การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา ppt

Successfully reported this slideshow.

Your SlideShare is downloading. ×

การบริหารงานวิชาการ

การบริหารงานวิชาการ เป็นงานบริหารส่วนหนึ่งของการบริหารสถานศึกษา หรือโรงเรียน มีขอบข่ายที่สำคัญ 5 ประการ การวางแผนงานวิชาการ การพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การนิเทศการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผล

การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา ppt

การบริหารงานวิชาการ เป็นงานบริหารส่วนหนึ่งของการบริหารสถานศึกษา หรือโรงเรียน มีขอบข่ายที่สำคัญ 5 ประการ การวางแผนงานวิชาการ การพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การนิเทศการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผล

More Related Content

  1. 1. ดร.ธวัชชัย ตัง้อุทัยเรือง
  2. 2. พระราชบัญญัติ พ.ศ. 2542 มาตรา ๓๙ “ให้กระทรวงกระจายอานาจการบริหาร และการจัดการศึกษา ทัง้ด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และบริหารทัว่ไปไปยัง คณะกรรมการ และสา นักงานเขตพื้นทีก่ารศึกษา และสถานศึกษาในเขตพื้นทีก่ารศึกษาโดยตรง”
  3. 3. ภาระกิจหลักของสถานศึกษา “การจัดการเรียนการสอน” งานวิชาการถือเป็นงานที่มีความสา คัญที่สุด เป็นหัวใจของการจัด การศึกษา ซึ่งทั้งผู้บริหารโรงเรียน คณะครู และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่า ย ต้องมีความรู้ความเข้าใจ ให้ความสา คัญและ มีส่วนร่วมในการวางแผน กา หนดแนวทางปฏิบัติ การประเมินผล และการปรับปรุงแก้ไขอย่างเป็น ระบบและต่อเนื่อง
  4. 4. การบริหารงานวิชาการหมายถึง “การดาเนินงานกิจกรรมทุกชนิดในโรงเรียนที่ เกีย่วข้องกับการพัฒนาการเรียนการสอนให้ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้เรียน”
  5. 5. ความสาคัญของการบริหารงานวิชาการ 1. ทาให้ผู้บริหารตระหนักเห็นความสา คัญของงานวิชาการซึ่งเป็นงานหลักของ สถานศึกษา เพราะความสา เร็จของสถานศึกษาส่วนหนึ่งขึ้นอยู่กับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผู้เรียน 2. ทา ให้ผู้บริหารและครูวางแผนพัฒนางานวิชาการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องเพื่อ เสริมสร้างผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถ มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 3. ทา ให้สถานศึกษาปรับปรุงและพัฒนางานที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนให้มี ประสิทธิภาพเกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้เรียน 4. ทา ให้เกิดความร่วมมือระหว่างสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชนในการพัฒนาการเรียน การสอนตามความต้องการ
  6. 6. จุดมุ่งหมายของการบริหารงานวิชาการ 1) การจัดการศึกษา ต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทัง้ร่างกาย จิตใจ สติปัญ ญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดา รงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 2) ในกระบวนการเรียนรู้ต้อง”มุ่งปลูกฝังจิตสานึกที่ถูกต้อง” ให้รู้จักรักษาและส่งเสริมสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิศ์รีความเป็นมนุษย์ มีความภาคภูมิใจใน ความเป็นไทย รู้จักรักษา ผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ รวมทัง้ส่งเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ของชาติ การกีฬา ภูมิปัญ ญาท้องถิ่น ภูมิปัญ ญาไทย และความรู้อันเป็นสากล ตลอดจน อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่แวดล้อม มีความสามารถในการประกอบอาชีพ รู้จัก พึ่งตนเอง มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ใฝ่ร ู้ และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง
  7. 7. จุดมุ่งหมายของการบริหารงานวิชาการ (ต่อ) 3) เป้าหมายของการจัดการศึกษาอยู่ที่ การพัฒนาคนไทยทุกคนให้เป็นคนเกง่ คนดีและมี ความสุข มีคุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ ทัง้ในฐานะพลเมืองและพลโลก ได้แก่ การมีสุขภาพกาย และจิตใจที่ดี ได้เรียนรู้เต็มตามศักยภาพของตนเองสามารถ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ รู้ทันโลก รวมทัง้มีความสามารถในการใช้แหลง่ ความรู้ และสื่อต่างๆ เพื่อพัฒนาตนเองได้ สามารถปรับตัวได้ มีมนุษยสัมพันธ์ดี สามารถทา งานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี เข้าใจและเคารพในธรรมชาติสงิ่แวดล้อม มี ความรับผิดชอบ เข้าใจ ยอมรับ และตระหนักในคุณค่าของวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน สามารถแก้ปัญหาได้โดยสันติวิธี ดา เนินชีวิตโดยกายสุจริต วจีสุจริต และมโนสุจริต มี จิตสา นึกในเกียรติภูมิของคนไทย มีความภูมิใจในชนชาติไทยรักแผ่นดินไทย และ ปฏิบัติตนตามระบอบประชาธิปไตย มีจิตอาสา
  8. 8. ขอบเขตของการบริหารงานวิชาการ  การวางแผนด้านวิชาการ  การพัฒนาหลักสูตร  การพัฒนากระบวนการเรียนรู้  การจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา  การวัดผล ประเมินผล และการเทียบโอนผลการเรียน  การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในและมาตราฐานการศึกษา  การพัฒนาและใช้สื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา  การพัฒนาและส่งเสริมให้มีแหล่งการเรียนรู้  การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา  การส่งเสริมชุมชนให้มีความเข้มแข็งทางวิชาการ  การนิเทศการศึกษา  การแนะแนว  การประสานความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาและองค์กรอื่นๆ  การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครับ องค์กร หน่วยงาน สถานประกอบการ และ สถาบันที่จัดการศึกษาอื่นๆ  การจัดทา ระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษา
  9. 9. ขอบข่ายหลักของการบริหารวิชาการ 1. การวางแผนด้านวิชาการ 2. การพัฒนาหลักสูตร 3. การจัดการเรียนการสอน 4. การนิเทศและพัฒนาการเรียนการสอน 5. การวัดผลและประเมินผลการสอน
  10. 10. 1.การวางแผนงานวิชาการ เป็นจุดเรมิ่ต้นของการบริหารงานทุกชนิดเพราะการวางแผนเป็นการกา หนดสงิ่ที่คาด ว่าจะดา เนินการตามวัตถุประสงค์ โดยมีขัน้ตอนคร่าวๆดังนี้ 1. ให้ผู้เกี่ยวข้องทุกคนมีส่วนร่วมวางแผนงานวิชาการ เพื่อให้แผนมีความคิดกว้างไกล 2. จัดแบ่งงานวิชาการออกเป็นด้านๆ เช่น งานหลักสูตร งานจัดตารางสอน เป็นต้น 3. ศึกษาจุดมุ่งหมายของหลักสูตร หลักสูตรที่จะใช้สอน รวมทัง้ภาระงานด้านอื่นๆ 4. จัดวางแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับภาระหน้าที่ในด้านวิชาการในแต่ละเรื่อง โดยช่วยกัน ระดมความคิด และวางระเบียบวิธีปฏิบัติในแต่ละเรื่อง 5. จัดทา ขัน้ตอนในการปฏิบัติงานในรายละเอียด มีแผนการปฏิทินการปฏิบัติงาน
  11. 11. 2.การพัฒนาหลักสูตร แผนแม่บทในการจัดการเรียนการสอนที่กา หนดและจัดทา ขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษร มีองค์ประกอบสา คัญ 5 ส่วนคือ 1. จุดหมายและทิศทางของหลักสูตร 2. สาระเนื้อหา ที่จะพาไปสู่จุดหมาย 3. แนวทางวิธีการจัดการเรียนรู้ 4. แนวทางที่จะวัดและประเมินผล 5. แนวการประเมินและปรับปรุงหลักสูตร
  12. 12. หลักสูตร หมายถึง ชุดความรู้หรือประสบการณ์ ทีมี่การจัดทา เป็นแผนการ จัดการเรียนรู้หรือโครงการจัดการศึกษา โดยมีการ กา หนดวิธีการจัดการเรียนรู้ เพือ่ให้ผู้เรียนเกิดผลการ เรียนรู้ตามวัตถุประสงค์หรือจุดม่งุหมายตามทีห่ลักสูตร กาหนดไว้
  13. 13. เกณฑ์การเลือกเนือ้หาการเรียนรู้ 1. หลักความเพียงพอและสมบูรณ์ในตัว - ตอบสนองเนื้อหาที่ ต้องเรียนรู้ครบถ้วน 2. หลักสา คัญของเนื้อหาสาระ – ช่วยยกระดับการความรู้ 3. หลักความถูกต้องสมบูรณ์ – ความรู้ถูกต้องทันสมัย 4. หลักความน่าสนใจ - ง่ายต่อการเรียนรู้ 5. หลักประโยชน์ใช้สอย - เป็นประโยชน์ทัง้ในและนอกชัน้เรียน
  14. 14. พระราชบัญญัติ พ.ศ. 2542 มาตรา ๒๗ ให้คณะกรรมการการศึกษาขัน้พื้นฐานกา หนดหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขัน้พื้นฐานเพือ่ความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองที่ ดีของชาติ การดา รงชีวิต และการประกอบอาขีพตลอดจนเพือ่ การศึกษาต่อ ให้สถานศึกษาขัน้พื้นฐานมีหน้าทีจั่ดทา สาระของหลักสูตรตาม วัตถุประสงค์ในวรรรคที่หนึ่งในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปัญ หาในชุมชน และสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพือ่เป็น สมาชิกทีดี่ของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ
  15. 15. พระราชบัญญัติ พ.ศ. 2542 จากมาตรา 27 วรรค 2 จึงหมายถึง ให้สถานศึกษาขัน้ พื้นฐานมีหน้าที่จัดทา สาระหลักของหลักสูตรในส่วนที่ เกียวข้องกับท้องถนิ่ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร แกนกลางในส่วนของท้องถนิ่นี้ จึงให้เรียกว่า "การจัด สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น"
  16. 16. แนวการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อท้องถิ่น 1. ศึกษาวิเคราะห์เอกสารหลักสูตรการศึกษาขัน้พื้นฐาน พ.ศ. 2544 และ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546 และกรอบสาระการเรียนรู้ที่พัฒนา โดยสา นักงานเขตพื้นที่การศึกษา 2. ศึกษาศิลปวัฒนธรรมของท้องถนิ่และภูมิภาค ตลอดจนข้อมูลสารสนเทศ เกี่ยวกับสภาพปัญหาและความต้องการของสังคม ชุมชน และท้องถิ่น 3. วิเคราะห์สภาพแวดล้อมและประเมินสถานภาพสถานศึกษา เพื่อร่วม กา หนดวิสัยทัศน์ ภารกิจเป้าหมาย คุณลักษณะที่พึงประสงค์โดยการมี ส่วนร่วมของทุกฝ่าย รวมทัง้คณะกรรมการสถานศึกษา
  17. 17. การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อท้องถิ่น (ต่อ) 4. ศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชัน้ของกลมุ่สาระหลักสูตรการศึกษาขัน้พื้นฐาน พ.ศ. 2544 หรือมาตรฐานการเรียนรู้ของกลมุ่สาระตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขัน้พื้นฐาน 5. จัดทา หลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางของ กระทรวงศึกษาธิการและกรอบสาระการเรียนรู้ท้องถนิ่ของสา นักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ปฏิบัติงานตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยคณะ กรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษาขัน้พื้นฐาน 6. ขอความเห็นชอบใช้หลักสูตรสถานศึกษาจากคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พื้นฐาน 7. การบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาตามแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้หลักสูตร สถานศึกษาขัน้พื้นฐาน พ.ศ. 2544
  18. 18. การจัดทาสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น สาระการเรียนรู้ท้องถนิ่ หมายถึง รายละเอียดของข้อมูลสารสนเทศ รวมทัง้ เนื้อหา องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับท้องถนิ่ในด้านต่าง ๆ เช่น สภาพภูมิ ประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากรและสงิ่แวดล้อม ประวัติความเป็นมา สภาพ เศรษฐกิจ สังคม การดา รงชีวิต การประกอบอาชีพอิสระ ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญ ญา ตลอดจนสภาพปัญ หาและสิ่งที่ควรได้รับการถ่ายทอด พัฒนาในชุมชนและสังคมนั้น ๆ ที่สถานศึกษากาหนด เพื่อจะนาไปใช้จัด ประสบการณ์ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับท้องถนิ่ของตนเอง ซึ่งมีแนวทางใน การจัดทา สาระท้องถนิ่ ดังนี้
  19. 19. การจัดทาสาระการเรียนรู้เพื่อท้องถิ่น 1. ศึกษากรอบสาระการเรียนรู้ท้องถนิ่ที่สา นักงานเขตพื้นที่การศึกษากา หนดไว้ 2. วิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา เพื่อทราบจุดเน้นหรือประเด็นปัญ หาสา คัญที่ โรงเรียนให้ความสา คัญหรือกา หนดเป็นแนวทางในการพัฒนานักเรียน 3. ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศของโรงเรียนและนักเรียน เพื่อนามาเป็นข้อมูล ในการจัดทา สาระท้องถนิ่ 4. ดา เนินการจัดทา สาระท้องถนิ่ในลักษณะ  จัดทา เป็นรายวิชาเพมิ่เติม  ปรับกิจกรรมการเรียนการสอน หรือจัดกิจกรรมเสริม หรือบูรณาการ
  20. 20. การออกแบบการเรียนรู้อิงมาตรฐาน เป็นขัน้ตอนที่สา คัญที่สุดในการจัดทา หลักสูตรสถานศึกษา เพราะเป็น ส่วนที่นามาตรฐานการเรียนรู้ไปสู่การปฏิบัติในการเรียนการสอนอย่าง มีคุณภาพได้ มาตรฐานอย่างแท้จริง ผู้เรียนจะบรรลุมาตรฐานหรือไม่ อย่างไร ก็อยู่ที่ขัน้ตอนนี้ ดังนั้นการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพได้ มาตรฐานอย่างแท้จริงทุกองค์ประกอบของหน่วยการเรียนรู้ต้อง เชื่อมโยงกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดชัน้ปี โดยครูต้องเข้าใจ และสามารถวิเคราะห์ได้ว่าสงิ่ที่ต้องการให้นักเรียนรู้และปฏิบัติได้ใน มาตรฐานและตัวชี้วัดชัน้ปีนั้นคืออะไร
  21. 21. องค์ประกอบของหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน 1. ชื่อหน่วยการเรียนรู้ 2. มาตรฐานการเรียนรู้ 3. สาระสา คัญของหน่วยการเรียนรู้ 4. ชิ้นงานหรือภาระงานที่ให้นักเรียนปฏิบัติ 5. กิจกรรมการเรียนการสอน 6. การวัดและประเมินผล
  22. 22. การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน โดยใช้หลัก Backward Design เริ่มจากการกา หนดมาตรฐานเป็นเป้าหมายของการจัดการเรียนรู้ จากนั้นจึงกา หนดว่า ร่องรอยหลักฐานอะไรที่ให้นักเรียนปฏิบัติ แล้วสามารถสะท้อนความสามารถของผู้เรียนตามที่ระบุไว้ใน มาตรฐานนั้น แล้วจึงวางแผนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ สอดคล้องกับสงิ่ที่กา หนดให้นักเรียนปฏิบัติ
  23. 23. กระบวนการออกแบบบถอยหลังกลับ ขัน้ตอนที่ 1 มาตรฐานการเรียนรู้ต้องการให้นักเรียนรู้อะไร และสามารถทา อะไรได้ ขัน้ตอนที่ 2 อะไรคือร่องรอยหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนรู้และสามารถทา ได้ตามที่มาตรฐาน กาหนด ขั้นตอนที่ 3 จัดกิจกรรมอย่างไรจึงจะสนับสนุนให้นักเรียนมีความรู้ที่ฝัง แน่นตามที่มาตรฐาน กาหนด อย่างไรก็ตามกระบวนการจัดทา หน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานมีความยืดหยุ่น 1. สามารถเรมิ่จากการกา หนดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดชัน้ปี และวิเคราะห์คา สา คัญใน ตัวชี้วัดชัน้ปี เพื่อกา หนดสาระหลักและกิจกรรมต่อไป หรือ 2. อาจเริ่มจากประเด็นปัญหาสา คัญในท้องถิ่นหรือสิ่งที่นักเรียนสนใจ แล้วจึงพิจารณาว่า ประเด็นปัญหาดังกล่าวเชื่อมโยงกับมาตรฐานและตัวชี้วัดชัน้ปี
  24. 24. แนวทางการจัดทาหน่วยการเรียนรู้เริ่มจากการกาหนด มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีวั้ดชัน้ปี
  25. 25. แนวทางการจัดหน่วยการเรียนรู้เริ่มจากการกาหนด ปัญหาสาคัญหรือสิ่งที่นักเรียนสนใจ
  26. 26. กาหนดชื่อหน่วยการเรียนรู้ โดยพิจารณาคา /ข้อความสา คัญ (Key words) หรือเนื้อหา ในตัวชี้วัดของ รายวิชามาจัดกลุ่ม โดยนาตัวชี้วัดที่มีเนื้อหาอยู่ในกลุ่มเดียวกัน หรือ เป็นเรื่องเดียวกัน มารวมกันจัดเป็น 1 หน่วยการเรียนรู้ ซึ่งใน 1 รายวิชาจะมีหลายหน่วยฯ และแต่ละหน่วยฯ จะมีตัวชี้วัดซ้า หรือไม่ซ้า กันก็ได้ อยู่ในดุลพินิจของผู้สอน แต่เวลาที่ใช้จัดการเรียนรู้รวมทัง้หมด ต้อง ไม่เกินจา นวนชัว่โมงที่กาหนดในโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา แล้วตัง้ชื่อหน่วยให้น่าสนใจสา หรับผู้เรียน
  27. 27. ระบุมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชีวั้ด  โดยเขียนรหัสมาตรฐาน ระดับชัน้และตัวชี้วัดที่นามาจัดทา หน่วยฯ ทัง้หมด โดยเขียนเป็นรหัส ที่ทา ให้เข้าใจ ได้อย่างเป็นระบบ ว 1.1 ป. 1/2 ป.1/2 หมายถึง ตัวชี้วัดชัน้ประถมศึกษาปีที่ 1 ข้อที่ 2 1.1 หมายถึง สาระที่ 1 มาตรฐานข้อที่ 1 ว หมายถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ว 1.1 ม. 1/2 ม.1/2 หมายถึง ตัวชี้วัดชัน้มัธยมศึกษาปีที่ 1 ข้อที่ 2 1.1 หมายถึง สาระที่ 1 มาตรฐานข้อที่ 1 ว หมายถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ว 1.1 ม. 4-6/1 ม.4-6/1 หมายถึง ตัวชี้วัดชัน้มัธยมศึกษาตอนปลาย ข้อที่ 1 1.1 หมายถึง สาระที่ 1 มาตรฐานข้อที่ 1 ว หมายถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
  28. 28. กาหนดสาระสาคัญ เป็นข้อความที่ระบุว่าผู้เรียนรู้อะไร มีทักษะอะไร (อาจจะมีคุณลักษณะอย่างไรด้วย) และ หน่วยนี้มีคุณค่าต่อผู้เรียนอย่างไรในระยะสัน้และ ระยะยาวโดยร้อยเรียงข้อมูลของทุก ตัวชี้วัด และเขียนเป็นองค์ความรู้ ของหน่วยฯ โดยเขียนเป็นลักษณะหลักการทัว่ไป หรือหลักวิชาของหน่วยฯ นั้น ๆ ที่ต้องการให้เป็นองค์ความรู้ เป็นความเข้าใจที่ฝัง ติดตัวผู้เรียนไปเป็นเวลานาน และสามารถนามาใช้ได้เมื่อต้องการ เช่น “พืชตอบสนองต่อแสง เสียง และการสัมผัส ซึ่งเป็นสภาพแวดล้อมภายนอก เพื่อการ อยู่รอด” “การบวก คือการนาจา นวนตัง้แต่สองจา นวนขึ้นไปมารวมกัน จา นวนที่ได้ จากการรวมจานวนต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เรียกว่า ผลรวม หรือ ผลบวก และใช้ เครื่องหมาย + เป็นสัญลักษณ์แสดงการบวก” “พืชและสัตว์ต้องการอาหาร น้าและ อากาศ เพื่อการดา รงชีวิต และการเจริญเติบโต” “การดา รงชีวิตท่ามกลางการ เปลี่ยนแปลงโดยประยุกต์ใช้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทา ให้ชีวิตมีความสุข”
  29. 29. กาหนดระยะเวลา (จา นวนชัว่โมง)สา หรับแต่ละหน่วยการเรียนรู้ รวมทุกหน่วยฯ แล้ว มีจา นวนชัว่โมงเท่ากับ จา นวนชัว่โมงของรายวิชา กาหนดคะแนน ของแต่ละหน่วยการเรียนรู้ตามความสา คัญของแตล่ะหน่วยฯ เพื่อการประเมินผลการ เรียนรู้ของแต่ละหน่วยฯ ให้เหมาะสมตามความสา คัญของแต่ละหน่วยฯ การจัดทา โครงสร้างรายวิชา อาจจะใช้แบบฟอร์มในการบันทึก
  30. 30. สิ่งสาคัญของการจัดทาหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน 1. การจัดการเรียนรู้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ ต้องนาพาผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐาน ตัวชี้วัดชัน้ปีที่ระบุไว้ในหน่วยการเรียนรู้นั้น ๆ 2. การวัดและประเมินผลชิ้นงานหรือภาระงานที่กา หนดในหน่วยการเรียนรู้ ควรเป็นการ ประเมินการปฏิบัติหรือการแสดงความสามารถผู้เรียน (Performance Assessment) 3. ชิ้นงานหรือภาระงานที่กา หนดให้นักเรียนปฏิบัติ ควรเชื่อมโยงมาตรฐานและตัวชี้วัด 2- 3 มาตรฐานตัวชี้วัด 4. มีความยืดหย่นุในกระบวนการและขัน้ตอนการจัดทา หน่วยการเรียนรู้ เช่น อาจเรมิ่ต้น จากการวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดชัน้ปี หรืออาจเรมิ่จากความสนใจของ นักเรียน หรือสภาพปัญ หาของชุมชนก็ได้
  31. 31. ตัวอย่างที่ 1 ชัน้ประถมศึกษาปีที่ 6 มาตรฐาน ท.1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนาไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาใน การดา เนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน ตัวชี้วัด ท.1.1 (ป.6/3) อ่านเรื่องสัน้ ๆ อย่างหลากหลาย โดยจับเวลาแล้วถามตอบเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน ท.1.1 (ป.6/5) อธิบายนาความรู้ ความคิดจากเรื่องที่อ่านไปตัดสินใจแก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต ท.1.1 (ป.6/8) เขียนแสดงความรู้สึกและแสดงความคิดเห็น มาตรฐาน ท.3.1 สามารถเลือกฟัง และดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึกในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ ตัวชี้วัด ท.3.1 (ป.6/5) พูดรายงานเรื่องที่เขียน
  32. 32. การจัดโครงสร้างรายวิชา
  33. 33. การจัดโครงสร้างรายวิชา
  34. 34. 3.การจัดการเรียนการสอน เป็นหัวใจสา คัญของงานวิชาการ เป็นกระบวนการสา คัญของการ นาหลักสูตรทีพั่ฒนาขึ้นไปใช้ตามวัตถุประสงค์ ดังนั้น หลักสูตร จะประสบความสา เร็จหรือล้มเหลว ขึ้นอยู่กับการจัดการเรียน การสอนทีดี่มีประสิทธิภาพ คือ การเรียนการสอนทีบ่รรลุ วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
  35. 35. งานการจัดการเรียนการสอน 5 ขัน้ตอน A. การดา เนินงานธุรการด้านการจัดการเรียนการสอน B. การเตรียมการจัดการเรียนการสอน C. การจัดสื่อการสอนและเทคโนโลยี D. การดาเนินการเรียนการสอน E. การวัดผลและประเมินผลการสอน
  36. 36. A.การดาเนินงานธุรการด้านการจัดการเรียนการสอน งานธุรการด้านการเรียนการสอน เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการจัด ระบบงานและสงิ่อา นวยความสะดวกในการจัดการเรียนการ สอน เช่น • การจัดตารางสอน • การจัดครูเข้าสอน • การเตรียมการด้านอาคารสถานที่ • ห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้
  37. 37. B.การเตรียมการจัดการเรียนการสอน เป็นการเตรียมการเกี่ยวกับเนื้อหาและกิจกรรมที่จะจัดการเรียนการสอน ในห้องเรียนเป็นหลัก ซึ่งในขัน้ตอนนี้ เป็นกิจกรรมเชื่อมโยงระหว่าง หลักสูตรไปสู่การสอน ที่มีกิจกรรมสา คัญที่ควรดา เนินการหลายอย่าง เช่น • การวิเคราะห์และทาความเข้าใจหลักสูตร • การวิเคราะห์ผู้เรียน • การจัดทา โครงการสอนและการวางแผนการสอน • การเตรียมสื่อการเรียนการสอน
  38. 38. แบบฟอร์มในการเขียนแผนการสอน
  39. 39. C.การจัดสื่อการสอนและเทคโนโลยี สื่อการสอน มี 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1. ประเภทเครื่องมือหรืออุปกรณ์ เช่น เครื่องฉายภาพ เครื่องโปรเจคเตอร์ เครื่องฉายวีซีดี 2. ประเภทวัสดุ หรือซอฟต์แวร์ เช่น ฟิลม์ภาพยนต์ สื่อบันทึกเสียง วิทยุ หนังสือ ภาพ โปรแกรม 3. ประเภทเทคนิค หรือวิธีการ เช่น การสาธิต การศึกษานอกสถานที่ การจัดนิทรรศการ
  40. 40. D.การดาเนินการจัดการเรียนการสอน เป็นขัน้ตอนในการปฏิบติในการบริหารงานด้านวิชาการ สงิ่ต่างๆ ทัง้หลายที่เตรียมการมาตัง้แต่ต้น ไม่ว่าจะหลักสูตร การ เตรียมการสอน การจัดระบบสื่อ จะล้มเหลว หากไม่นาการ เตรียมการเหลา่นี้มาสู่การปฏิบัติ มีแนวทางดังนี้ • การปฏิบัติการจัดการเรียนการสอน • การนิเทศและพัฒนาการเรียนการสอน • การวัดผลประเมินผลการเรียนการสอน
  41. 41. การปฏิบัติการจัดการเรียนการสอน การที่ครูที่ไดรับมอบหมายการสอนตามตารางสอนที่กา หนดไว้ ได้ทา หน้าที่ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามโครงการ สอนและแผนการสอนตามที่เตรียมการไว้ 1. การเตรียมความพร้อมของครู 2. การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาและผู้บริหาร 3. การเตรียมความพร้อมของนักเรียนและผู้ปกครอง
  42. 42. 4. การนิเทศและพัฒนาการเรียนการสอน การนิเทศการศึกษาและการนิเทศการเรียนการสอนเป็นเครือ่งมือ สา คัญทีจ่ะช่วยเหลือแนะนาติดตามผลและประเมินผลการ จัดการเรียนการสอนของครู โดยผู้เชีย่วชาญทีมี่ความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ในการจัดการเรียนการสอน ทัง้ ภายในสถานศึกษา และภายในระบบการศึกษา ซึ่งเป็นกลไก สา คัญในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้มีคุณภาพดีขึ้น
  43. 43. วัตถุประสงค์ของการนิเทศ เพือ่เป็นการปรับปรุงหรือยกระดับคุณภาพการ จัดการเรียนการสอนให้ดียิง่ขึ้น
  44. 44. การนิเทศแบบมุ่งเน้นผลงาน (Performance-Based Supervision) หมายถึง ระบบการนิเทศที่ออกแบบให้การนิเทศเป็นส่วนหนึ่งของการ บริหาร ผู้นิเทศหลักทา หน้าที่เป็นผู้บังคับบัญชาชัน้ต้นของสมาชิก กลุ่มงาน และใช้รูปแบบการนิเทศทัง้ทางตรงและทางอ้อม การดา เนินกิจกรรมการนิเทศให้มงุ่เน้นผลที่จะเกิดขึ้นในทางปฏิบัติ มากกว่าการให้ความสา คัญของกิจกรรมการนิเทศ และการนิเทศจะมี ทัง้ส่วนที่กรอบงานที่ต้องดา เนินการ และความรู้ทักษะในการ ดา เนินงาน เพื่อให้เกิดผลตามวัตถุประสงค์
  45. 45. การนิเทศในฐานะเป็นระบบย่อยของการบริหาร กิจกรรมการนิเทศในอดีตจากกรมต่างๆ เป็นเพียงกิจกรรมการพัฒนา บุคลากรอย่างหนึ่งเท่านั้น ไม่อาจจะหวังผลในทางปฏิบัติใดๆ ครู อาจจะไม่ได้รับการพัฒนาจากการนิเทศ หากการนิเทศเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารนั้น ผู้นิเทศจะเป็น ผู้บังคับบัญชาชัน้ต้นของผู้ปฏิบัติการ (ครู) ในแต่ละกลุ่มงาน เช่น หัวหน้าหมวด หัวหน้ากลุ่มวิชา หัวหน้าชุดวิชา เป็นต้น
  46. 46. รูปแบบการนิเทศ  การนิเทศทางตรง - หมายถึงการนิเทศเชิงระบบ เพื่อให้ผู้รับการนิเทศได้รับทราบ บทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบ และผลลัพธ์ที่พึงมีพึงได้ ที่เกิดจากการปฏิบัติ หรือไม่ ปฏิบัติตามกรอบปฏิบัติขององค์การ และ การนิเทศแนวปฏิบัติที่เป็นข้อตกลงของ องค์การ ตลอดจนเทคนิควิธีตามหลักวิชาในการปฏิบัติงานนั้นๆ  การนิเทศทางอ้อม – ใช้ฝีกประสบการณ์ในการปฏิบัติงานจริง การประชุมสัมมนา หรือ การฝึกอบรม เพื่อความเข้าใจ และพัฒนาความรู้ ทักษะ ตลอดจนเจตคติในการทา งาน เพื่อให้ผู้ใต้บังคับบัญชาสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ตามกรอบปฏิบัติขององค์การอย่างมี ประสิทธิภาพสูงสุด
  47. 47. องค์ความรู้และทักษะในการนิเทศ ผู้นิเทศต้องมีความรู้ ทักษะ และความเชี่ยวชาญในเรื่องที่ตนเองนิเทศเป็น อย่างดี ดังนี้ • ความรู้เรื่องานในองค์การ • ความรู้เกี่ยวกับองค์ความรู้และแนววิธีปฏิบัติ • ทักษะในการนิเทศ 1. ทักษะในหน้าที่ เช่น การสอน การวัดประเมินผล การแนะแนว การแก้ปัญ หาการ เรียนการสอน การวิจัยชัน้เรียน 2. ทักษะในการนิเทศ
  48. 48. 5.การวัดและประเมินผลการเรียนการสอน • การวัด หมายถึง การดา เนินการเพื่อให้ได้มาซึ่งคะแนนที่เป็นตัวแทนคุณลักษะของสงิ่ ที่เราต้องการทราบระดับ • การประเมิน หมายถึง การนาคะแนนที่ได้มาพิจารณาและตัดสินผลตามวัตถุประสงค์ และเกณฑ์ที่ได้กา หนดไว้ • ดังนั้น การวัดและประเมินผล จึงเป็นองค์ประกอบสา คัญของการจัดการเรียนการสอน เพราะจะทา ให้เป็นข้อมูลทัง้สา หรับผู้เรียน ผู้สอน ผู้บริหาร ตลอดจนผู้ปกครอง ในการ พัฒนารผู้เรียนให้เป็นไปตามจุดหมายการจัดการศึกษาที่กา หนดไว้
  49. 49. ประโยชน์ของการวัดและประเมินผล 1. เพื่อปรับปรุงการสอนของครู 2. เพื่อปรับปรุงการเรียนของผู้เรียน 3. เพื่อปรับปรุงระบบการบริหารของโรงเรียน – หลักสูตร, การจัดการเรียนการสอน 4. เพื่อเป็นข้อมูลทางการศึกษาทัว่ไป – ผู้สาเร็จการศึกษา, รายงานผู้ปกครอง
  50. 50. การประเมินผลงานวิชาการ เป็นการประเมินภาพรวมของการบริหารงานวิชาการ เพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการ เรียนการสอนที่สะท้อนถึงประสิทธผลของหลักสูตร ว่า ก่อให้เกิดการเรียนรู้ของผู้เรียน ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรมากน้อยเพียงใด คือ การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับการดา เนินงานต่างๆ ทัง้ทางด้านการวางแผนงานวิชาการ การพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และการนิเทศและพัฒนาการเรียนการอ สน ว่าเป็นไปตามแผนที่กา หนดไว้มากน้อยเพียงใด และ ผลสุดท้ายของการจัดการ เรียนการสอนของบสถานศึกษา ตอบสนองต่อความต้องการและปัญ หาของชุมชน สังคม และประเทศชาติหรือไม่ เพียงใด