุ ตา่ มาก นาไปใช้งานไดก้ ับเครือ่ งใช้ไฟฟา้ ขนาดเลก็ ๆ เช่น ไดรเ์ ป่าผม พดั ลมขนาดเล็ก

2) มอเตอร์ไฟฟ้ำกระแสสลับ 3 เฟส มีข้อดีที่ความเร็วรอบคงท่ีเน่ืองจากความเร็วรอบขึ้นอยกู่ ับ
ความถี่ของแหลง่ กาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ มีราคาถูกโครงสร้างไม่ซับซ้อน สะดวกในการบารุงรกั ษาเพราะไม่มี
คอมมิวเตเตอร์และแปรงถ่านเหมอื นมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรง
(http://webserv.kmitl.ac.th/s1010958/web/php/A.C.ThreephaseMotor.php) 1/08/59

มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส สามารถแบ่งออกตามโครงสรา้ งและหลักการทางานของมอเตอร์ได้
2 แบบ คอื

32025301 การควบคมุ ไฟฟา้ และนวิ แมตกิ
2.1) มอเตอรไ์ ฟฟำ้ กระแสสลับ 3 เฟส แบบอนิ ดกั ชนั่ (3 Phase Induction Motor)

หลักกำรทำงำน
เมื่อจ่ายไฟฟ้าสลับ 3 เฟสให้ที่ขดลวดท้ัง 3 ของตัวสเตเตอร์จะเกิดสนามแม่เหล็กหมุนรอบ ๆตัว

สเตเตอร์ ทาใหต้ ัวหมนุ (โรเตอร)์ ได้รับการเหน่ียวนาทาใหเ้ กิดข้วั แม่เหล็กที่ตวั โรเตอร์ และขัว้ แมเ่ หล็กนี้ จะ
ดึงดูดสนามแม่เหล็กท่ีหมุนอยู่รอบๆ ทาให้มอเตอร์ของอินดักชั่นมอเตอร์หมุนไปได้ ความเร็วของ
สนามแม่เหล็กหมุนที่ตัวสเตเตอร์น้ีจะคงที่ตามความถี่ของไฟฟ้ากระแสสลับ ดังนั้นโรเตอร์ของอินดักชั่น
มอเตอร์ จงึ หมนุ ตามสนามแม่เหล็กดงั กล่าวดว้ ยความเร็วเท่ากบั ความเร็วของสนามแม่เหลก็

2.2) มอเตอร์ไฟฟ้ำกระแสสลับ 3 เฟสแบบซิงโครนัส (3 Phase Synchronous Motor)
ซิงโครนัสมอเตอร์เป็นมอเตอร์ขนาดใหญ่ที่สุด มีขนาดกาลังไฟฟ้าตั้งแต่ 150 kW (200 hp) จนถึง 15 MW
(20,000 hp) มคี วามเร็วตั้งแต่ 150 ถงึ 1,800 RPM
หลกั กำรทำงำน

เมื่อจ่ายไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส ให้กับสเตเตอร์ของซิงโครนัสมอเตอร์จะเกิดสนามแม่เหล็กหมุน
เน่อื งจากตัวหมุน (โรเตอร)์ ของซงิ โครนัสมอเตอรเ์ ปน็ แบบขั้วแม่เหล็กย่ืน และมขี ดลวดสนามแม่เหล็กพันอยู่
รอบ ๆ โดยใช้แหลง่ จา่ ยไฟฟา้ กระแสภายนอก เม่อื จา่ ยไฟฟา้ กระแสตรงให้กับโรเตอร์จะทาใหเ้ กิดขัว้ แม่เหลก็ ที่
โรเตอร์ข้ึน ขั้วแม่เหล็กนี้จะเกาะตามการหมุนของสนามแม่เหล็กของสเตเตอร์ ทาให้ มอเตอร์หมุนไปด้วย
ความเร็วเท่ากับความเรว็ ของสนามแมเ่ หล็กที่สเตเตอร์

รูปที่ 1.3 มอเตอรไ์ ฟฟา้
ทีม่ า : http://www.thaiind.com/prd1/sboZwbcTue123021.jpg 1/08/59
http://webserv.kmitl.ac.th/s1010958/web/img/PICTUREEQUIPElectricPower/7.jpg1/08/59

3. มอเตอร์ไฟฟ้ำกระแสตรง (Direct Current Motor) การแบ่งชนิดของมอเตอร์ไฟฟ้า
กระแสตรงแบ่งออกได้ดังน้ี

มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรงแบง่ ออกเป็น 3 ชนดิ ไดแ้ ก่
1. มอเตอร์แบบอนกุ รมหรอื เรียกวา่ ซีรสี ์มอเตอร์ (Series Motor)
2. มอเตอร์แบบอนุขนานหรอื เรียกวา่ ชันท์มอเตอร์ (Shunt Motor)
3. มอเตอรไ์ ฟฟ้าแบบผสมหรอื เรยี กว่าคอมเปาวดม์ อเตอร์ (Compound Motor)

32025301 การควบคุมไฟฟา้ และนวิ แมติก
มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง เป็นต้นกาลังขับเคลอ่ื นที่สาคัญอย่างหน่ึงในโรงงานอุตสาหกรรม
เพราะมีคณุ สมบัตทิ ่ีดีเด่นในดา้ นการปรบั ความเรว็ ไดต้ ง้ั แต่ความเร็วต่าสุดจนถงึ สูงสุด นิยมใช้กันมากในโรงงาน

อุตสาหกรรม เช่นโรงงานทอผ้า โรงงานเส้นใยโพลีเอสเตอร์ โรงงานถลุงโลหะ หรือให้ เป็นต้นกาลังในการ
ขับเคล่ือนรถไฟฟ้า เป็นต้นในการศึกษาเกี่ยวกับมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงจึงควรรู้จัก อุปกรณ์ต่าง ๆ ของ
มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงและเขา้ ใจถงึ หลักการทางานของมอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสตรงแบบตา่ ง ๆ

กำรควบคุมมอเตอร์ หมายถึง การให้มอเตอร์ทางานตามคาส่ัง เช่น การเริ่มเดินมอเตอร์ การหยุด
มอเตอร์ การกลับทางหมุนมอเตอร์ การควบคุมความเร็วรอบของมอเตอร์ การควบคุมมอเตอร์ให้ทางาน
เรียงตามลาดบั ความปลอดภยั ในการปฏบิ ัติงานเป็นตน้
http://home.dsd.go.th/yasothon/images/stories/upload_2557/files/3_phase.pdf1/08/59

กำรควบคุมไฟฟำ้ หมายถึง การบงั คับและควบคุมใหเ้ ครือ่ งจกั รสามารถทางานได้ตามต้องการ เชน่
การควบคมุ การกลบั ทางหมุนมอเตอรไ์ ฟฟ้า การควบคมุ ความเร็วรอบของมอเตอรไ์ ฟฟ้า การควบคุมการ
ขับเคล่ือนของสายพานลาเลียง เป็นตน้
(https://sites.google.com/site/dhanu3514/dhanuplc/111ความหมาย) 1/08/59

กำรควบคมุ มอเตอรไ์ ฟฟำ้ คือ การควบคุมหรอื สง่ั งานใหม้ อเตอรท์ างานตามเงือ่ นไขทผ่ี ู้ใช้กาหนด
ขนึ้ มาเอง
1.2 หลกั กำรเลือกใช้อุปกรณ์ในกำรควบคุม

1.2.1 สญั ลกั ษณ์ในงำนควบคุม (ไวพจน์ ศรีธญั . 2556)
ส่วนใหญ่จะเป็นการเขียนการออกแบบวงจรควบคุม (Control Circuit) วงจรกาลัง (Power Circuit)

เงอ่ื นไขการทางาน การเรม่ิ เดิน การกลบั ทางหมุน การหยุดของเครื่องจักรกลไฟฟ้า ซ่ึงประกอบด้วย มอเตอร์
ไฟฟ้ากละแสตรง (DC Motor) มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลับ (AC Motor) ท้งั ชนิดหนง่ึ เฟส (Single Phase) และ
สามเฟส (Three Phase) สาหรบั สญั ลกั ษณ์ที่ใชท้ ั่วไป คือ มาตรฐาน DIN, IEC, ANSI และระบบ SI ดังตารางท่ี
1.1 และ ตารางท่ี 1.2

DIN = Detaches Institute Fur Norming หมายถึง มาตรฐานการออกแบบของประเทศเยอรมนั
IEC = International Electro technical Commission หมายถึง มาตรฐานทางไฟฟ้านานาชาติของ
ทวีปยุโรป
ANSI = American National Standard Institute หมายถึง มาตรฐานการออกแบบของประเทศ
สหรฐั อเมริกา
SI = System International of Units หมายถึง ระบบของหน่วยมาตรฐานนานาชาติโดยท่ัวไปนิยม
เรียกวา่ ระบบเอสไอ

32025301 การควบคุมไฟฟา้ และนิวแมติก
ตารางที่ 1.1 เปรียบเทยี บสญั ลักษณ์ไฟฟา้ ที่ใชส้ าหรบั การควบคุมเครอ่ื งกลไฟฟ้า

DIN IEC ANSI ชนดิ ของอุปกรณ์

หน้าสมั ผสั ปกตเิ ปดิ (NO)

หน้าสมั ผสั ปกตปิ ิด (NC)

สวิตช์ปุ่มกดปกติเปิด (NO)

สวิตช์ปุม่ กดปกติปิด (NC)

สวิตชป์ ่มุ กดหน้าสัมผสั ค้าง

P สวติ ชค์ วบคมุ ความดันปกติเปดิ (NO)

P สวติ ชค์ วบคุมความดันปกติปดิ (NC)

สวติ ช์เทา้ เหยยี บ หรอื ทางานด้วยเท้า

32025301 การควบคุมไฟฟา้ และนวิ แมตกิ
ตารางท่ี 1.1 เปรยี บเทยี บสัญลกั ษณ์ไฟฟ้าท่ใี ชส้ าหรบั การควบคมุ เคร่ืองกลไฟฟ้า (ต่อ)

DIN IEC ANSI ชนดิ ของอุปกรณ์
สวติ ชล์ กู ลอยปกตเิ ปิด (NO)
TT
TT สวิตช์ลกู ลอยปกตปิ ดิ (NC)
FF
FF สวิตช์ทางานดว้ ยความร้อน หรือ
สวิตชอ์ ณุ หภมู ิ ปกตเิ ปิด (NO)
LM LM
LM LM สวติ ช์ทางานด้วยความร้อน หรือ
สวติ ช์อณุ หภมู ิ ปกติปดิ (NC)

สวติ ช์ควบคุมการไหล หรือโหลสวติ ช์
ปกตเิ ปดิ (NO)

สวติ ชค์ วบคมุ การไหล หรอื โหลสวติ ช์
ปกตปิ ดิ (NC)

ลมิ ติ สวิตช์ ปกตเิ ปดิ (NO)

ลิมติ สวติ ช์ ปกตปิ ิด (NC)

32025301 การควบคมุ ไฟฟ้าและนิวแมตกิ
ตารางที่ 1.1 เปรียบเทยี บสญั ลักษณไ์ ฟฟ้าท่ใี ชส้ าหรับการควบคุมเครื่องกลไฟฟา้ (ต่อ)

DIN IEC ANSI ชนดิ ของอุปกรณ์

M M ฟวิ ส์
3~
หรอื M ขดลวดหรือคอยล์ของสวิตช์แม่เหลก็
M หรือคอยลร์ เี ลย์
M
3~ ปลดหรอื ทรปิ ด้วยแมเ่ หล็ก

หรอื M โอเวอร์โหลดรเี ลยท์ รปิ ด้วยความรอ้ น

หลอดสญั ญาณ

CB เซอร์กติ เบรคเกอร์

สลปิ -รงิ มอเตอร์ หรอื มอเตอรแ์ บบ
M วาวดโ์ รเตอร์

(Wound Rotor)
มอเตอร์เหนย่ี วนา 3 เฟส ชนิด

Squirrel Cage
Rotor (แบบกรงกระรอก)

32025301 การควบคมุ ไฟฟา้ และนวิ แมตกิ

ตารางท่ี 1.1 เปรยี บเทียบสญั ลกั ษณไ์ ฟฟา้ ทีใ่ ชส้ าหรบั การควบคุมเครอื่ งกลไฟฟ้า (ตอ่ )

DIN IEC ANSI ชนดิ ของอุปกรณ์

M หรอื M M มอเตอรฟ์ า้ กระแสตรง แบบซรี ีส์
มขี ดลวดอินเตอร์โปลบนอาร์

M เมเจอร์

SV วาวด์แม่เหล็กไฟฟา้

SV

SV

หรือ

หวดู สัญญาณ

32025301 การควบคมุ ไฟฟา้ และนวิ แมตกิ

ตารางที่ 1.2 สัญลกั ษณท์ ีใ่ ชส้ าหรบั การควบคมุ เครอื่ งกลไฟฟ้า ระบบเอสไอ

สัญลักษณ์ ชนิดของอุปกรณ์

สวติ ชป์ ุ่มกด – ปกตเิ ปิด (NO)

สวิตชป์ ุ่มกด – ปกติปิด (NC)

สวติ ชป์ ุ่มกด – ปกติเปดิ (NO) สองตวั ทางานพร้อมกัน

สวิตช์ปุ่มกด 1 NO, 1 NC ทางานพรอ้ มกนั

สวติ ชป์ มุ่ กดลอ็ กได้ – ปกติเปิด (NO)

สวติ ชป์ ุ่มกดลอ็ กได้ – ปกติปดิ (NC)

แสดงสภาวะอปุ กรณก์ าลงั ทางาน

สวิตชป์ มุ่ กด– ปกตปิ ิด (NC) ขณะทางาน

32025301 การควบคมุ ไฟฟ้าและนิวแมตกิ

ตารางที่ 1.2 สัญลกั ษณท์ ี่ใชส้ าหรบั การควบคมุ เครอ่ื งกลไฟฟ้า ระบบเอสไอ (ตอ่ )

สญั ลกั ษณ์ ชนิดของอุปกรณ์

สวติ ชป์ มุ่ กด– ปกตเิ ปิด (NO) ขณะทางาน

คอนแทคเปิด

คอนแทคปดิ

คอน 2 ทาง
ทางานด้วยเมือ(ทว่ั ไป)
ทางานด้วยการกดลง

ทางานดว้ ยการดงึ ขน้ึ

ทางานด้วยกาหมนุ

32025301 การควบคุมไฟฟ้าและนิวแมติก

ตารางท่ี 1.2 สญั ลักษณ์ท่ีใชส้ าหรบั การควบคมุ เครอ่ื งกลไฟฟ้า ระบบเอสไอ (ต่อ)

สญั ลักษณ์ ชนดิ ของอุปกรณ์

ทางานดว้ ยการผลัก

ทางานด้วยเท้า

สามารถถอดด้ามถืออกได้

หรือ ใช้กระเดอ่ื งหรอื ลกู เบี้ยว (Cam)

3
2
1

คอยลร์ เี ลยท์ ว่ั ไป หรอื คอยล์คอนแทคเตอร์

คอยลร์ เี ลย์แบบพเิ ศษ

คอยลร์ เี ลย์พรอ้ มคอนแทคปกตเิ ปิด (NO) 3 ขว้ั ทางานพร้อมกัน

1 35 คอนแทคเมน ใช้ในวงจรกาลัง
246

32025301 การควบคมุ ไฟฟ้าและนวิ แมตกิ

ตารางที่ 1.2 สัญลักษณท์ ใ่ี ชส้ าหรบั การควบคมุ เครอ่ื งกลไฟฟา้ ระบบเอสไอ (ตอ่ )

สัญลักษณ์ ชนดิ ของอุปกรณ์

รเี ลยต์ ง้ั เวลา

โอเวอร์โหลดรเี ลยแ์ บบธรรมดา

โอเวอรโ์ หลดรเี ลย์แบบมี Reset

I กระแสเกินขนาด

I กระแสต่ากวา่ ขนาด

I กระแสอยู่ในระหว่างชว่ ง

U แรงเคล่อื นเกินขนาด

U แรงเคลอื่ นตา่ กว่าขนาด

32025301 การควบคมุ ไฟฟ้าและนิวแมตกิ

ตารางท่ี 1.2 สญั ลักษณท์ ี่ใช้สาหรบั การควบคมุ เครอ่ื งกลไฟฟ้า ระบบเอสไอ (ตอ่ )

สัญลกั ษณ์ ชนิดของอุปกรณ์

U แรงเคลือ่ นอยู่ในระหวา่ งช่วง

โหลดเกนิ เนื่องจากความร้อน

III สวิตช์มอื โยกแบบมกี ลไกทางานด้วยความรอ้ นและกระแสเกนิ ขนาด
อปุ กรณค์ วบคุมพเิ ศษ

ควบคมุ ด้วยอุณหภูมิ

P ควบคมุ ดว้ ยความดนั

ควบคมุ ดว้ ยลูกสบู

อปุ กรณล์ อ็ กด้วยระบบกลไก
อุปกรณล์ ็อกดว้ ยระบบไฟฟา้

32025301 การควบคุมไฟฟา้ และนวิ แมตกิ

1.2.2 กำรเลอื กใชอ้ ปุ กรณใ์ นกำรควบคมุ (ไวพจน์ ศรีธญั .การควบคุมมอเตอรไ์ ฟฟา้ , 2556)
ม อ เต อ ร์ ไฟ ฟ้ า เป็ น เครื่ อ ง ใช้ ไฟ ฟ้ า อี ก ช นิ ด ห น่ึ ง ที่ จ า เป็ น ต้ อ ง มี ก า ร ป้ อ ง กั น ค วา ม เสี ย ห า ย

เช่นเดียวกับเคร่ืองใช้ไฟฟ้าชนิดอน่ื ๆ แต่การตอ่ วงจรเพื่อจ่ายไฟให้กับมอเตอร์จะมีข้อกาหนดเป็นการเฉพาะ
เน่ืองจากกระแสขณะเริ่มสตาร์ทมีค่าสูงประมาณ 4-8 เท่าของกระแสพิกัด ดังน้ันฟิวส์ (Fuse) หรือเซอร์กิต
เบรกเกอร์ (Circuit Breaker) ทน่ี ามาใช้ป้องกัน (Protection) จงึ ต้องมีพกิ ัดกระแสสูงขึ้น ทง้ั นีเ้ พือ่ ปอ้ งกันการ
ปลดวงจร เน่อื งจากกระแสเร่มิ เดนิ ของมอเตอรซ์ ึง่ จะทาให้ความสามารถในการป้องกนั ลดลง ขาดความเช่อื ถือ
โดยทั่วไปจึงต้องติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันโหลดเกิน หรือเรียกว่า โอเวอร์โหลดรีเลย์ (Overload Relay) เพ่ือ
ป้องกันการใช้งานเกินกาลังอีกอย่างหน่งึ ดว้ ย
วงจรมอเตอร์มสี ่วนประกอบที่ต้องพจิ ำรณำ 5 ส่วน คือ

1. สำยไฟฟำ้ วงจรมอเตอร์
สายไฟฟ้า หรือตัวนาท่ีจะนามาใช้ ต้องมีขนาดเหมาะสม กับกระแสของมอเตอร์ เน่ืองจากวงจร

มอเตอร์อาจประกอบด้วยวงจรทีม่ ีมอเตอร์ตวั เดียว มอเตอร์หลายตวั และวงท่ีมีมอเตอร์ร่วมอยู่กับโหลดอ่นื ท่ี
ไมใ่ ชม่ อเตอร์ การกาหนดขนาดสายไฟฟ้า จงึ แบง่ เปน็ วงจรยอ่ ยและสายป้อน แยกพิจารณาดงั นี้

ก. สายไฟฟ้าสาหรบั มอเตอรต์ ัวเดยี ว
1. สายไฟฟ้าวงจรย่อยที่จ่ายให้มอเตอร์ตัวเดียว ต้องมีขนาดกระแสไม่ต่ากว่า 125% ของพิกัด
กระแสโหลดเต็มพิกดั (Full Load Current) ของมอเตอร์

2. สายไฟฟ้าวงจรย่อยมอเตอร์ ต้องมีขนาดไม่เล็กกว่า 1.5 ตร.มม. สาหรับการกาหนดขนาด
สายไฟฟ้าจะต้องดูชนิด และวธิ ีการเดินสายประกอบดว้ ย เชน่ เดินในท่อหรือเดนิ ลอยในอากาศ หรือทอ่ โลหะ
เป็นตน้

ข. สายไฟฟ้าดา้ นทุตยิ ภมู ิ ของมอเตอรแ์ บบวาวดโ์ รเตอร์ (Wound Rotor)
มอเตอร์แบบวาวด์โรเตอร์ จะมีวงจรทางด้านทุติยภูมิต่อระหว่างโรเตอร์กับเคร่ืองควบคุมด้าน

ทุติยภมู ิ ประกอบดว้ ยชุดความตา้ นทาน เพื่อใชค้ วบคุมกระแสขณะเรม่ิ เดิน และควบคมุ ความเรว็ ของมอเตอร์
1. มอเตอร์ใช้งานประเภทต่อเนื่อง สายไฟฟ้าท่ีต่อระหว่างด้านทุติยภูมิของมอเตอร์กับเครื่อง

ควบคุมมอเตอร์ ต้องมีขนาดกระแสไมต่ ่ากว่า 125% ของกระแสโหลดเตม็ ทดี่ ้านทตุ ยิ ภูมขิ องมอเตอร์
2. มอเตอร์ท่ีใชง้ านไม่ต่อเน่ือง สายไฟฟ้าตอ้ งมีขนาดกระแสไมต่ ่ากว่าจานวนร้อยละของกระแส

โหลดเตม็ ท่ี ดา้ นทุติยภูมขิ องมอเตอร์ ตามตารางที่ 1.2 ซึ่งมีคา่ แตกต่างกันตามประเภทการใชง้ าน

32025301 การควบคมุ ไฟฟา้ และนวิ แมติก

ตำรำงท่ี 1.2 ขนาดกระแสของสายไฟฟา้ สาหรบั มอเตอรท์ ใ่ี ชง้ านประเภทไม่ตอ่ เนอื่ ง

ร้อยละของพิกัดกระแสบนแผ่นปา้ ยประจาเครือ่ ง

ประเภทการใช้งาน มอเตอรพ์ ิกัดใช้ มอเตอรพ์ ิกัดใช้ มอเตอร์พิกัดใช้ มอเตอรพ์ ิกัดใช้
เวลา 5 นาที เวลา 15 นาที งานตอิ เนื่อง
เวลา 30 และ
60 นาที

ใชง้ านระยะสนั้ เชน่ มอเตอร์ 110 120 150 -
หมนุ ปิด-เปดิ วาลว์ ฯลฯ

ใช้งานเปน็ ระยะ เช่น มอเตอร์

ลฟิ ต์ มอเตอร์ ปิด-เปิดวาล์ว 85 85 90 140

ฯลฯ

ใช้งานเปน็ คาบ เช่น มอเตอร์ 85 90 95 140
หมนุ ลกู กล้งิ ฯลฯ

ใชง้ านทเี่ ปลีย่ นแปลง 110 120 150 200

สาหรบั สายไฟฟา้ ท่ตี อ่ ระหว่างเครื่องควบคุม และตัวตา้ นทานทัง้ มอเตอร์ใช้งานประเภทตอ่ เน่ือง และ

ไม่ตอ่ เนอ่ื ง พิกดั กระแสของสายไฟฟ้าตอ้ งมีขนาดไมต่ ่ากวา่ ทก่ี าหนดในตารางที่ 1.2

ตำรำงท่ี 1.3 ขนาดสายระหว่างเคร่อื งควบคุมมอเตอร์ และตวั ต้านทานในวงจรทตุ ิยภูมิของมอเตอรแ์ บบวาวด์

โรเตอร์

ประเภทการใช้งานของตวั ตา้ นทาน ขนาดกระแสของสายคิดเปน็ รอ้ ยละของกระแสด้าน
ทตุ ยิ ภมู ทิ ี่โหลดเตม็ ท่ี

เร่ิมเดินอย่างเบา 35

เร่มิ เดินอยา่ งหนัก 45

เร่ิมเดนิ อย่างหนกั มาก 55

ใช้งานเป็นระยะหา่ งมาก 65

ใชง้ านเปน็ ระยะหา่ งปานกลาง 75

ใชง้ านเป็นระยะถี่ 85

ใช้งานตอ่ เนอ่ื ง 110

ค. สายไฟฟ้าท่ีจ่ายกระแสให้แก่มอเตอร์มากกว่า 1 ตัว ต้องมีอัตราทนกระแสได้ไม่ต่ากว่า 125%

ของพิกัดกระแสโหลดเต็มท่ีของมอเตอร์ตัวใหญ่ท่ีสุดในวงจร รวมกับพิกัดกระแสโหลดเต็มท่ีของมอเตอร์ตัว

อน่ื ๆ สาหรบั สายเมนที่ต่อกับมอเตอร์ทุกตัวเรยี กว่าสายปอ้ น

- ในกรณีทมี่ อเตอรต์ วั ใหญท่ ่สี ุดมีหลายตวั ใหค้ ดิ 125% เพียงตวั เดียว

32025301 การควบคุมไฟฟ้าและนวิ แมติก

- ในกรณที ี่มีมอเตอร์แบบใชง้ านไมต่ อ่ เนื่องปนอยู่ดว้ ย การหาขนาดสายไฟฟา้ ให้พจิ ารณาตามตาราง

ที่ 1.2

2. เคร่ืองปลดวงจรมอเตอร์

เป็นอุปกรณ์ทใ่ี ชป้ ลดวงจรที่จ่ายไฟให้แก่มอเตอร์ เพื่อการซ่อมบารุง หรือปลดวงจรในกรณีฉุกเฉิน

พิกดั กระแสของเครื่องปลดวงจรมอเตอรต์ ้องไม่ต่ากว่า 115% ของพกิ ัดกระแสมอเตอร์ โดยจะต้องติดตัง้ ในต่า

แหน่งท่ีมองเห็นได้จากที่ต้ังมอเตอร์ และห่างจากเครื่องควบคุมมอเตอร์ไม่เกิน 15 เมตร เพื่อป้องกันความ

ผดิ พลาดที่อาจเกิดขน้ึ ขณะปฏบิ ัติงาน แตถ่ ้าหากสามารถใส่กุญแจได้ในตาแหน่งปลด-สลับวงจร และมน่ั ใจได้

ว่าปลอดภยั กรณนี เี้ คร่ืองปลดวงจร-สลับวงจรกไ็ ม่จาเป็นต้องมองเห็นได้จากที่ตงั้ มอเตอร์

3. เครอื่ งป้องกนั กำรลดั วงจร

เป็นอุปกรณ์การลัดวงจรที่นิยมใช้มี 2 ชนิด คือ ฟิวส์ (Fuse) และเซอร์กิตเบรกเกอร์(Circuit

Breaker) การกาหนดขนาดพิกดั ของฟวิ ส์ หรือเซอร์กติ เบรกเกอร์ ควรกาหนดใหม้ ีขนาดเล็กที่สดุ แต่จะตอ้ งทน

ตอ่ กระแสเร่ิมเดินของมอเตอร์ได้ด้วย โดยทั่วไปจะต้องมีพิกัดกระแสประมาณ 2-2.5 เท่า ของกระแสโหลด

เตม็ ทีข่ องมอเตอร์

สาหรับการเลือกใชฟ้ วิ ส์และเซอร์กิตเบรกเกอร์ จะตอ้ งเลือกขนาดให้เหมาะสมกับพิกัดขดงมอเตอร์

ดังตารางท่ี 1.4 ชนิดของมอเตอร์ที่ไม่มีรหัสอักษร คือ มาตรฐาน IEC ซึ่งในประเทศไทยส่วนใหญ่จะเป็น

มอเตอร์แบบน้ี แต่มอเตอร์ท่ีมีรหัสอักษรจะเป็นมอเตอร์ตามมาตรฐาน NEMA (National Electrical

Manufacturer Association) ประเทศสหรัฐอเมรกิ า

ตำรำงที่ 1.4 พกิ ัดหรอื ขนาดปรับตั้งสูงสดุ ของเครือ่ งป้องกนั การลดั วงจรระหว่างสาย และป้องกันการรั่วลงดิน

ของวงจรย่อยมอเตอร์

ร้อยละของกระแสโหลดเต็มท่ี

ชนดิ ของมอเตอร์ ฟิวส์ทางาน ฟวิ ส์หน่วง เซอร์กิตเบรกเกอร์ เซอรก์ ติ เบรกเกอร์

ไว เวลา ปลดทันที เวลาผกผัน

มอเตอร์ 1 ฟส ไม่มีรหสั อักษร 300 175 700 250

มอเตอรก์ ระแสสลบั 1 เฟสท้ังหมดและมอเตอร์ 3

เฟส แบบกรงกระรอกและมอเตอร์ซิงโครนัส ซึ่ง

เริม่ เดนิ โดยรับแรงดนั ไฟฟา้ เต็มทห่ี รือเรมิ่ เดินผ่าน

ตัวตา้ นทานหรือรแี อกแตอร์

- ไม่มรี หัสอักษร 300 175 700 250

- รหสั อกั ษร F ถงึ V 300 175 700 250

- รหัสอกั ษร B ถึง E 250 175 700 200

- รหัสอักษร A 150 150 700 150

32025301 การควบคมุ ไฟฟา้ และนิวแมติก

รอ้ ยละของกระแสโหลดเตม็ ที่

ชนิดของมอเตอร์ ฟวิ สท์ างาน ฟิวส์หน่วง เซอร์กิตเบรกเกอร์ เซอรก์ ติ เบรกเกอร์

ไว เวลา ปลดทันที เวลาผกผนั

มอเตอรก์ ระแสสลับท้ังหมดแบบกรงกระรอกและ

มอเตอร์ซิงโครนัส ซ่ึงเริ่มเดินโดยผ่านหม้อแปลง

ออโต้

กระแสไมเ่ กนิ 30 แอมแปร์

- ไม่มรี หสั อักษร 250 175 700 200
175 700 200
กระแสเกิน 30 แอมแปร์ 200 175 700 200
175 700 200
- ไมม่ ีรหัสอักษร 250 150 700 150

- รหัสอักษร F ถึง V 200 175 700 250
150 175 700 200
- รหัสอักษร B ถึง E
- รหสั อักษร A 150 700 150

มอเตอร์แบบกรงกระรอก 150 250 150
150 175 150
กระแสไมเ่ กิน 30 แอมแปร์

- ไมม่ รี หัสอักษร 250

กระแสเกนิ 30 แอมแปร์ 200

- ไมม่ รี หสั อักษร

มอเตอร์แบบวาวดโ์ รเตอร์

ไม่มีรหัสอักษร 150

มอเตอรก์ ระแสตรง (แรงดันคงท)ี่

ขนาดไม่เกนิ 50 แรงม้า

- ไม่มรี หัสอกั ษร 150

ขนาดเกิน 50 แรงมา้ 150

- ไมม่ รี หสั อักษร

4. เครอ่ื งควบคุมมอเตอร์ (Motor Controller)
เคร่อื งควบคุมมอเตอร์ คอื ชุดของอปุ กรณท์ ใี่ ชบ้ งั คบั ใหม้ อเตอร์เรมิ่ เดิน หยดุ หมุน หรือกลับทางหมนุ

ได้ เคร่ืองควบคุมมอเตอร์มีหลายชนิด เช่น ชนิดท่ีใช้แม่เหล็กไฟฟ้า (Magnetic Contactor) ชนิด

อเิ ล็กทรอนกิ ส์ สวิตช์ชนิดตา่ งๆ เคร่ืองควบคมุ แบ่งออกเป็น 2 ชนดิ คือ

32025301 การควบคมุ ไฟฟ้าและนวิ แมตกิ

1. เริ่มเดินมอเตอร์ ด้วยการต่อโดยตรงกับแหล่งจ่าย (Direct on Line Starter; DOL) การเร่ิม
เดินแบบนี้ แรงบิดเริ่มเดิน (Starting Torque) จะสูงประมาณ 1.5 เท่า ของแรงบิดตามพิกัด แต่กระแสเริ่ม

เดนิ (Starting Current) จะสงู ประมาณ 4 – 8 เท่าของพิกดั จึงเหมาะสาหรับการเร่มิ เดินมอเตอร์ขนาดเลก็ ไม่
เกิน 7.5 แรงม้า (Horse Power; HP) เน่ืองจากกระแสเกินแรงดันจะทาให้ไฟตกไฟกระพริบขณะเร่ิมเดิน
มอเตอร์

2. เริ่มเดินมอเตอร์ด้วยกำรลดแรงดันไฟฟ้ำ (Reduced Voltage Starter) การเริ่มเดินด้วย
การลดแรงดนั ไฟฟ้าใหต้ า่ ลง จะทาใหก้ ระแสเรม่ิ เดินลดลง แตแ่ รงบิดจะลดลงเชน่ กนั การเริม่ เดนิ แบบนน้ที าได้
หลายวธิ ี ไดแ้ ก่

- การเร่มิ เดนิ แบบสตาร์-เดลต้า (Star – Delta Starter)
- การเรมิ่ เดินดว้ ยออโต้ทรานสฟอรเ์ มอร์ (Auto Transformer Starter)
- การเร่ิมเดนิ ดว้ ยความตา้ นทาน (Resistance Starter)

ตำรำงท่ี 1.5 เปรยี บเทยี บการเร่มิ เดนิ มอเตอร์แบบตา่ งๆ

วิธเี ร่ิมเดินมอเตอร์ จานวนเท่าของกระแส ขณะ แรงบดิ เปรียบเทยี บกับการเรม่ิ
เรมิ่ เดิน เดนิ แบบ Direct on Line
ตอ่ โดยตรงกบั แหลง่ จ่าย 4–8 1
สตาร์ – เดลต้า 1.3 – 2.6 0.33

ออโต้ทรานสฟอรเ์ มอร์ 1.7 – 4 0.4 – 0.8
ความต้านทาน/รีแอกเตอร์ 4.5 0.5

5. เครอ่ื งป้องกันโหลดเกิน (Overload Protection)
เมื่อใชง้ านมอเตอร์เกนิ ขนาด จะทาใหเ้ กิดความร้อนสะสมเพมิ่ สงู ขึ้น แตเ่ ครอื่ งป้องกันการลดั วงจรจะ

ไม่สามารถป้องกันครอบคลุมในส่วนน้ีได้ เน่ืองจากจะต้องเลือกใช้ค่าที่สูงกว่าให้เพียงพอต่อการเริ่มเดินของ

มอเตอร์ ดงั นน้ั เพ่อื ปอ้ งกันจากสภาวะโหลดเกนิ จงึ ต้องตดิ ต้ังเคร่อื งปอ้ งกันโหลดเกินเปน็ การเฉพาะ เรียกวา่ โอ
เวอรโ์ หลดรีเลย์ (Overload Relay) หรอื รีเลยโ์ หลดเกนิ โดยทว่ั ไปจะสามารถปรบั ตั้งคา่ กระแสไฟฟ้าได้ แตไ่ ม่
เกนิ 115% ของกระแสพิกัดมอเตอร์ สาหรบั การปรบั ต้งั โอเวอรโ์ หลดรีเลยข์ องการเร่ิมเดินแบบสตาร์ – เดลต้า
ให้ใช้พกิ ดั กระแสสูงสดุ คูณ 1.25 หารดว้ ย √3

32025301 การควบคมุ ไฟฟา้ และนวิ แมตกิ

ตำรำงที่ 1.6 การใชอ้ ปุ กรณก์ ับวงจรมอเตอรไ์ ฟฟ้า

มอเตอร์ พิกัด เคร่ืองป้องกันการ เร่มิ เดินโดยตรง เริม่ เดนิ แบบสตาร์ – เดลต้า
กระแส ลดั วงจรยอ่ ย
ขนาด แบบ เต็มท่ี
(HP) (เฟส) ของ เครอื่ ง ฟวิ ส์ เซอร์กิต สายไฟ ขนาด สายไฟTHW C ขนาด
มอเตอร์ ปลดวงจร ทางาน เบรคเกอร์ THW ปรับตง้ั ปรบั ตวั
11 ไว (A) รเี ลย์ () รีเลย์
31 (A) (A) เวลา C โหลด โหลดเกนิ
51 ผกผัน (A) เกนิ (A) ระหวา่ ง
7.5 1 8.4 30 () วงจร สตาร์ท (A)
10 1 17.8 30 ย่อย เตอร์กบั
13 29.3 60
33 41.8 60 มอเตอร์
53 52.3 100
7.5 3 2.2 30 25 20 2.5 7.5-11 -- -
10 3 5.8 30 50 40 6 18-27
15 3 9.2 30 80 60 10 30-45 -- -
20 3 13 30 110 90 16 40-63
25 3 17 30 15 110 25 57-82 -- -
25 30 15 15 2.5 2.1-3
33 60 20 15 2.5 5.2-7.5 -- -
41 60 30 20 2.5 9-13
35 30 4 12- -- -
40 35 6 17.6
70 50 10 18-27 -- -
90 70 10 25-35
100 90 16 30-45 -- -
40-63
2.5 2.5 5.2-7.5

4 2.5 7.5-11

6 4 9-13

10 6 14-21

10 10 18-27

16 10 25-35

1.2.3 ควำมปลอดภัยในกำรทำงำน
http://home.dsd.go.th/yasothon/images/stories/upload_2557/files/3_phase.pdf 1/08/59

ความปลอดภยั ในชวี ติ และทรพั ยส์ นิ มีความสาคญั อย่างยงิ่ โดยเฉพาะท่านทที่ างานเกยี่ วกบั ระบบ

ไฟฟ้าทั้งที่เกี่ยวข้องโดยตรง และทางอ้อม โดยช่วงท่ีเป็นหน้าฝนซ่ึงมคี วามชนื้ ในอากาศสูงการทางานใกล้สาย
ไฟฟา้ แรงสูงต้องเพิ่มความระมัดระวงั เพ่ิมขนึ้ ทาอย่างไรจงึ จะไม่ถูกไฟฟา้ ดูด

การใช้ประโยชน์จากไฟฟ้าต้องใชอ้ ย่างระมัดระวัง ต้องเรียนรู้วธิ ีการใช้การป้องกันการเลือกใช้

เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าทมี ีคุณภาพ และใชอ้ ย่างถูกวธิ ีเปน็ การช่วยลดอนั ตรายจากไฟฟา้ ไมใ่ ช่เกดิ จากการใช้ไฟฟา้ แต่

32025301 การควบคมุ ไฟฟ้าและนวิ แมตกิ

เพียงอย่างเดียว บุคคลทั่วไปหรือผู้ประกอบอาชีพอ่ืน ก็อาจเกิดอันตรายได้เช่นกัน ไม่ว่าจะเป็ นผู้ทางาน
ก่อสร้าง การตดิ ต้งั เสาอากาศโทรทัศน์ และการใช้ยานพาหนะเปน็ ตน้ ในเรอื่ งนม้ี ีจุดประสงค์ให้ผ้ใู ช้ไฟฟ้าทั่วไป
รวมท้ังผ้ปู ฏิบตั ิงานอื่นทไี่ ม่เกี่ยวขอ้ งกบั ไฟฟา้ โดยตรงแต่ต้องเกี่ยวขอ้ ง หรือปฏิบัติงานใกลส้ ายไฟฟ้าได้ตระหนัก
ถึงอันตราย และทราบถึงแนวทางป้องกันอันตรายจะเป็นประโยชน์โดยตรงต่อชีวิต และทรัพย์สินรวมทั้ง
สามารถลดปัญหาไฟฟา้ ดับได้

ดังนั้นจงึ ทาความร้จู กั กับไฟฟา้ ก่อนการใช้ไฟฟ้าท้ังๆ ทไ่ี มเ่ คยเห็นไฟฟา้ จะเคยก็เพียงแต่เหน็ ผล ที่
เกิดจากการทางานของไฟฟ้า ไฟฟา้ เกดิ จากการเคลอื่ นที่ของอิเล็กตรอนโดยไหลผ่านสิ่งทีเ่ รียกว่า"ตัวนาไฟฟ้า"
เช่นสายไฟฟา้ เปน็ ต้น หลักการท่ีสาคญั คอื ต้องมแี หล่งกาเนิดไฟฟ้า ไฟฟา้ จะเคล่ือนทอี่ อกจากแหล่งกาเนดิ ไหล
ไปตามสายไฟฟ้าอาจผ่านเครื่องใชไ้ ฟฟ้า หรอื ไมก่ ็ได้และต้องกลับมาที่แหล่งกาเนิดเดิมอกี ครั้งเรียกว่า "ครบ
วงจร" จึงอาจกลา่ วอยา่ งง่ายๆ ได้วา่ ไฟฟา้ จะไหลครบวงจรได้ทั้งกรณีไฟฟา้ ดูด และกรณไี ฟฟ้า ช๊อตท้งั 2 กรณี
เกิดข้ึนได้เพราะไฟฟ้าไหลครบวงจรนั้นเอง แบตเตอรี่รถยนต์จะมีข้ัวให้ตอ่ สายไฟฟ้าอยู่สอง ขัว้ ไฟฟ้าจะไหล
จากขว้ั หนึ่งไปตามสายไฟฟา้ โดยไหลผ่านอุปกรณเ์ ครือ่ งใชไ้ ฟฟา้ เช่นหลอดไฟฟ้าและกลับมาครบวงจรทีอ่ กี ขั้ว
หนึง่ ของแบตเตอร่ี เราสามารถหยุดการไหลของกระแสไฟฟา้ ได้ โดยการทาใหว้ งจรไฟฟ้าขาด เชน่ การใสส่ วติ ซ์
เพ่ือเปิด-ปิดวงจรหรอื โดยการใส่ฉนวนไฟฟา้ ท่มี ีค่าความตา้ นทานสงู เพ่ือหยุดการไหล ของกระแสไฟฟ้า จาก
หลกั การนจ้ี ะนาไปสูแ่ นวทางการป้องกนั อนั ตรายจากไฟฟ้าได้
กฎระเบียบและขอ้ งบังคับดา้ นชวี อนามยั และปลอดภยั (คู่มือความปลอดภยั บริษัท เคเอส เพาเวอร์ แพลนท์
จากดั )
ข้อหา้ มและกฎระเบยี บท่ีต้องปฏบิ ัติ

1. ห้ามสูบบุหร่ใี นท่ที างาน ให้สูบในท่ีๆ จัดไว้ให้เท่านน้ั
2. ห้ามดื่มสุรา ยาเสพติดและเลน่ พนันทุกชนิดภายในหนว่ ยงาน
3. หา้ มพกพาอาวธุ หรอื สารเคมที ่ไี ม่เกยี่ วข้องกับงานเข้ามาภายในหน่วยงาน
4. หา้ มก่อเหตุทะเลาะวิวาทภายในหน่วยงานไมว่ ่ากรณีใดๆ ทั้งสน้ิ
5. ห้ามเทสารเคมีทกุ ชนดิ ทก่ี ่อให้เกดิ อนั ตรายลงในท่อระบายน้าภายในหนว่ ยงานเดด็ ขาด
6. ห้ามพนักงานเข้าพนื้ ท่กี ่อสร้างโดยไมส่ วมหมวกนิรภยั ,รองเทา้ หุม้ ส้น และแตง่ กายไมเ่ รยี บรอ้ ย
7. หา้ มบคุ ลภายนอกที่ไมเ่ กีย่ วขอ้ งเขา้ มาภายในบรเิ วณพ้ืนท่ปี ฏิบัตงิ าน
ขอ้ บังคบั ด้านความปลอดภัยในการทางาน
1. สวมหมวกนิรภัยที่ได้มาตรฐานพร้อมด้วยสายรัดคาง และสวมรองเท้าหุ้มส้นตลอดเวลาท่ีอยู่ใน

หน่วยงาน
2. แต่งกายใหส้ ภุ าพเรียบรอ้ ย
3. พนักงานที่เข้ามาทางานทุกคนตอ้ งได้รบั การอบรมจากผู้รับผิดชอบด้านความปลอดภยั ของบริษัท ก่อน

จึงจะสามารถปฏิบตั ิงานได้

32025301 การควบคมุ ไฟฟา้ และนวิ แมติก

4. ทางานบนทสี่ ูงเกิน 2 เมตร ข้นึ ไปจะต้องสวมใส่เขม็ ขัดนิรภยั ตลอดเวลาในการทางาน
5. งานเช่อื มจะต้องสวมใสอ่ ปุ กรณป์ อ้ งกนั ในการทางานทกุ คร้ัง เชน่ แว่นตา ถุงมอื ทีเ่ หมาะสมกับงาน
6. อุปกรณไ์ ฟฟ้าทุกชนดิ ตอ้ งเป็นปลกั๊ กนั นา้ เครือ่ งมือและอุปกรณ์ทกุ ชนิดต้องเชค็ ใหอ้ ยูใ่ นสภาพทต่ี ้องใช้

งานอยู่เสมอ
7. ลูกจ้างทกุ คนตอ้ งทราบถงึ สถานที่เก็บอุปกรณค์ วามปลอดภยั และการใช้งานอปุ กรณ์นน้ั จรงิ ๆ
8. ใส่เคร่ืองป้องกันหู เม่ือทางานประเภททีม่ ีเสียงดงั เกินกว่า 90 dB ตาแหน่งทางานที่ห่างจากจุดกาเนิด

เสยี ง 1 เมตร
9. การทางานทเี่ ก่ยี วกับสารเคมี สารระเหย ฝุน่ ละออง ตอ้ งมที คี่ ลอบจมกู เพ่ือปอ้ งกนั ฝนุ่ และสารเคมี
10. ทาเขตแบ่งแนวพ้นื ที่ทางานอยา่ งชัดเจน
11. ตอ้ งปฏบิ ัติงานอยา่ งระมัดระวัง
12. เมอื่ เกิดอบุ ัตเิ หตใุ ดๆ ใหร้ บี แจง้ หวั หน้างานหรือหวั หน้างานโดยดว่ น
13. หา้ มหยอกล้อกันในระหวา่ งเวลาทางาน
14. หลังเลิกงานต้องทาความสะอาดพื้นที่ๆ ตนเองทางานใหเ้ รียบรอ้ ย

32025301 การควบคมุ ไฟฟ้าและนิวแมติก

วิธกี ำรสอน ใบบันทึกกำรสอน
และ
กจิ กรรม • ผู้สอนแนะนาตวั บอกเกณฑก์ ารประเมินผลการเรียน
• ใหน้ ักศึกษาแนะนาตัว บอกเปา้ หมายชวี ิตของตนเอง
ส่ือกำรสอน • บรรยายสรปุ เนื้อหาหน่วยเรยี นประกอบส่อื PowerPoint
• นักศกึ ษาซักถามและสรปุ บทเรียนร่วมกัน
งำนที่ • ปฏิบัติทกั ษะเดินสาย 1
มอบหมำย เอกสารประกอบการสอน
หนว่ ยเรยี นที่ 1 หนา้ 1-1 ถงึ 1-23
กำรวดั ผล
หมายเหตุ : วสั ดโุ สตทัศน์PowerPoint : ส่ือหน่วยเรยี นที่ 1
ส่อื ประกอบการสอน ภาพเคลื่อนไหว
1. ทาแบบฝกึ หดั ทา้ ยหน่วยเรยี น
2. ค้นคว้าเพมิ่ เตมิ จากเอกสารอา้ งอิง

1. สังเกตจากพฤติกรรมและความสนใจในช้ันเรียน
2. ถามตอบระหว่างเรียน
3. แบบฝกึ หัดที่มอบหมายในแตล่ ะครง้ั

สัปดำหท์ ่ี 2

หลกั การทางานของอปุ กรณ์ควบคมุ

ชื่อบทเรียน 2.1 หลักการทางานของอุปกรณ์
จุดประสงค์กำรสอน 2.1.1 การทางานของอปุ กรณ์เตอื นภัย
2.1.2 การทางานของอุปกรณ์สง่ั งานการควบคุม
2.1.3 การทางานของอุปกรณป์ อ้ งกัน

2.2 แบบในการควบคมุ มอเตอร์
2.2.1 แบบงานจรงิ
2.2.2 แบบแสดงการทางาน
2.2.3 แบบวงจรสายเด่ยี ว
2.2.4 แบบวงจรเดินสายตดิ ตัง้

2.1 เขา้ ใจหลกั การทางานของอปุ กรณ์
2.1.1 อธบิ ายการทางานของอุปกรณ์เตอื นภยั
2.1.2 อธิบายการทางานของอุปกรณส์ ัง่ งานการควบคุม
2.1.3 อธิบายการทางานของอปุ กรณ์ปอ้ งกนั

2.2 ร้แู บบในการควบคุมมอเตอร์
2.2.1 บอกแบบงานจริง
2.2.2 บอกแบบแสดงการทางาน
2.2.3 บอกแบบวงจรสายเดี่ยว
2.2.4 บอกแบบวงจรเดนิ สายตดิ ตั้ง

32025301 การควบคมุ ไฟฟ้าและนิวแมตกิ

หน่วยท่ี 2

หลกั กำรทำงำนของอปุ กรณ์ควบคุม

บทนำ
การทางานของอปุ กรณค์ วบคุมนน้ั ผเู้ รยี นตอ้ งรหู้ ลกั การทางานของอปุ กรณต์ ่างๆ เพอ่ื ใช้ประกอบกับ

การควบคมุ การทางานของมอเตอร์ เพือ่ สง่ั การทางานใหเ้ ปน็ ไปตามเงอื่ นไขของผู้กาหนด ดงั นน้ั จงึ มีความ
จาเป็นท่ตี ้องรูจ้ กั กบั อปุ กรณต์ า่ งๆการต่อใชง้ านเพ่อื ความถูกต้องของการใชง้ าน

2.1 หลกั กำรทำงำนของอปุ กรณ์
2.1.1 กำรทำงำนของอปุ กรณ์เตือนภัย
1. หลอดสัญญำณ (Pilot Lamp or Signal Lamp) หลอดสัญญาณจะใช้ต่อร่วมกับวงจรควบคุม

สาหรบั แสดงผลการทางานแต่ละขัน้ ขอนของวงจร เช่นมอเตอรก์ าลังทางาน หรอื เกดิ สภาวะโอเวอร์โหลด โดย
หลอดสัญญาณจะมีหลายสี เช่น (ไวพจน์ ศรีธญั .การควบคมุ เครือ่ งกลไฟฟา้ .2552)

- สเี ขียว ใช้สาหรบั การทางานสภาวะปกติ นอกจากนยี้ ังใชแ้ สดงการสิ้นสุดของวัฏจกั รของงาน และ
เครื่องจกั รพรอ้ มจะเร่มิ สตารท์ ใหมไ่ ด้อกี

- สแี ดง ใชส้ าหรับแสดงสภาวะไมป่ กติ เชน่ เกดิ สภาวะโอเวอร์โหลดทาให้เครอ่ื งจักรหยุดทางาน
- สีเหลืองหรือสีส้ม ใช้แสดงการเตือนภัย หรือเตือนให้ระวัง เช่น เมื่ออุณหภูมิ หรือกระแสถึง
ขดี จากดั
- สขี าว แสดงวา่ วงจรมีแรงดนั ปกติ เคร่ืองจักรกาลังทางาน หรอื โปรแกรมปกติกาลังทางานอยู่
- สนี า้ เงิน ใช้สาหรบั การทางานพเิ ศษ
- ไฟกะพรบิ ใช้ไดก้ ับงานทกุ ชนิดด้วยสที สี่ อดคลอ้ งกนั

พิ กั ด แ ร งดั น ไฟ ฟ้ าข อ งห ล อ ด จ ะ มี ห ล าย ร ะ ดั บ ขึ้ น อ ยู่ กั บ ก าร น าม า ใช้ งาน เช่ น
6V,12V,24V,48V,110V และ 220V เป็นตน้

รปู ท่ี 2.1 ก. หลอดสญั ญาณ ข. สัญลักษณ์

บันทึกเมอ่ื วันท่ี(1/08/59)

2. ออดไฟฟ้ำ ใช้ในวงจรควบคุม เม่ือมอเตอร์เกิดการทางานผิดปกติโอเวอร์โหลดจะทริปทาให้

ไซเรนหรือออดทางานใช้เป็นสัญญาณเตอื นภัย

32025301 การควบคุมไฟฟ้าและนวิ แมติก

รูปท่ี 2.2 ก.ออดไฟฟ้า ข. สญั ลักษณ์

ท่มี า : http://www.ajk-digitalnetwork.com/timer.html 1/08/59
2.1.2 กำรทำงำนของอุปกรณ์สง่ั งำนกำรควบคมุ

1. สวติ ซค์ วำมดัน (Pressure Switch)

P

รปู ที่ 2.3 ก.สวิตช์ความดัน ข. สัญลักษณ์

ท่ีมา : http://www.sbs-plus.com/images/content/original-1372487817252.png 1/08/59

สวิตซ์ความดัน (Pressure Switch) จะใช้ในงานท่ีต้องการควบคุมความดัน ตามต้องการเช่น

อุปกรณ์ทที่ างานดว้ ยลมหรอื นา้ มนั ไดแ้ ก่ เครือ่ งมืองานช่างเช่อื ม เครอ่ื งมอื งานกล ระบบการหล่อลน่ื ทใ่ี ชค้ วาม
ดนั สงู และมอเตอร์ ขบั ป๊ัมนา้ การทางานของสวติ ชค์ วามดันจะใช้หลักการของไดอะเฟรมควบคมุ การทางานของ
สวติ ชเ์ ช่นถ้ามีความดันสูงเกนิ กว่าท่ตี ง้ั ไวส้ วิตช์จะตัดวงจรหรอื ถา้ ความดนั ตา่ สวติ ซ์ ก็จะต่อวงจร

2. ลมิ ิตสวิตช์ (Limit switch)

LM

รปู ท่ี 2.4 ก.ลมิ ิตสวติ ช์ ข.สัญลักษณ์

บนั ทกึ ภาพเม่อื วันท่ี(1/08/59)

ลิมิตสวติ ช์เป็นสวิตช์ท่ีจากัดระยะทาง การทางานอาศัยแรงกดภายนอกมากระทาเช่น วางของ

ทับท่ีปุ่มกดหรือลูกเบ้ียวมาชนท่ีปุ่มกดและสามารถมคี อนแทคได้หลายอันมีคอนแทคปกตปิ ิดและปกติเปิดมี

โครงสรา้ งคล้ายสวิตช์ ปุ่มกด

32025301 การควบคุมไฟฟ้าและนวิ แมติก

3. สวิตช์ปุ่มกด (Push Button Switch) เป็นอุปกรณ์ท่ีใช้วงจรควบคุมเพื่อกดให้วงจรทางาน
เรียกว่าปุ่มสตาร์ท (Start) หรืออีกลักษณะหน่ึงกดเพ่ือให้มอเตอร์หยุดทางาน เรียกว่า ปุ่มสต๊อป (Stop)

(ไวพจน์ ศรีธัญ.การควบคมุ เครื่องกลไฟฟา้ .2552)

รูปท่ี 2.5 ก.สวติ ชป์ ุม่ กด ข. สญั ลกั ษณ์
บันทกึ ภาพเม่อื วนั ที(่ 1/08/59)

ใช้ในงานเริ่มเดิน (Start) และหยุดหมุน (Stop) สวิตช์สีเขียวใช้ในการสตารท์ หน้าสัมผัส เป็น
ชนดิ ปกติเปดิ (Normally Open) หรอื ทเ่ี รียกวา่ เอ็น โอ (N.O.) สวิตช์สีแดงใช้ในการหยดุ การทางาน (Stop)
หนา้ สมั ผสั เปน็ ชนดิ ปกติปดิ (Normally Close) หรือทเ่ี รยี กวา่ เอน็ ซี ( N.C.)

4. ดรัมสวิตช์ (Drum Switch) เรียกอีกอีกอย่างว่า สวิตช์โยก โครงสร้างภายในจะประกอบด้วย
หนา้ คอนแทคตดิ ตง้ั อยู่บนแกนฉนวน เม่อื แกนถูกหมุนจะทาใหห้ น้าคอนแทคเปลย่ี นไปสว่ นใหญจ่ ะใชเ้ ปน็ สวติ ช์
กลับทางหมนุ หรือควบคุมการเริ่มเดินมอเตอร์ ท้งั มอเตอร์กระแสตรงและกระแสสลับ

III

รปู ท่ี 2.6 ก. ดรัมสวิตช์ ข.สญั ลกั ษณ์
บันทึกภาพเมื่อวันท่ี(1/08/59)

5. รีเลย์ตั้งเวลำ (timer relay) เป็นอุปกรณ์สวิตซ์ที่สามารถใช้ต้ังเวลาควบคุมการทางานของ
สวติ ซใ์ ห้ปิดหรอื เปิดได้ตามทตี่ ้องการ รีเลย์ตงั้ เวลามีอยู่หลายชนิด เช่น รีเลย์ตั้งเวลาด้วยของเหลวหรือน้ามัน

รเี ลย์ตง้ั เวลาด้วยลมอดั รเี ลย์เวลาดว้ ยซิงโครนัสมอเตอร์ และรีเลยต์ งั้ เวลาด้วยอิเล็กทรอนิกส์

32025301 การควบคมุ ไฟฟา้ และนวิ แมติก

รูปท่ี 2.7 ก. รเี ลย์ตัง้ เวลา ข.สญั ลกั ษณ์
บนั ทึกภาพเมื่อวันที่(1/08/59)

6. สวติ ช์ลูกลอย (Float Switch) สวิตชล์ ูกลอย คอื อุปกรณ์ทใ่ี ชค้ วบคุมการทางานของมอเตอร์ปัม๊ น้า

ให้เป็นไปโดยอัตโนมัติ โดยอาศัยการเพิ่ม หรือลด ของระดับน้าในแท้งก์น้า กล่าวคือ เมื่อระดับน้าต่ามาก
จะต่อวงจรใหม้ อเตอรป์ ๊ัมน้าทางานสูบน้าขึ้นไปเก็บไว้ แต่ถา้ หากน้าเต็มแท้งกแ์ ลว้ คอนแทคของสวติ ช์ลูกลอย
จะตดั วงจรมอเตอร์ ไม่ใหท้ างาน

รปู ที่ 2.8 แสดงการทางานของสวติ ชล์ ูกลอย
http://www.thaiwatersystem.com/product/217 1/08/59 1/08/59

2.1.3 อปุ กรณ์ปอ้ งกันมอเตอร์
1. โอเวอรโ์ หลดรีเลย์ (Over Load Relay)

รูปท่ี 2.9 ก.โอเวอรโ์ หลดรเี ลย์ ข. สญั ลกั ษณ์
บันทึกภาพเมอื่ วันท(ี่ 1/08/59) 32025301 การควบคมุ ไฟฟ้าและนิวแมติก

โอเวอร์โหลดรีเลย์ (Over Load Relay) เป็นอุปกรณ์ป้องกันมอเตอร์ทางานเกินกาลัง หรือปอ้ งกัน
มอเตอร์ ไม่ให้เกิดการเสียหาย เม่ือมีกระแสไหลเกินพิกัดในมอเตอรจ์ ากโครงสร้างภายในของโอเวอร์โหลด

ท่ปี ระกอบไปด้วยเหลก็ มีขดลวดตวั นาพนั รอบอยู่ เมอ่ื มอเตอร์ทางานหนักเกินกาลัง จะทาให้มกี ระแสไหลผ่าน
ตัวนาสูงเกินพิกัดของโอเวอร์โหลดที่ตั้งไว้ ทาให้เกิดความร้อนท่ีไบเมทัล ทาให้ไบเมทัลงอตัวไปดันก้านดัน
หน้าสัมผสั ทาให้หน้าผัสที่ปิดจะเปล่ียนเป็นเปิด และหน้าสัมผัสเปิด จะเปล่ียนเป็นปิด และเมือ่ กดปุ่มรีเซ็ท

หน้าสมั ผสั จะกลับคืนสภาพเดิม แตใ่ นกรณที ีโ่ อเวอรโ์ หลดเป็นแบบไมม่ ปี ุ่มรเี ซท็ จะตอ้ งรอให้ไบเมทลั เย็นตวั ลง
หนา้ สัมผสั ถึงจะกลับคืนสสู่ ภาพเดมิ

2. เซอร์กิตเบรกเกอร์

เซอร์กิตเบรกเกอร(์ Circuit Breaker) คอื อุปกรณ์ท่ที างานเปดิ และปิดวงจรไฟฟา้ แบบไม่อัตโนมตั ิ
แต่สามารถเปดิ วงจรไดอ้ ตั โนมตั ิ ถ้ามีกระแสไหลผา่ นเกนิ กวา่ คา่ ทกี่ าหนดโดยปอ้ งกันไมใ่ หอ้ ุปกรณ์ที่ต่อกบั เซอร์
กิตเบรกเกอรน์ นั้ เกดิ ความเสียหายข้นึ จากกระแสท่เี กนิ กาหนด

รปู ท่ี 2.10 ก.เซอรก์ ติ เบรกเกอร์ ข.สญั ลกั ษณ์

บนั ทึกภาพเม่ือวนั ท่ี(1/08/59)

3. ฟวิ ส์ เป็นอุปกรณ์ป้องกนั โดยทาหนา้ ทเี่ หมือนตัวนาตวั หนึ่งในวงจรไฟฟา้ เมอื่ เกดิ กระแสเกนิ พกิ ัด

(Overload Current) หรือกระแสลัดวงจร (Short Circuit Current) มีค่ามากกว่ากระแสท่ีฟิวส์ทนได้

(Fuse’s Current Rating) จะทาให้ฟวิ สข์ าด (Blown Fuse) ทาให้วงจรขาด และกระแสไมไ่ หลอกี ต่อไป เพ่ือ

ปอ้ งกันความเสียหายท่จี ะเกดิ ขนึ้ กับอุปกรณแ์ ละผ้ใู ช้อุปกรณ์

รูปท่ี 2.11 ก.ฟวิ ส์ ข.สญั ลกั ษณ์
บันทกึ ภาพเมอื่ วนั ท(่ี 1/08/59)

32025301 การควบคมุ ไฟฟา้ และนวิ แมติก

4. แมกเนติกคอนแทกเตอร์ (Magnetic Contactor) (ไวพจน์ ศรีธญั .การควบคุมเคร่ืองกลไฟฟ้า.
2552)

ใช้อกั ษรกากับคือ K เช่น K1,K2 โดยทวั่ ไปมกี ารเรียกหลายช่ือ เช่น อาจเรียกวา่ แมกเนติก หรือคอนแทคเตอร์
หรือสวิตช์แม่เหล็กทาหน้าท่ีเป็นสวิตช์ ตัด-ต่อวงจรมอเตอร์ โดยอาศยั อานาจแมเ่ หล็ก การใช้แมกเนติกคอน
แทคเตอร์แทนการสับสวิตชด์ ว้ ยมือ มีขอ้ ดีคอื

- ใช้เป็นสวติ ช์ตัด-ตอ่ วงจรท่มี ีกระแสไฟฟา้ จานวนมากไดด้ ีกวา่ การใชม้ ือ
- ปลอดภยั ตอ่ ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน
- ใช้ร่วมกบั อปุ กรณอ์ นื่ ได้ เน่อื งจากมคี อนแทคช่วย (Auxiliary Contact)

สว่ นประกอบของแมกเนติกคอนแทคเตอร์
แบง่ ออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ

1. ส่วนท่ีอยู่กับที่ ได้แก่ ตัวโครงภายนอก ขดลวด (Coil) หลักต่อสาย (Terminal) แกนหน้าสัมผัสที่
เคลื่อนที่ (Stationary Contact) เป็นตน้

2. ส่วนทีเ่ คลื่อนที่ ได้แก่ แกนหน้าสัมผสั เคล่ือนท่ีได้ (Moving contact) สปรงิ ดึงกลบั สปริงกันชน

รปู ท่ี 2.12 ก. แมกเนตกิ คอนแทคเตอร์ ข.สัญลกั ษณ์
บันทึกภาพเม่อื วันที่(1/08/59)

หน้าสมั ผัสหรือหนา้ คอนแทคของแมกเนติกคอนแทคเตอร์ จะมีจานวน 2 ชุด
ก. คอนแทคเมน (Main Contact) จะออกแบบให้มีขนาดใหญ่ทนกระแสได้มากใช้งานต่อเข้ากับ

วงจรกาลงั หรอื ต่อเขา้ กับมอเตอร์โดยตรง คอนแทคเมนโดยปกตแิ ลว้ จะเปน็ คอนแทคปกตเิ ปิด
จานวน 3 คอนแทค ดา้ นไฟเขา้ จะใชข้ ว้ั 1, 3, 5 ส่วนด้านไฟออกจะใช้ขวั้ 2, 4, 6
ข. คอนแทคชว่ ย (Auxiliary Contact) เป็นคอนแทคขนาดเล็ก ติดต้ังไวด้ ้านข้างของแมกเนติกคอน

แทคเตอร์ ใชต้ อ่ กับวงจรควบคุม คอนแทคชว่ ยจะมที ั้งคอนแทคปกตเิ ปิด และคอนแทคปกติปดิ

32025301 การควบคุมไฟฟ้าและนิวแมติก

หลักกำรทำงำนของแมกเนติกคอนแทกเตอร์ (Magnetic Contactor)
เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านไปยังขดลวดสนามแม่เหล็กท่ีอยู่ขากลางของแกนเหล็กขดลวดจะสร้าง

สนามแม่เหล็กที่แรงสนามแม่เหล็กชนะแรงสปริงดึงให้แกนเหล็กชุดที่เคล่ือนท่ีเคลื่อนท่ีลงมาในสภาวะนี้
(ON)คอนแทคท้งั สองชดุ จะเปลยี่ นสภาวะการทางานคือคอนแทคปกตปิ ดิ จะเปิดวงจรจุดสมั ผัสออก และคอน
แทคปกตเิ ปิดจะตอ่ วงจรของจุดสัมผัส เมอื่ ไมม่ กี ระแสไฟฟา้ ไหลผ่านเขา้ ไปยังขดลวด สนามแมเ่ หล็กคอนแทค
ทั้งสองชดุ จะกลับไปส่สู ภาวะเดิม

5. รเี ลยช์ ว่ ย (Auxiliary Relay) (ไวพจน์ ศรีธัญ.การควบคุมเครอ่ื งกลไฟฟ้า.2552)
เปน็ สวิตช์แม่เหล็กเช่นเดียวกับแมกเนตกิ คอนแทคเตอร์ท่วั ๆไป ต่างกนั ที่คอนแทคของรเี ลยช์ ่วยทนกระแสได้
ตา่ กว่า บางทีเรียกวา่ รีเลยค์ วบคุม ส่วนใหญจ่ ะใช้ในวงจรควบคุมเน่ืองจากมีจานวนคอนแทคคอ่ นข้างมาก ทั้ง
แบบ NO และ NC มีอกั ษรกากับคือ ตวั A เช่น K2A, K4A เป็นตน้

รูปที่ 2.13 ก. รเี ลย์ชว่ ย ข.สัญลักษณ์

ท่ีมา : http://www.engineerfriend.com/wp-content/uploads/2012/10/42-43-01.jpg

http://motor.lpc.rmutl.ac.th/module2/symbole.html 1/08/59

6. หม้อแปลงกระแสไฟฟำ้ (Current Transformer) (ไวพจน์ ศรีธัญ.การควบคุมเครือ่ งกลไฟฟ้า.
2552)

นิยมเรียกส้ันๆ ว่า ซีที (CT) เป็นอุปกรณ์ท่ีใช้ประกอบการวัดค่ากระแสไฟฟ้าที่มีค่าสูงมากๆ

วธิ กี าร คือ ต่อขดลวดปฐมภูมอิ นุกรมกับโหลด (Load) และดา้ นทตุ ยิ ภูมิต่อเข้ากับแอมมิเตอร์ แต่ต้องเลือกใช้
แอมมิเตอร์ และซที ใี ห้สัมพันธ์กนั ด้วย เช่น ใชซ้ ีทขี นาด 100/5 ก็ควรเลือกใชแ้ อมมิเตอร์ขนาดเดียวกันดว้ ย

รูปที่ 2.14 ก.หม้อแปลงกระแสไฟฟ้า ข. สัญลกั ษณ์

ที่มา : http://www.praguynakorn.com/picture/product/se01/current-transformers-msq40-

salser.jpg 1/08/59

32025301 การควบคมุ ไฟฟ้าและนิวแมตกิ

7. ซเี ลค็ เตอรส์ วิตช์ (Selector Switch) เป็นอปุ กรณท์ ีใ่ ชต้ ัดต่อวงจร หรือเปล่ียนเส้นทางเดินของ
กระแสไฟฟา้ สว่ นใหญจ่ ะใชใ้ นงานทตี่ อ้ งควบคุมการทางานด้วยมอื

รปู ที่ 2.15 ซีเลค็ เตอรส์ วิตช์
บนั ทึกภาพเม่อื วันที(่ 1/08/59)
8. ซีเล็คเตอร์โวลท์ (Selector Volt) เป็นอุปกรณ์ท่ีใช้ตรวจสอบความสมดลุ ของแรงดันเพ่ือดูว่า
แรงดันระหวา่ งเฟส หรอื ระหวา่ งเฟสกับนวิ ตรอน มคี วามสมดุลกันหรือไม่ อยา่ งไร

รปู ท่ี 2.16 ซีเลค็ เตอร์โวลท์
ทมี่ า : http://www.numsinonline.com/uploadpics/Product_images/281_-1336978857.jpg

1/08/59
9. ซีเล็คเตอร์แอมป์ (Selector Amp) เปน็ อปุ กรณ์ที่ใชต้ รวจสอบกระแสไฟฟ้าในแต่ละเฟส

รปู ท่ี 2.17 ซเี ลค็ เตอร์แอมป์
ที่มา : http://www.praguynakorn.com/picture/product/se01/27ammeter-switch-tp16-61325-

salser-45.jpg 1/08/59

32025301 การควบคมุ ไฟฟ้าและนิวแมตกิ

2.2 แบบในกำรควบคุมมอเตอร์ (http://motor.lpc.rmutl.ac.th/module3/module3left.html)
กำรเขยี นแบบในงำนควบคมุ มอเตอร์

แผนผัง (Diagram) หรือการเขยี นแบบ (Drawing) สาหรับงานควบคุมมอเตอร์ หมายถึง การวางแผน
หรอื การออกแบบ วงจรในการควบคุมมอเตอร์ให้ทางานไดต้ ามความต้องการโดยวิธกี ารเขยี นแผนผัง หรอื ผัง
งาน (Diagram) หรือการเขียนแบบ ตามมาตรฐานแบบใดแบบหนึ่ง อย่างไรก็ตามรูปแบบมาตรฐานของการ
เขียนแบบมีหลายรปู แบบหลายมาตรฐาน เช่น มาตรฐานของประเทศสหรัฐอเมริกา และแคนาดา มาตรฐาน
ของประเทศเยอรมนั เป็นตน้ ในบางครัง้ อาจจะพบวา่ การเขียนแบบอาจจะรวมเอารปู แบบการเขยี นที่แตกตา่ ง
กนั หลายรูปแบบรวมเขา้ ไวด้ ว้ ยกัน แต่สง่ิ ที่สาคัญกค็ ือการเขยี นแบบสามารถแปลความหมายให้เปน็ ทเี่ ข้าใจได้
ถกู ตอ้ ง ประเภทของแบบท่ใี ชเ้ ขยี นในงานควบคุมมอเตอรท์ นี่ ยิ มกันทัว่ ไปแบง่ ออกไดเ้ ป็น 4 แบบคอื

2.2.1 แบบงำนจรงิ (Working Diagram)
การเขียนแบบลักษณะนี้จะแสดงการทางานทั้งหมดของวงจรทั้งวงจรกาลัง และวงจรควบคุม
โดยการเขียนรวมกันอยู่ในวงจรเดียวกัน เพ่ือแสดงการทางานและความสัมพันธ์ระหว่างวงจร
ท้ังสอง การเขียนส่วนประกอบของอุปกรณ์ใด ๆ จะเขียนเป็ นช้ินเดียวไม่แยกออกจากกัน และสาย
ต่าง ๆ จะตอ่ กนั ท่จี ุดเขา้ สายของอปุ กรณ์เท่าน้ัน ซ่ึงเหมือนกบั ลกั ษณะของงานจรงิ ๆ

รปู ท่ี 2.18 แบบงานจรงิ
ท่ีมา : นิพนธ์ เรอื งวริ ยิ ะนันท.์ การควบคมุ ไฟฟา้
2.2.2 แบบแสดงกำรทำงำน (Schematic Diagram)
แบบแผนผงั ออกแบบการทางานแบ่งตามลักษณะวงจร ออกไดเ้ ปน็ 2 แบบ คอื วงจรกาลงั
(Power circuit) และวงจรควบคุม (Control circuit)

32025301 การควบคมุ ไฟฟ้าและนวิ แมติก

1) วงจรกาลงั (Power circuit) เป็นวงจรท่ีนาเอาแตเ่ ฉพาะสว่ นของวงจรกาลังท่จี ่ายกาลังไฟฟ้า
เขา้ สูม่ อเตอรม์ าเขียนเท่านน้ั โดยละเวน้ การเขียนวงจรควบคุม โดยปกตแิ ลว้ จะมีแต่เพยี งฟวิ สก์ าลัง (F1), คอน
แทกเตอร์ (K1) และหน้าสมั ผัสหลัก (Main contact), โอเวอร์โหลดรเี ลย์ (ตัดส่วนทเี่ ปน็ หน้าสัมผัสออก) และ
มอเตอร์

2) วงจรควบคมุ (Control circuit) เป็นวงจรแสดงลาดับการทางานของอุปกรณ์ โดยเริ่มต้ังแต่
สายเมนจ่ายกาลังไฟฟ้า เข้าสฟู่ ิวส์ หรือเซอร์กติ เบรกเกอร์, หนา้ สัมผสั ของโอเวอร์โหลด, สวิตชป์ ุ่มกดปกติปิด
(N.C.) หรือสวิตช์ปิด (OFF), สวิตช์ปุ่มกดปกติเปิด หรือสวิตช์เปิด (ON) และเร่ือยลงไปจนถึงขดลวด (coil)
ของคอนแทกเตอร์ และ เข้าสู่สายนิวทรัล วงจรทั้งหมดนี้ไล่เรียงลาดับกันต้ังแต่บนสุดจนถึงล่างสุด วงจร
Schematic Diagram นม้ี ีประโยชน์มากในการออกแบบการทางาน และตรวจสอบการทางานของวงจร

รปู ท่ี 2.19 แบบแสดงการทางาน
ท่ีมา : นิพนธ์ เรอื งวิริยะนันท์.การควบคมุ ไฟฟ้า
2.2.3 แบบวงจรสำยเดยี ว (One line Diagram)
เป็นวงจรแสดงการทางานของวงจรกาลังอีกแบบหนึ่ง แต่เขียนวงจรด้วยสายเส้นเดียว มี
จุดประสงค์เพ่ือบอกอุปกรณ์หลักที่ใช้ในวงจรกาลัง และบอกจานวนวงจรกาลัง หรือมอเตอร์ไฟฟ้าท่ีมีอยู่
ท้งั หมดในวงจรโดยละเวน้ การแสดงวงจรควบคมุ ผูท้ ีจ่ ะเขา้ ใจวงจรนีไ้ ด้ดตี ้องเปน็ ผู้ทมี่ ีความชานาญเท่านน้ั

32025301 การควบคุมไฟฟา้ และนวิ แมติก

รปู ที่ 2.20 แบบวงจรสายเดียว
ทีม่ า : นิพนธ์ เรอื งวิรยิ ะนันท.์ การควบคมุ ไฟฟ้า
2.2.4 แผนผังแบบวงจรเดินสำยตดิ ต้ัง (Constructional Wiring Diagram)
เป็นแผนผงั แบบวงจรแสดงการเดนิ สายไฟฟา้ ทง้ั วงจรควบคมุ และวงจรกาลงั แบบแผนของวงจรจะแสดง
การเดินสายระหว่างตตู้ ดิ ตง้ั อุปกรณ์ ไปยังมอเตอร์, แผงควบคุม และอปุ กรณ์อืน่ ๆ สายทตี่ อ่ เชอ่ื มโยงระหวา่ งตู้
และแผงอุปกรณ์อ่นื ๆ แสดงโดยใช้วงจรสายเดยี ว และมโี ค้ตกากับวา่ สายจดุ น้ันตอ่ ไปเขา้ กบั จุดใดของแผงน้ัน
ๆ เชน่ แผงตอ่ สาย (Terminal) X2 ที่จดุ 5 จะเดินไปต่อกบั แผงตอ่ สาย X3 จดุ ท่ี 1 เป็นต้น

รูปที่ 2.21 แผนผงั แบบวงจรเดินสายติดต้ัง
ที่มา : นิพนธ์ เรอื งวริ ยิ ะนนั ท์.การควบคุมไฟฟา้

32025301 การควบคุมไฟฟา้ และนิวแมตกิ

วธิ ีการสอน ใบบันทึกกำรสอน
และ
กจิ กรรม • บรรยายสรุปเนื้อหาหน่วยเรียนประกอบส่อื PowerPoint
• นักศึกษาซักถามและสรปุ บทเรยี นร่วมกนั
สือ่ การสอน • นกั ศึกษาปฏิบตั เิ ดนิ สาย 2
• สรุปการทางาน
งานที่ เอกสารประกอบการสอน
มอบหมาย หนว่ ยเรียนท่ี 2 หนา้ 2-1 ถงึ 2-12

การวดั ผล วัสดุโสตทัศน์ Power Point : สอื่ หน่วยเรียนท่ี 2
หมายเหตุ : สือ่ ประกอบการสอน ภาพเคล่อื นไหว สื่อการสอนการควบคุม
มอเตอร์ไฟฟา้
1. ทาแบบฝกึ หดั ทา้ ยหนว่ ยเรียน
2. ค้นควา้ เพมิ่ เติมจากเอกสารอ้างองิ

1. สังเกตจากพฤติกรรมและความสนใจในชัน้ เรยี น
2. ถามตอบระหว่างเรยี น
3. แบบฝึกหัดทมี่ อบหมายในแต่ละคร้งั

32025301 การควบคมุ ไฟฟา้ และนิวแมตกิ

สปั ดำห์ที่ 3

กำรควบคุมมอเตอร์

ชือ่ บทเรียน 3.1 ความหมายและประเภทการควบคุมมอเตอร์
3.1.1 ความหมายของการควบคมุ มอเตอร์
3.1.2 ประเภทของการควบคมุ มอเตอร์

3.2 การควบคุมมอเตอร์แบบตา่ งๆ
3.2.1 การสตารท์ มอเตอรโ์ ดยตรง

จดุ ประสงค์กำรสอน
3.1 เข้าใจความหมายและประเภทการควบคุมมอเตอร์
3.1.1 บอกความหมายของการควบคุมมอเตอร์
3.1.2 อธบิ ายประเภทของการควบคมุ มอเตอร์
3.2 ปฏิบตั ิการควบคุมมอเตอร์แบบตา่ งๆ
3.2.1 ปฏบิ ตั กิ ารสตาร์ทมอเตอร์โดยตรง

32025301 การควบคมุ ไฟฟา้ และนวิ แมตกิ

หน่วยท่ี 3

การควบคุมมอเตอร์

บทนำ
การควบคมุ การทางานของมอเตอรน์ กั ศกึ ษาตอ้ งรู้ความหมายของการควบคมุ ประเภทของการ

ควบคมุ การตอ่ ใชง้ านของมอเตอร์ รวมไปถึงการสตารท์ มอเตอร์โดยตรง เพ่ือจะทจี่ ะสง่ั ใหม้ อเตอร์ทางานตาม
เง่อื นไขตามผปู้ ฎิบัตงิ านเปน็ คนกาหนดแตล่ ะคร้ังไป

3.1 ควำมหมำยและประเภทกำรควบคมุ มอเตอร์
3.1.1 ควำมหมำยของกำรควบคมุ มอเตอร์
มอเตอร์ไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์ที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในโรงงานต่างเป็นอุปกรณ์ท่ีใช้ควบคุม

เครื่องจักรกลตา่ งๆในงานอุตสาหกรรมมอเตอรม์ หี ลายแบบหลายชนดิ ทใ่ี ช้ใหเ้ หมาะสมกับงาน ดงั นนั้ เราจงึ ตอ้ ง
ทราบถึงความหมายและชนิดของมอเตอร์ไฟฟ้า ตลอดคุณสมบัติการใช้งานของมอเตอร์แต่ละชนิด
เพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการใช้งานของมอเตอร์นั้นๆ และสามารถเลือกใช้งานให้เหมาะสมกับงาน
ออกแบบระบบประปาหมู่บ้านหรืองานอ่ืนที่เก่ียวข้องได้ ดงั นั้นเพื่อศึกษาและปฏบิ ัตเิ กี่ยวกับ ชนิดโครงสร้าง
สว่ นประกอบและหลักการทางานของมอเตอรก์ ระแสตรง มอเตอรก์ ระแสสลับ 1 เฟส และ 3 เฟส การเร่มิ เดิน
มอเตอร์ การกลับทางหมุน การต่อวงจรมอเตอร์ตา่ งๆ สญั ลักษณ์ที่ใช้ในงานควบคมุ การเลอื กขนาดสายไฟฟ้า
และป้องกันอุปกรณ์ควบคมุ มอเตอร์ไฟฟ้า การควบคุมมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรงและกระแสสลบั การตอ่ วงจร
ขดลวดสปลิตเฟสมอเตอร์และมอเตอร์ 3 เฟส ต่อสายวงจรการเร่ิมเดินและกลับทางหมุนมอเตอร์ไฟฟ้า
กระแสตรงและกระแสสลบั 1 เฟส และ 3เฟส

การควบคุมมอเตอร์ หมายถึง การควบคุมหรือสั่งงานให้มอเตอร์ทางานตามเงื่อนไขท่ีผู้ควบคุม
เป็นผู้กาหนด เช่น การเรมิ่ เดนิ มอเตอร์ การหยุด มอเตอร์ การกลบั ทางหมุนมอเตอร์ การควบคุมความเร็วรอบ
ของมอเตอร์ การควบคุมมอเตอรใ์ หท้ างานเรยี งตามลาดับ ด้วยความปลอดภัยในการปฏิบตั งิ าน

32025301 การควบคุมไฟฟา้ และนวิ แมตกิ

3.1.2 ประเภทของกำรควบคมุ มอเตอร์ (ไวพจน์ ศรีธญั .การควบคุมเครอ่ื งกลไฟฟ้า, 2552)
แบ่งตามลักษณะการสงั่ อปุ กรณ์ควบคมุ ใหม้ อเตอร์ทางานเปน็ 3 ประเภทคอื

1. กำรควบคุมด้วยมือ (Manual Control) หมายถึง ใช้คนหรือ โอเปอร์เรเตอร์ (Operator)
ทาหน้าที่ควบคุมโดยตรง เช่น ใช้วิธีการเสียบเข้าปล๊ัก ส่วนมากจะใช้กับมอเตอร์ท่ีมีขนาดเล็ก
ประเภทเครอื่ งใชไ้ ฟฟ้าภายในบ้านทัว่ ไป (ไวพจน์ ศรธี ัญ.การควบคมุ เคร่ืองกลไฟฟา้ , 2552)

การควบคุมด้วยมือ เป็นการสั่งงานให้อุปกรณ์ควบคุมทางานโดยใช้ผู้ปฏิบัติงานควบคุมให้ระบบ
กลไกทางกลทางานซ่ึงการส่ังงานให้ระบบกลไกทางานน้ีโดยส่วนมากจะใช้คนเป็นผู้สั่ง งานแทบทั้งสิ้น
ซ่ึงมอเตอร์จะควบคุมจากการสั่งงานด้วยมือโดยการควบคุมผ่านอุปกรณ์ต่างๆ เช่น ท็อกเกิ้ลสวิตซ์
(toggle switch) เซฟ ตี้ส วิตซ์(safety switch) ดรัมสวิตซ์(drum switch) ตัวควบ คุม แบ บ ห น้าจาน
(face plate control) เป็นต้น

Line

แผงจา่ ยไฟฟา้ รวม
Power Panel

อุปกรณ์ควบคมุ การทางานด้วยมือ
Manual Control

มอเตอร์
Motor

รปู ท่ี 3.1 แสดงการควบคุมด้วยมอื
ท่ีมา : http://www.research-
system.siam.edu/images/coop/DESIGN_AND_CONSTRUCTION_OF_AN_EXPERIMENT_SET_FOR_
THE_CONTROL_OF_THREE___PHASE_INDUCTION_MOTOR/ch2.pdf1/08/59

32025301 การควบคุมไฟฟ้าและนวิ แมติก

2. ก ำรควบคุ ม กึ่งอัต โนมั ติ (Semi-Automatic control) เป็ น ก ารน าเอาอุป ก รณ์ ป ระก อ บ
เข้ามาช่วย ในการควบคุมได้แก่ แมกเนติกคอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) และสวิตช์ปุ่มกด
(Push Button Switch) เป็นต้น (ไวพจน์ ศรธี ัญ.การควบคุมเครื่องกลไฟฟา้ , 2552)

โดยการใช้สวิตซ์ปุ่มกด(push button) ท่ีสามารถควบคุมระยะไกลได้ ซึ่งมักจะต่อร่วมกับสวิตซ์
แมเ่ หล็ก ทใี่ ช้จ่ายกระแสจานวนมากๆให้กบั มอเตอรแ์ ทนสวติ ซธ์ รรมดาซ่งึ สวิตซ์แมเ่ หล็กนอ้ี าศยั ผลการทางาน
ของแม่เหล็กไฟฟ้า วงจรควบคุมมอเตอร์ กงึ่ อัตโนมตั ินี้ต้องอาศัยคนคอยกดสวิตซ์จ่ายไฟให้กบั สวติ ซแ์ ม่เหล็ก
สวิตซ์แม่เหล็กจะดูดให้หน้าสัมผัสมาแตะกันและจ่ายไฟให้กับมอเตอร์ และถ้าต้องการหยุดมอเตอร์
กจ็ ะตอ้ งอาศัยคนคอยกดสวติ ซ์ปมุ่ กดอีกเช่นเดิม จึงเรยี กการควบคุมแบบนี้วา่ การควบคุมกึ่งอัตโนมตั ิ

รูปท่ี 3.2 แสดงการควบคมุ กงึ่ อัตโนมตั ิ
ทม่ี า : http://4.bp.blogspot.com/-
rSJOTQ1N1xc/UJtvXmV0K2I/AAAAAAAAAHg/_cnFPSPiuJs/s1600/assem5.jpg1/08/59
3. กำรควบคุมอัตโนมัติ (Automatic control) การควบคุมแบบน้ีจะอาศัยอุปกรณ์ชี้นา
คอยตรวจจับการเปลยี่ นแปลงของส่ิงต่างๆ เชน่ สวติ ซ์-ลกู ลอยทาหน้าที่ตรวจจบั วดั ระดับน้าในถัง คอยส่ังให้
มอเตอร์ปั๊มทางานเมื่อน้าหมดถัง และสั่งให้มอเตอร์หยุดเม่ือน้าเต็มถัง, สวิตซ์ความดัน ทาหน้าที่ตรวจจับ
ความดนั ลมเพื่อส่ังให้ปั๊มลมทางาน, เทอร์โมสตัท ทาหน้าที่ตัดต่อวงจรไฟฟ้าตามอุณหภมู ิสูงหรือต่า เป็นต้น
วงจรการควบคุมมอเตอร์แบบนีเ้ พียงแตใ่ ช้คนกดปมุ่ เรมิ่ เดินมอเตอรใ์ นครั้งแรกเทา่ นัน้ ต่อไปวงจรกท็ างานเอง
โดยอตั โนมตั ติ ลอดเวลา

32025301 การควบคุมไฟฟา้ และนิวแมติก

ภาพจาลองการทางานของการใช้สวิตซล์ กู ลอยควบคมุ การสบู น้าเข้าถัง

อตั โนมตั ิ
รปู ที่ 3.3 แสดงการควบคมุ อัตโนมตั ิ

ทม่ี า : http://f.ptcdn.info/285/010/000/1380389565-20130928-o.jpg1/08/59
3.2 กำรควบคุมมอเตอร์แบบต่ำงๆ

มอเตอร์ไฟฟ้าแบง่ ออกตามการใชข้ องกระแสไฟฟา้ ได้ 2 ชนิดดงั นี้
1.มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current Motor) หรือเรยี กว่าเอ.ซี มอเตอร์

(A.C. Motor)
2.มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสตรง (Direct Current Motor) หรือเรียกวา่ ด.ี ซี มอเตอร์ (D.C. Motor)

กำรต่อใช้งำนมอเตอร์ (อภิญโญ อนุ่ คาและชานาญ เนยี มกอ้ น.การควบคมุ ไฟฟา้ , 2554)
1. มอเตอร์แบบอนุกรม (Series Motor) คือมอเตอร์ท่ีต่อขดลวดสนามแม่เหล็กอนุกรม

กบั อาร์เมเจอร์ของมอเตอรช์ นิดน้ีว่าซีรีสฟิลด(์ Series Field) มคี ุณลักษณะที่ดีคือให้แรงบิดสูงนยิ มใช้เป็นต้น
กาลังของรถไฟฟ้ารถยกของเครนไฟฟ้าความเร็วรอบของมอเตอร์อนุกรมเม่ือไม่มีโหลดความเร็วจะสูงมาก
แต่ ถ้ ามี โห ล ด ม าต่ อ ความ เร็วก็จ ะ ล ดล งต า ม โห ล ด โห ล ด ม าก ห รื อท างาน ห นั กความ เร็วล ด ล งแ ต่ ขด ล วด
ข อ ง ม อ เ ต อ ร์ ไม่ เ ป็ น อั น ต ร าย จ าก คุ ณ ส ม บั ติ นี้ จึ ง นิ ย ม น า ม าใช้ กั บ เค ร่ื อ ง ใช้ ไฟ ฟ้ าใน บ้ าน ห ล าย อ ย่ า ง
เช่นเคร่ืองดูดฝุ่น เครื่องผสมอาหาร สวา่ นไฟฟ้า จกั รเย็บผ้า เคร่ืองเป่าผม มอเตอรก์ ระแสตรงแบบอนุกรม
ใช้งานหนักได้ดี เม่ือใช้งานหนักกระแสจะมากความเร็วรอบจะลดลงเม่ือไม่มีโหลดมาต่อความเร็วจะสูงมาก
อาจเกดิ อนั ตรายไดด้ งั นน้ั เมอื่ เริ่มสตาร์ทมอเตอร์แบบอนุกรมจงึ ตอ้ งมโี หลดมาต่ออยเู่ สมอ

32025301 การควบคมุ ไฟฟ้าและนิวแมติก

2. ม อ เต อ ร์ไฟ ฟ้ าก ร ะแ ส ต รงแ บ บ ขน าน (Shunt Motor) ห รือ เรีย ก ว่าช้ั น ท์ ม อ เต อ ร์
มอเตอร์แบบขนานนี้ขดลวดสนามแมเ่ หล็กจะต่อ (Field Coil) จะต่อขนานกับขดลวด ชดอาเมเจอร์มอเตอร์
แบบขนานน้ีมีคุณลักษณะมีความเร็วคงท่ีแรงบิดเริ่มหมุนต่า แต่ความเร็วรอบคงที่ช้ันท์มอเตอร์ส่วนมาก
เหมาะกบั งาน เช่น พดั ลมเพราะพดั ลมตอ้ งการความเรว็ คงทีแ่ ละต้องการเปลี่ยนความเรว็ ไดง้ า่ ย

3. มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบผสม (Compound Motor) หรือเรียกว่าคอมปาวด์มอเตอร์
มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบผสมนี้จะนาคุณลักษณะท่ีดีของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง แบบขนาน และ
แบบอนุกรมมารวมกัน มอเตอร์แบบผสม มีคุณลักษณะพิเศษคือมีแรงบิดสูง (High staring torque)
แต่ความเรว็ รอบคงที่แต่ยังไม่มีโหลดจนกระท่ังมีโหลดเต็มที่มอเตอร์แบบผสมมีวิธีการต่อขดลวดขนานหรือ
ขดลวดช้ันท์อยู่ 2 วธิ ี

วธิ ีท่ี 1ใชต้ ่อขดลวดแบบชั้นท์ขนานกับอาเมเจอร์เรียกวา่ ชอทชั้นท(์ Short Shunt Compound Motor)
วธิ ที ี่ 2 คือต่อขดลวด ขนานกบั ขดลวดอนุกรมและขดลวดอาเมเจอรเ์ รียกวา่ ลองช้ันท์คอมปาวดม์ อเตอร์
(Long shunt motor)
กำรตอ่ มอเตอรไ์ ฟฟำ้ กระแสสลับ 1 เฟส

1. การตอ่ มอเตอรส์ ปลิทเฟสมอเตอร์

รปู ท่ี 3.4 การตอ่ มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั 1 เฟส
ทีม่ า : ณรงคศ์ กั ดิ์ จันทะวนั และศิริพงษ์ สายหยดุ .สื่อการสอนพนั มอเตอรส์ ปลทิ เฟส
การทางานอาศยั หลักการเหน่ยี วนาทางแม่เหลก็ ไฟฟ้านั้นเองโดยท่ีขดรันและขดสตาร์ทที่วางทามุมกัน
90 องศาทางไฟฟ้าเพื่อทาให้เกิดสนามแม่เหล็กหมุน (Rotating magnetic field)ไปเหนี่ยวนาให้เกิดกระแส
ไหลในขดลวดกรงกระรอก (Squire large winding) กระแสส่วนน้ีจะสร้างสนามแม่เหล็กข้ึนไปผลัก
กบั สนามแม่เหล็กทสี่ เตเตอร์ เกิดเปน็ แรงบิดที่โรเตอร์ใหห้ มุนไปเมื่อโรเตอร์หมุนดว้ ยความเร็ว 75 เปอร์เซ็นต์
ของความเร็วสูงสุดสวิตช์แรงเหวยี่ งหนีศูนย์กลางจะตัดขดลวดสตาร์ทออก จากวงจรขดลวดสตาร์ทจะทางาน
เฉพาะตอนสตาร์ทเทา่ นั้น ส่วนขดรนั จะทางานตลอดต้ังแต่เรม่ิ เดินมอเตอรจ์ นหยุดหมุน เมื่อจะนามอเตอร์นี้
ไปใช้งานต้องใหห้ มุนตัวเปล่าก่อนแลว้ จึงจะต่อโหลด

32025301 การควบคมุ ไฟฟา้ และนิวแมติก

2. การกลบั ทางหมุนมอเตอรส์ ปลิทเฟส

รปู ท่ี 3.5 การกลบั ทางหมนุ มอเตอร์สปลิทเฟส
ที่มา : ณรงคศ์ กั ด์ิ จนั ทะวันและศิริพงษ์ สายหยุด.สอ่ื การสอนพันมอเตอรส์ ปลทิ เฟส
เมื่อมอเตอร์หมุนไปทิศทางใดทิศทางหน่ึงถ้าต้องการกลับทิศทางการหมุน ให้หมุนซ้ายหรือหมุนขวา
สามารถทาไดโ้ ดยกลบั ทิศทางกระแสไฟฟ้าท่เี ขา้ ที่ขดรันหรือขดสตารท์ ก็ได้ (กลบั สายที่ขดรันหรอื ขดสตาร์ท)
กำรต่อมอเตอร์ 3 เฟส แบบสตำร์

รปู ท่ี 3.6 การตอ่ มอเตอร์ 3 เฟส แบบสตาร์
ทีม่ า : http://e-power.ptl.ac.th/index.php?option=com_docman&Itemid=1041/08/59
การต่อแบบ Star คือการต่อแบบ เอาปลายของขดลวดทั้งสามเฟส (หรือ จะเป็นชุดก็ได้ เรียกว่า
Series-Star connection) มาต่อรวมกัน แลว้ ปลอ่ ยตน้ เฟสอีกด้านหนึ่งของทัง้ สามเฟสไว้ เพอื่ ต่อใช้งาน
กำรต่อมอเตอร์ 3 เฟส แบบเดลต้ำ

รูปท่ี 3.7 การตอ่ มอเตอร์ 3 เฟส แบบเดลต้า
ท่ีมา : http://e-power.ptl.ac.th/index.php?option=com_docman&Itemid=1041/08/59

32025301 การควบคมุ ไฟฟา้ และนิวแมติก

การต่อแบบ Deltaคือการต่อแบบ ตน้ และปลายของขดลวดตอ่ กัน ในแต่ละเฟสจะตอ่ ถงึ กันหมด ดังนี้
ปลายของเฟส 1 ต่อกับต้นของเฟส 2, ปลายเฟส 2 ต่อต้น เฟส 3,และปลายของเฟส 3 ต่อต้นของเฟส 1
การต่อใช้งานก็จะใชจ้ ดุ ทตี่ ่อท้ังสามจุดไปใชง้ าน
กำรกลบั ทำงหมนุ มอเตอร์ 3 เฟส

รูปท่ี 3.8 การกลบั ทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส ไม่มีการสลบั สายไฟฟา้ เขา้ ขว้ั มอเตอร์
ที่มา : http://202.129.59.73/tn/motor10-52/images/16-1r.gif 1/08/59
จากระบบไฟฟ้า3เฟส
L1 เข้าทขี่ ั้ว U1 ของมอเตอร์ L2 เขา้ ทขี่ ัว้ V2 ของมอเตอร์ L3 เขา้ ท่ขี ้ัว W3 ของมอเตอร์
ไมม่ ีการสลบั สายไฟฟ้าเข้าขั้วมอเตอร์ ทาให้มอเตอรไ์ ฟฟ้าหมนุ ขวาหรอื ทิศทางหมุนตามเขม็ นาฬิกา

รปู ท่ี 3.9 การกลบั ทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส
ที่มา : http://202.129.59.73/tn/motor10-52/images/16-2r.gif1/08/59
จากระบบไฟฟา้ 3เฟส ทาการสลบั สายไฟฟ้าเข้าขั้วมอเตอร์
L1 เขา้ ที่ขัว้ U1 ของมอเตอร์ L2 เข้าที่ขัว้ W1 ของมอเตอร์ L3 เขา้ ทีข่ ัว้ V1 ของมอเตอร์
มีการสลบั สายไฟฟ้าเข้าข้ัวมอเตอร์ ที่ L2 กับ L3 ทาให้มอเตอร์ไฟฟ้าหมนุ ซ้ายหรือทิศทางหมุนทวนเข็ม
นาฬิกา

32025301 การควบคมุ ไฟฟ้าและนวิ แมติก

รปู ท่ี 3.10 การกลับทางหมนุ มอเตอร์ 3 เฟส สลับสายไฟฟ้าเขา้ ขั้วมอเตอร์ ที่ L2 กบั L3
ทมี่ า : http://202.129.59.73/tn/motor10-52/images/16-3r.gif1/08/59

จากระบบไฟฟ้า3เฟส ทาการสลบั สายไฟฟ้าเขา้ ข้วั มอเตอร์
L1 เขา้ ท่ีขั้ว W1 ของมอเตอร์ L2 เขา้ ทข่ี ั้ว V1 ของมอเตอร์ L3 เขา้ ทข่ี วั้ U1 ของมอเตอร์

มีการสลบั สายไฟฟ้าเขา้ ขว้ั มอเตอร์ที่ L1 กับ L3 ทาให้มอเตอรไ์ ฟฟ้าหมนุ ซ้ายหรือทิศทางหมนุ ทวนนาฬกิ า

รูปท่ี 3.11 การกลบั ทางหมนุ มอเตอร์ 3 เฟส สลับสายไฟฟ้าเขา้ ขวั้ มอเตอรท์ ่ี L1 กับ L2
ทมี่ า : http://202.129.59.73/tn/motor10-52/images/16-4r.gif1/08/59

จากระบบไฟฟา้ 3เฟส ทาการสลบั สายไฟฟ้าเข้าข้ัวมอเตอร์
L1 เข้าทีข่ ้วั V1 ของมอเตอร์ L2 เข้าทีข่ ั้ว U1 ของมอเตอร์ L3 เข้าทีข่ ้วั W1 ของมอเตอร์

มีการสลบั สายไฟฟา้ เข้าข้วั มอเตอรท์ ี่ L1 กบั L2 ทาให้มอเตอรไ์ ฟฟ้าหมนุ ขวาหรอื ทศิ ทางหมุนตามเขม็ นาฬิกา
3.2.1 กำรสตำร์ทมอเตอรโ์ ดยตรง หรอื กำรสตำรท์ โดยใชแ้ รงดันเต็มพิกัด (อภิญโญ อุ่นคาและชานาญ

เนียมก้อน, 2554)
เป็นวิธีการป้อนแรงดันเต็มพิกัดเข้าสู่มอเตอร์โดยตรง วิธีนี้เป็นระบบการสตาร์ทที่ไม่ยุ่งยาก

ความผิดพลาดในการเดนิ เครอื่ งน้อย และ มปี ระสิทธิภาพในการทางานสูง การสตาร์ทวิธีน้ีจะช่วยใหม้ อเตอร์
เร่งความเร็วถึงพิกัดได้ไวกว่า และสามารถขับโหลดหนักๆขณะเริ่มหมุนได้ ใช้ได้กับมอเตอร์ขนาดเล็ก
เช่น มอเตอร์เหน่ียวนาโรเตอร์กรงกระรอกธรรมดาขนาดไม่เกิน 5.5 กิโลวัตต์ การสตาร์ทวิธนี ้ีเหมาะกับงาน
ท่ตี ้องการมอเตอรห์ มุนแบบราบเรียบและไมก่ ระชาก

การสตาร์ทมอเตอร์ด้วยวิธีนี้กระแสสตาร์ทจะมีค่าประมาณ 5-7 เท่าของกระแสเต็มพิกัด
และจะมแี รงบิดหมุนประมาณ 1.5-2.5 เทา่ ของแรงบิดเตม็ พกิ ดั

32025301 การควบคมุ ไฟฟา้ และนิวแมตกิ

ปัญหาการสตารท์ มอเตอรโ์ ดยใชแ้ รงดันเต็มพิกดั แบง่ ออกไดเ้ ป็น 3 ประเภท คอื
1. เกิดแรงดันในระบบเป็นผลให้โหลดอ่ืนๆท่ีต่ออยู่ในระบบเดียวกัน เช่น ไฟฟ้าแสงสว่างอุปกรณ์

อเิ ล็กทรอนิกส์ และ อืน่ ๆมีผลเสียหาย
2. ค่ากระขณะสตาร์ทสูง ทาให้เกิดค่าแรงบิดกระชากสูง อาจทาให้เกิดผลเสียหายแก่เครื่องจักร

โหลด และมอเตอร์

3.มอเตอร์ขนาดใหญ่มีโมเมนต์ของความเฉ่ือยสูงถ้าทาการสตาร์ทบ่อยครั้งใช้ช่วงเวลาการสตาร์ท
นาน ทาให้เกิดความร้อนสูงในขดลวดทาใหอ้ ายกุ ารใช้งานมอเตอร์ส้ันลง

ก) แบบงานติดตง้ั ข) วงจรควบคุม ค) วงจรกาลงั

รปู ที่ 3.12 แบบการสตารท์ มอเตอร์โดยตรง
ทีม่ า : นพิ นธ์ เรอื งวริ ิยะนนั ท.์ การควบคุมไฟฟ้า

32025301 การควบคุมไฟฟา้ และนิวแมตกิ