ตัวอย่าง โครงการ วิทยาศาสตร์ ปฐมวัย

โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย เร่ือง ขนมสีสันจากธรรมชาติ

ชน้ั อนุบาลปที ี่ ๒-๓ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ โรงเรยี นบ้านเชตวัน อำเภอนานอ้ ย จังหวัดนา่ น สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาน่าน เขต1 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

คำนำ

โครงงานเรื่อง ขนมสีสันจากธรรมชาติ เป็นโครงงานที่จัดทำขึ้นภายใต้การเข้าร่วมกิจกรรม โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารีและ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผู้ดำเนินกิจกรรมตามโครงการเป็นนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย โรงเรียนบ้านเช ตะวัน ซึ่งเป็นกิจกรรมที่นักเรียนมีความสนใจที่จะเรียนรู้ มีคำถามและ สิ่งที่สงสัย อยากค้นหาคำตอบด้วย ตวั เอง จึงมกี ารออกแบบการทดลองรว่ มกัน โดยมคี รปู ระจำช้ันเปน็ ทป่ี รกึ ษา

โครงงานเรื่อง ขนมสีสันจากธรรมชาติ ลุล่วงไปด้วยดี โดยนักเรียนระดับปฐมวัย ครู ผู้ปกครอง ที่ให้ความร่วมมือ ขอขอบคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้องที่ทำให้โครงการประสบคสามสำเร็จ และหวังว่าผล การจดั กิจกรรมในครงั้ นจี้ ะเกิดประโยชน์ต่อผู้ศึกษา และผทู้ ่ีสนใจต่อไป

ธรรญภร เข่ือนเพชร ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย โรงเรยี นนบา้ นเชตะวนั สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษานา่ น เขต๑

สารบัญ หน้า

คำนำ ๑ สารบัญ ๓ ๙ ทม่ี าของโครงงาน คำถามท่ี ๑ เราจะทำขนมบวั ลอยให้ได้หลายสีไดอ้ ยา่ งไร คำถามท่ี 2 เราสามารถทำให้ข้าวมสี ีสันนา่ ทานได้ไหมคะ ภาคผนวก

1

ชอ่ื โครงงาน ขนมสีสนั จากธรรมชาติ

ผ้จู ดั ทำโครงงาน นักเรียนชั้นอนุบาลปที ี่ 2-3 โรงเรียนบา้ นเชตวัน อำเภอนาน้อย จงั หวัดนา่ น

ครูทีป่ รกึ ษา นางสาวธรรญภร เข่อื นเพชร

ระยะเวลาในการจดั ทำ ระหว่างวันที่ 2 – 10 มนี าคม 2565

..................................................................................................... ท่ีมาของโครงงาน

สืบเนื่องจากการจัดกิจกรรมประสบการณ์การเรียนรู้ในห้องเรียน เรื่อง “โลกสวยด้วยสีสัน”

นักเรียนได้ร่วมสนทนาพูดคุยกับครูและเพื่อนๆ เกี่ยวกับ สีต่างๆ ที่ได้มาจากผักผลไม้ที่เป็นธรรมชาติ ที่ ผู้ปกครองนักเรียนนิยมปลูกไว้ที่บ้านเพื่อแต่งเติมสีประกอบอาหารและขนมหวาน ได้แก่ ดอกอัญชัน ใบเตย แครอท ฟักทอง กระเจี๊ยบ ซึ่งนักเรียนได้เรียนรู้ว่าผักผลไม้เหล่านี้ล้วนมีประโยชน์และทำให้ร่างกายแข็งแรง

สามารถนำมาใช้ในการทำขนมชนดิ ต่างๆ ที่ใช้สีเป็นส่วนประกอบเพื่อใหน้ ่ารับประทานมากขึ้น โดยแม่ค้าและ ตนเฒ่าคนแก่นิยมนำมาใช้ และไม่มีสารเคมีที่เป็นอันตรายต่อตัวเรา ระหว่างนั้นเองมีนักเรียนถามครูว่า จาก การเรียนรู้กจิ กรรมดังกล่าว ทำให้เกิดบทสนทนาในห้องเรียนเกี่ยวกับผกั ผลไม้ที่ปลกู ท่ีโรงเรียนและที่บ้านของ

นักเรยี นและผกั ผลไมท้ ่ผี ้ปู กครองนกั เรียนเคยนำมาแต่งเติมปรุงสีอาหารใหร้ บั ประทาน

ครู : ทีบ่ า้ นของนักเรยี นปลูกผกั ผลไมอ้ ะไรบ้างคะ รตั นากร: ยายหนปู ลกู ขา้ วโพด มะเขือเทศ และตน้ หอมดว้ ยค่ะ แกรมม่ี : แมผ่ มปลูกมะเขือและฟักทองครับ โกเฮง : บา้ นผมมดี อกอัญชนั เยอะแยะเลยครับ ออกตามรัว้ บ้านผมครับ ต้นขา้ ว : บ้านเราก็มโี กเฮง บา้ นหนูกม็ ีคะ่ ครู มะนาว : ครคู ะใบเตยก็ใชไ้ ดค้ ่ะ เป็นสเี ขียว อนั ดา : หลังหอ้ งทางไปท้ิงขยะค่ะ ครูมีอยา่ งเยอะค่ะใบเตย คุณครู : ถา้ อยา่ งน้นั เดก็ ๆ ลองชว่ ยครคู ดิ ได้ไหมค่ะวา่ เราจะเอาอะไรมาทำอะไรได้บ้าง โปรแกรม : ครคู ่ะหนวู า่ ทำนำ้ ดอกอญั ชนั คะ่ เมธนิ : ครูครับผมวา่ ทำน้ำใบเตยดว้ ยครับ หอมดีครับ พลอย : ครคู ะ่ หนวู า่ เอามาผสมทำขนมดีไหมคะ คุณครู : แล้วเราจะทำขนมอะไรกนั ดีคะ โกเฮง : ทำบวั ลอยครับ ทำหลายๆ สี สวยดคี รบั อร่อยดว้ ย เมธิน : ครูคะเอาแช่ข้าวคะ่ ดูว่าจะเปลีย่ นสีไหมคะ คณุ ครู : งั้นเราจะทำขนมกนั นะคะ มะนาว : ครูคะเรางัน้ เราทำขา้ วต้มหลายๆสกี ันดีไหมคะ เคณุ ครู : เด็ก ๆ มีคำถามอะไรที่อยากรอู้ กี ไหมคะ เมธิน : ทำขนมบัวลอยดว้ ยคับ คุณครู : เด็ก ๆ มีคำถามอะไรที่อยากรู้อกี ไหมคะ

เดก็ ๆ ตอบวา่ ไมม่ คี ่ะ ครูสนทนากบั เด็ก โดยสรปุ จากคำถามทเ่ี ด็ก ๆ ถามดงั นี้

2

คำถามที่ 1 เราจะทำสอี ะไรบ้างจากธรรมชาตคิ ะ คำถามท่ี 2 เราจะทำขนมบัวลอยใหไ้ ด้หลายสีไดอ้ ย่างไรคะ คำถามท่ี 3 เราสามารถทำให้ขา้ วมสี สี นั น่าทานไดไ้ หมคะ คำถามท่ี 4 เมือ่ เราทำนำ้ สจี ากธรรมชาติจะมรี สชาติอยา่ งไรคะ คำถามที่ 5 เราจะปัน้ ขนมบัวลอยเป็นรปู ต่างๆ ไดไ้ หมคะ

จากคำถามที่เด็ก ๆ สนใจอยากรู้ 5 คำถาม เด็กและครูร่วมกันสนทนาเพื่อเลือกคำถามที่จะนำมา สังเกตสำรวจตรวจสอบ ทดลอง และเปรียบเทียบ โดย คำถามที่เด็กอยากรู้มากที่สุด คือ คำถามที่ ๒ และ คำถามที่ ๓ ซงึ่ คำถามท่ี ๒ เราจะทำขนมบวั ลอยให้ได้หลายสไี ด้อย่างไรคะ เดก็ ๆจะไดร้ วู้ ่ามวี ิธีและขั้นตอนการ ทำขนมบัวลอยว่าทำอย่างไรและอยากลองทำขนมบัวลอยใหม้ ีหลากหลายสี คำถามที่ ๓ เราสามารถทำใหข้ ้าว มีสสี นั นา่ ทานไดไ้ หมคะ เดก็ อยากลองทำข้าวใหม้ ีหลากหลายสี

3

คำถามที่ 1 เราจะทำขนมบัวลอยให้ไดห้ ลายสไี ด้อย่างไรคะ ขัน้ ที่ ๑ เราจะทำขนมบัวลอยให้ไดห้ ลายสไี ด้อย่างไรคะ จุดประสงค์

เพ่อื ใหเ้ ดก็ ได้รู้วธิ ีและข้ันตอนการทำขนมบัวลอยว่ามวี ิธที ำอย่างไรและให้ได้หลายสี

ข้นั ที่ 2 รวบรวมความคดิ และข้อสนั นษิ ฐาน เด็กและครสู นทนาร่วมกนั โดยครูใชค้ ำถามกระตุ้น เพ่ือให้ทราบประสบการณ์เดมิ ของเด็ก ๆ เกย่ี วกบั

การทำขนมบัวลอยจากสธี รรมชาติ ท่เี คยทานมาและมสี ีอะไรบา้ ง เราจะใชส้ ธี รรมชาตจิ ากผกั และผลไม้นำมา ผสมกบั แปง้ ทำขนมบวั ลอย เช่น

ครู : เดก็ ๆ รจู้ กั ผกั ผลไม้อะไรบ้างท่เี รานำมาทำใหเ้ ป็นสีธรรมชาตคิ ะ โกเฮง : ดอกอัญชันครับบ้านผมมี มะนาว : แครอทค่ะ อนั ดา : ฟกั ทองค่ะ บา้ นหนูมีลูกใหญ่เลยคะ่ เมธนิ : ใบเตยครับ ทางที่ไปกนิ ข้าวครับมีเยอะครบั โปรแกรม: ถ้าได้สีธรรมชาตแิ ล้วเราเอามาทำขนมบวั ลอยกนั นะคะคุณครู หนูอยากทานค่ะ ครู : เดก็ ๆ เคยกินขนมบัวลอยสีอะไรบ้างคะ มะนาว : แมห่ นูเคยทำใหก้ นิ คะ่ แต่ไม่ไดใ้ สส่ ี โกเฮง : แม่ผมก็เคยทำให้กนิ ครับใส่สดี ว้ ย ครู : ใสส่ อี ะไรบา้ งคะ อนั ดา : อรอ่ ยมากค่ะ หวานๆ ใสไ่ ข่ด้วยค่ะ โกเฮง : ใส่สมี ่วงดอกอัญชนั ครับ เมธนิ : สีเขยี ว ใบเตยครบั ตน้ ขา้ ว : ง้นั เราเอามาทำสธี รรมชาตแิ ล้วผสมแป้งทำขนมบัวลอยกันนะคะ

ครูชกั ชวนเด็กๆ สนทนาตอ่ โดยถามว่า จากทีเ่ ดก็ ๆ ได้พดู ถึงขนมบวั ลอยจากสีธรรมชาติ เด็กๆคดิ ว่าจะ ทำอย่างไรจะได้ขนมบัวลอยจากสีธรรมชาติที่สวยงามมีสีสีนน่าทาน และถ้าใช้หลายสีจะได้ไหม ให้เด็ก คาดคะเนคำตอบ สนทนาและแสดงความคิดเห็น นำเสนอผลการคาดคะเนคำตอบวา่ ทำอย่างไรเราจะทำขนม บวั ลอยให้ได้หลายสีได้

4

ขั้นท่ี 3 ทดสอบและปฏบิ ตั ิการสบื เสาะ ทดสอบทำขนมบัวลอยให้ได้หลายสี โดยการใช้ ดอกอัญชนั ใบเตย แครอท ฟักทอง นำมาคั้นให้ได้น้ำ

สจี ากธรรมชาติ โดยครูให้นักเรียนรว่ มกนั ปฏิบัติการทดลองโดยการให้นักเรยี นผสมดอกอัญชนั ใบเตย แครอท ฟกั ทอง กบั น้ำเปลา่ และกรองเอาน้ำสมี าผสมกับแป้งข้าวเหนียว โดยแยกสีแต่ละสี ชนดิ แล้วให้เด็กๆ ช่วยกัน ปั้นเป็นลูกวงกลม จนแปง้ แต่ละสีหมด นำไปต้มจนสกุ (โดยมคี รูดูแลอย่างใกลช้ ดิ ) สงั เกตวา่ ถ้าลกู ไหนสุกลูกนั้น จะลอยขั้นมา และให้นักเรียนสังเกตดูว่าขนมบัวลอยเป็นสีเหมือนที่เราได้คั้นจากสีธรรมชาติ บันทึกผลการ ทดลอง

5

ขั้นที่ 4 สงั เกตและบรรยาย จากการทดลองโดยการนำสีธรรมชาตมิ าทำขนมบัวลอย เด็ก ๆ สงั เกตและบรรยาย ได้ข้อมูลสรปุ ดังน้ี ๑. ขนมบัวลอยเปล่ียนสี สีมว่ งจากดอกอญั ชัน สเี ขยี วจากใบเตย สเี หลอื งจากฟักทอง ๒. แครอทค้นั แลว้ ได้สีจางเลยไม่ออกสี ๓. ขนมบัวลอยที่ทำจากสีต่างๆ กลิน่ หอมต่างกนั แตร่ สชาติจืดเหมอื นกัน ๔. เรานำบัวลอยมาผสมกบั น้ำกะทิและนำ้ ตาล รสชาตหิ วานอร่อบเหมือนกนั

6

ขั้นตอนท่ี 5 บันทกึ ผล หลังจากการทดลองและการสังเกตเสรจ็ ส้นิ ลง ครใู หน้ กั เรียนบันทกึ ผลการทดลองดว้ ยการวาดภาพ

และระบายสี แล้วออกมานำเสนอหน้าชนั้ เรยี น

ขั้นตอนท่ี 6 สรุปและอภปิ รายผล เดก็ และครูสนทนารว่ มกนั เกี่ยวกับคำถามที่เด็กอยากรู้ “เราจะทำขนมบวั ลอยให้ได้หลายสีได้

อยา่ งไรคะ” โดยการสรปุ รว่ มกันจากการทดลองทำขนมบัวลอยใหไ้ ด้หลายสี โดยการใช้สจี ากธรรมชาติค้ันแล้ว มาผสมกับแป้งข้าวเหนยี ว ผลการทดลองสรปุ ได้ว่า

๑. ขนมบวั ลอยเปล่ียนสี สีม่วงจากดอกอญั ชัน สีเขยี วจากใบเตย สเี หลอื งจากฟักทอง ๒. แครอทค้ันแล้วไดส้ ีจางเลยไม่ออกสี ๓. แป้งขนมบวั ลอยท่ีทำจากสีต่างๆ กลิ่นหอมต่างกัน แตร่ สชาติจดื เหมือนกัน ๔. พอเรานำแป้งบัวลอยมาผสมกับนำ้ กะทิและน้ำตาล รสชาตอิ รอ่ บเหมือนกนั

7

ผลการพฒั นาความสามารถของเดก็ ปฐมวัย 1. ผลการพัฒนาความสามารถพืน้ ฐาน 4 ดา้ น ตามโครงการบา้ นนักวทิ ยาศาสตรน์ ้อย ประเทศไทย

1.1 ดา้ นการเรียนรู้ - เด็กรู้จกั ตั้งคำถามในส่ิงที่ตนเองสนใจ - เด็กได้ลงมอื ทดลองด้วยตนเอง โดยใชป้ ระสาทสัมผสั ทงั้ ห้า - เดก็ ได้เรียนรู้ในการคน้ หาคำตอบท่ีอยากรู้

1.2 ด้านภาษา - เด็กมีพัฒนาการด้านภาษาจากการสนทนาโตต้ อบแสดงความคิดเหน็ - พัฒนาทักษะดา้ นการนำเสนอผลงาน และการเล่าประสบการณ์ เร่ืองราวในชวี ิตประจำวนั

1.3 ด้านสังคม - เดก็ แสดงความคิดเห็นของตนเองและยอมรับฟง้ ความคิดเห็นของคนอ่ืน - เด็กเคารพกฎกติกาและปฏิบัติตามข้อตกลงของหอ้ งเรยี น - รู้จักช่วยเหลือแบง่ ปนั และให้โอกาสผ้อู น่ื ในการทำกจิ กรรมรว่ มกนั

๑.๔ ด้านการเคล่ือนไหว - เดก็ สามารถเคลื่อนไหวหยบิ จบั อุปกรณ์ในการทดลองได้อย่างคล่องแคล่ว

2. ผลการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 2.1 ทักษะการสงั เกต - เด็กสังเกตการ หยิบจบั สมั ผสั วสั ดุอุปกรณท์ ใี่ ช้ในการทดลองได้ - ใช้ประสาทสัมผัสในการดู การดมกลน่ิ สีจากธรรมชาติ การชมิ 2.๒ ทักษะการจำแนกประเภท - เปรยี บเทยี บความแตกต่างสีของบวั ลอย - เปรยี บเทยี บรสชาตขิ องบัวลอยทีม่ สี ีต่างกนั 2.๓ ทกั ษะการพยากรณห์ รือการคาดคะเนคำตอบ - เด็กสามารถคาดคะเนคำตอบท่คี ดิ วา่ บัวลอยผสมสแี ล้วจะเป็นอย่างไร 2.๔ ทกั ษะการหาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสเปสกบั สเปส และ สเปสกบั เวลา - เดก็ สามารถสรปุ ผลที่สงั เกต และทดลองโดยนำเสนอข้อมูลให้เพือ่ นในชั้นเรียนเขา้ ใจได้ 2.๕ ทักษะการลงความเหน็ จากข้อมูล

8

- เดก็ สามารถแสดงความคิดเหน็ เพ่มิ หรอื ใหเ้ หตุผลจากการสงั เกตทดลองได้โดยใช้ความ คดิ เห็นส่วนตัวได้

9

คำถามท่ี ๒ เราสามารถทำใหข้ ้าวมสี สี นั นา่ ทานได้ไหมคะ ขนั้ ท่ี ๑ เราสามารถทำใหข้ า้ วมีสีสันนา่ ทานได้ไหมคะ จดุ ประสงค์

เพ่อื ให้เดก็ ได้รู้การทำข้าวให้มีสสี ันตา่ งๆ และเปรยี บเทยี บสตี า่ งกัน

ขนั้ ท่ี 2 รวบรวมความคดิ และขอ้ สันนษิ ฐาน เดก็ และครสู นทนารว่ มกนั โดยครูใชค้ ำถามกระตนุ้ เพื่อให้ทราบประสบการณ์เดมิ ของเด็ก ๆ

เกีย่ วกบั การทำสธี รรมชาติจากผกั และผลไม้ เชน่ ตน้ ข้าว : ครูคะเราจะเอาสีธรรมชาติมาผสมทำอะไรอีกดีคะ โกเฮง : นอกจากนำสธี รรมชาตมิ าทำบวั ลอยแล้วครบั มะนาว : เราเอามาผสมข้าวของเราให้มสี สี ันน่าทานกนั นะคะ ครู : เด็ก ๆ เคยเห็นพอ่ แมห่ รอื ผูป้ กครองทำขา้ วตม้ ไหมคะ อันดา : หนเู คยเหน็ แม่ทำคะ่ ครู : ตอนทีแ่ มท่ ำแม่ทำอย่างไรคะ อนั ดา : แม่เอาข้าวมาแช่น้ำค่ะ มิเกล : แม่เอามาต้มผสมกะทิคะ่ ครู : เด็ก ๆ คิดวา่ เราจะทำแบบไหนดีคะ โปรแกรม: เอามาผสมกะทิค่ะคณุ ครู โกเฮง : แล้วเอามาหอ่ ใบตองตม้ คบั ต้นกล้า : หอ่ ใบตองนึง่ กไ็ ดค้ รับครู

ครูจึงถามเด็ก ๆ ว่าใครมีข้อสงสัยอย่างอืน่ เกี่ยวกบั สธี รรมชาติ เด็ก ๆ ส่วนใหญ่บอกวา่ อยากลองเอา ข้าวมาผสมสธี รรมชาติแลว้ นึง่

10

ข้นั ที่ 3 ทดสอบและปฏิบัติการสืบเสาะ ครูสนทนากับเด็ก โดยใช้คำถาม จากการที่เด็กๆ ได้เรียนรู้เรื่องสีธรรมชาติ เด็กๆมีคำถามต่อเนื่องว่า

“เราสามารถทำใหข้ า้ วมีสสี นั นา่ ทานไดไ้ หมคะ” เดก็ ๆจะมวี ิธกี ารหาคำตอบอยา่ งไรบ้าง ครู : เด็กๆ คดิ ว่าเราจะนำสธี รรมชาติจากอะไรบา้ งมาทำให้ข้าวมสี สี นั โกเฮง : ดอกอญั ชันคับ สมี ว่ ง ครู : แลว้ เดก็ ๆ จะใชก้ สี่ ีคะ มะนาว : สเี ขยี ว ใบเตยคะ่ โรงเรยี นเรามีเยอะค่ะ ครู : มีสจี ากอะไรอีกคะ น้องพลอย : เราใช้สขี าวจากข้าวดว้ ยค่ะครู ตน้ กล้า : เราเอาสธี รรมชาติมาลองผสมข้าวครบั สมาย : เอาเอาข้าวหอ่ ใบตองน่ึงคะ่ ครู ครู : เรามาทำการทดลองดูนะคะ วา่ ขา้ วจะเปลยี่ นสีไหม

เด็กและครูร่วมกันเตรียมวัสดุอุปกรณ์ ขั้นตอนการทดลองและการบันทึกผลการทดลอง โดยการใช้ ดอกอัญชัน ใบเตย นำมาคั้นให้ได้น้ำสีจากธรรมชาติ โดยครูให้นักเรียนร่วมกันปฏิบัติการทดลองโดยการให้ นักเรียนผสมดอกอญั ชนั ใบเตย กับนำ้ เปล่า และกรองเอาน้ำสี ตม้ นำ้ กะทิให้เดือดแลว้ มาผสมกับสีธรรมชาติใส่ ขา้ วสารลงไป โดยทำทีละหม้อแยกสีแตล่ ะสี แล้วใหเ้ ดก็ ๆ ช่วยกนั หอ่ ในใบตอง โดยตกั ขา้ วสใี ส่ใบตองสีละช้อน จนข้าวแต่ละสีหมด นำไปนึ่งจนสุก (โดยมีครูดูแลอย่างใกล้ชิด) สังเกตว่าถ้าสุกใบตองจะเหลืองอ่อน และให้ นักเรียนสังเกตดูว่าขา้ วห่อใบตองนง่ึ เป็นสีเหมือนทีเ่ ราได้คน้ั จากสีธรรมชาติ บันทกึ ผลการทดลอง

11

12

ข้นั ที่ 4 สงั เกตและบรรยาย เดก็ ๆ สังเกตและบรรยาย จากการทดลองทำให้ขา้ วมสี ีสนั จากสธี รรมชาติ ครสู นทนาและใชค้ ำถาม

กระตุน้ ใหเ้ ด็กคิดออกแบบวธิ ีบันทึกผลการสืบคน้ และการนำเสนอผลงานของตนดังน้ี ต้นข้าว : ขา้ วผสมสนี ้ำดอกอัญชันไดส้ ีม่วงค่ะ สมาย : ข้าวผสมสีน้ำใบเตยไดส้ เี ขยี วคะ่ อันดา : เมอื่ เราผสมขา้ วแตล่ ะสใี สใ่ นห่อเดยี วกันได้สีสวยงามมากค่ะ โกเฮง : หอมใบเตย ดอกอัญชัน และใบตองครับ โปรแกรม : อร่อยดว้ ยค่ะ หลงั จากที่เดก็ ๆ ได้ทดลองและสงั เกตแล้ว เด็กๆ ไดว้ าดภาพการทดลอง

13

ขั้นตอนที่ 5 บันทกึ ผล ให้เดก็ ๆแต่ละคนบนั ทึกผลการทดลอง วาดภาพระบายสขี นมบัวลอยและขา้ วสจี ากธรรมชาติ และ

นำเสนอผลงาน

14

ข้ันตอนที่ 6 สรปุ และอภปิ รายผล ครูและเด็กร่วมสนทนาถึงคำถามที่เด็กอยากรู้ “เราสามารถทำให้ข้าวมีสีสันน่าทานได้ไหมคะ” โดย

การสรปุ รว่ มกนั จากสง่ิ ทีไ่ ด้ทดลอง โกเฮง : เราเอาสจี ากธรรมชาติ สมี ว่ งจากดอกอัญชัน สเี ขียวจากใบเตย มาผสมขา้ วครบั มะนาว : เอาสีธรรมชาติมาผสมข้าวแลว้ ไดส้ สี วยคะ่ อนั ดา : ใส่ขา้ วหลายสีในหอ่ เดียวสกุ มานา่ ทานมากค่ะ ต้นข้าว : อรอ่ ยมากค่ะ สสี วยด้วยค่ะ อนั ดา : หอมกลิ่นใบเตย กล่ินใบตองค่ะ

ผลการพฒั นาความสามารถของเดก็ ปฐมวัย 1. ผลการพัฒนาความสามารถพ้ืนฐาน 4 ดา้ น ตามโครงการบา้ นนกั วิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย

1.1 ด้านการเรียนรู้ - เด็กรู้จกั ต้ังคำถามในสิง่ ท่ีตนเองสนใจ - เด็กไดล้ งมอื ทดลองด้วยตนเอง โดยใชป้ ระสาทสัมผสั ทง้ั หา้ - เด็กได้เรียนรู้ในการค้นหาคำตอบที่อยากรู้

1.2 ดา้ นภาษา - เด็กอธบิ ายสงิ่ ที่เกิดขนึ้ จากการทดลองดว้ ยตนเอง - เด็กนำเสนอผลงานจากการค้นพบดว้ ยตนเอง

1.3 ดา้ นสงั คม - เดก็ สามารถรว่ มงานกับผู้อ่นื ได้ - เด็กแสดงความคิดเห็นของตนเองและยอมรบั ฟ้งความคดิ เห็นของคนอ่นื

๑.๔ ดา้ นการเคลอ่ื นไหว - เด็กสามารถเคลอื่ นไหวหยบิ จบั อปุ กรณ์ในการทดลองได้อย่างคลอ่ งแคล่ว

2. ผลการพัฒนาทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 2.1 ทักษะการสังเกต - เดก็ สังเกตการ หยิบจับ สัมผัส วัสดอุ ุปกรณท์ ่ใี ชใ้ นการทดลองได้ - ใช้ประสาทสัมผสั ในการดู การดมกลน่ิ สีจากธรรมชาติ การชมิ

15

2.๒ ทกั ษะการจำแนกประเภท - เปรียบเทียบความแตกต่างสีของข้าว - เปรียบเทยี บรสชาตขิ องข้าวที่มีสตี า่ งกัน

2.๓ ทกั ษะการพยากรณห์ รือการคาดคะเนคำตอบ - เด็กสามารถคาดคะเนคำตอบท่ีคิดวา่ ข้าวผสมสีแลว้ จะเป็นอย่างไร

2.๔ ทักษะการหาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสเปสกับสเปส และ สเปสกบั เวลา - เดก็ สามารถสรปุ ผลท่ีสงั เกต และทดลองโดยนำเสนอข้อมูลให้เพ่ือนในชัน้ เรียนเข้าใจได้

2.๕ ทักษะการลงความเหน็ จากข้อมูล - เด็กสามารถแสดงความคิดเหน็ เพิม่ หรอื ใหเ้ หตุผลจากการสงั เกตทดลองได้โดยใช้ความ คิดเห็นสว่ นตัวได้

16

ภาคผนวก

17

18

19

กิจกรรมบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ปฐมวัย มีอะไรบ้าง

กิจกรรมที่๑ เมล็ดถั่วเต้นระบำ ๑ กิจกรรมที่๒ งูเต้นระบำ ๔ กิจกรรมที่๓ ภูเขาไฟจำลอง ๗ กิจกรรมที่๔ ลูกข่างหลากสี ๑๐ กิจกรรมที่๕ การไหลผ่านของน้ำ ๑๓ กิจกรรมที่๖ กระจกกับภาพน่าพิศวง ๑๖ กิจกรรมที่๗ การหักเหของแสงสีขาว ๑๙ กิจกรรมที่๘ ส่องกระจก ๒๒ กิจกรรมที่๙ จมหรือลอย ๒๕ กิจกรรมที่๑๐ แรงตึงผิว ๒๘ กิจกรรมที่๑๑ เป่าฟองสบู่ ๓๑ ...

โครงงานวิทยาศาสตร์ปฐมวัย มีกี่ทักษะ

ทั้งนี้ในระดับปฐมวัย มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง 8 ทักษะ ได้แก่ การสังเกต การวัด การจาแนก การหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติกับมิติและมิติกับเวลา การคานวณ การจัดกระทาและสื่อความหมายข้อมูล การลงความคิดเห็นจากข้อมูล และการพยากรณ์ ตัวอย่างคาถามเพื่อการพัฒนาพฤติกรรมของผู้เรียนให้มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

มุมวิทยาศาสตร์ ปฐมวัย มีอะไรบ้าง

มุมวิทยาศาสตร์ ประกอบสื่อ ด้วยวัสดุต่าง ๆ จากธรรมชาติ เช่น เมล็ดพืชต่าง ๆ เปลือกหอย ดิน หิน แร่ ต้นไม้ รวมถึงเครื่องมือใช้ในการสำรวจ สังเกต ทดลอง เช่น แวนขยาย แม่เหล็ก เข็มทิศ เครื่องชั่ง ฯลฯ มุมดนตรี

บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย มีกี่กิจกรรม

กิจกรรมวิชาการในงานที่ท่านจะได้พบ “9 กิจกรรมบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยเพื่อความยั่งยืน” ที่จะแสดงให้เห็นว่าคุณครูสามารถจัดประสบการณ์เพื่อส่งเสริมให้เด็กตระหนักถึงการศึกษาเพื่อพัฒนาอย่างยั่งยืน ผ่านหัวข้อกิจกรรมการสืบเสาะบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย