สอนศาสตร ม.ปลาย ช วว ทยา ระบบส บพ นธ เพศหญ ง

สอนศาสตร ม.ปลาย ช วว ทยา ระบบส บพ นธ เพศหญ ง

t.kruyok004 Download

  • Publications :0
  • Followers :0

หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ม.ปลาย

2หลักสูตรวิทย์ ม.ปลาย โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา ปรับปรุง 2562

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

View Text Version Likes : 0 Category : All Report

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ม.ปลาย

๗. อธบิ ายภาวะภมู ิคุ้มกนั บกพรอ่ งท่ีมี • บุคคลท่ไี ดร้ บั เลือดหรอื สารคดั หลัง่ ทม่ี ีเชอื้ HIVซึ่ง

สาเหตมุ าจากการตดิ เชื้อ HIV สามารถทาลายเซลลท์ ี ทาใหภ้ ูมคิ ุ้มกันบกพร่อง

และติดเช้ือต่าง ๆ ไดง้ ่ายขึน้

๘. ทดสอบ และบอกชนดิ ของ • กระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสงเปน็ จดุ เรมิ่ ต้น

สารอาหารท่พี ชื สงั เคราะห์ได้ ของการสรา้ งน้าตาลในพืช พืชเปลยี่ นนา้ ตาลไป

เปน็ สารอาหารและสารอ่นื ๆ เช่น คาร์โบไฮเดรต

โปรตนี ไขมัน ที่จาเปน็ ตอ่ การดารงชวี ิตของพชื

และสตั ว์

๙. สืบคน้ ข้อมลู อภิปราย และ • มนษุ ย์สามารถนาสารตา่ ง ๆ ท่ีพืชบางชนดิ สรา้ ง

ยกตวั อยา่ งเกี่ยวกบั การใชป้ ระโยชน์ ขึ้น ไปใช้ประโยชน์ เชน่ ใชเ้ ปน็ ยาหรอื สมนุ ไพรใน

จากสารตา่ ง ๆ ที่พชื บางชนิดสร้างขนึ้ การรักษาโรคบางชนดิ ใชใ้ นการไลแ่ มลง กาจดั

ศตั รพู ืชและสตั ว์ ใช้ในการยับย้งั การเจริญเติบโต

ของแบคทีเรยี และใช้เป็นวัตถดุ บิ ในอตุ สาหกรรม

๑๐. ออกแบบการทดลอง ทดลอง • ปจั จยั ภายนอกทม่ี ีผลต่อการเจรญิ เติบโต เช่น

และอธิบายเก่ียวกับปจั จัยภายนอกทม่ี ี แสง น้า ธาตอุ าหาร คาร์บอนไดออกไซด์ และ

ผลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพืช ออกซเิ จนปัจจยั ภายใน เชน่ ฮอร์โมนพืช ซึง่ พชื มี

การสงั เคราะหข์ ้ึน เพื่อควบคมุ การเจริญเตบิ โต

ในช่วงชวี ติ ต่าง ๆ

๑๑

ชัน้ ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ม.๔ ๑๑. สบื คน้ ข้อมลู เกีย่ วกับสารควบคมุ • มนษุ ย์มกี ารสังเคราะหส์ ารควบคมุ การ

การเจริญเตบิ โตของพืชทม่ี นษุ ย์ เจริญเตบิ โตของพชื โดยเลียนแบบฮอรโ์ มนพชื เพ่อื

สงั เคราะหข์ น้ึ และยกตัวอย่างการนามา นามาใชค้ วบคุมการเจริญเตบิ โตและเพ่ิมผลผลิต

ประยกุ ตใ์ ชท้ างดา้ นการเกษตรของพชื ของพืช

๑๒. สังเกต และอธบิ ายการตอบสนอง • การตอบสนองตอ่ สิ่งเรา้ ของพชื แบง่ ตาม

ของพชื ต่อสง่ิ เรา้ ในรปู แบบต่าง ๆ ทม่ี ี ความสัมพันธก์ บั ทศิ ทางของส่งิ เร้าได้ ไดแ้ ก่ แบบที่

ผลตอ่ การดารงชวี ิต มที ศิ ทางสมั พนั ธก์ บั ทิศทางของสิ่งเรา้ เชน่ ดอก

ทานตะวนั หนั เขา้ หาแสง ปลายรากเจรญิ เข้าหาแรง

โนม้ ถ่วงของโลก และแบบท่ีไมม่ ที ิศทางสมั พนั ธ์กบั

ทศิ ทางของสิง่ เร้า เชน่ การหุบและบานของดอก

หรือการหุบและกางของใบพชื บางชนิด

• การตอบสนองต่อสง่ิ เรา้ ของพืชบางอย่างส่งผลต่อ

การเจริญเติบโต เชน่ การเจรญิ ในทิศทางเขา้ หา

หรอื ตรงข้ามกับแรงโนม้ ถว่ งของโลก การเจริญใน

ทิศทางเข้าหาหรือตรงข้ามกับแสง และการ

ตอบสนองตอ่ การสมั ผสั สง่ิ เรา้

ม.5 - -

ม.6 - -

๑๒

มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสาคญั ของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธกุ รรม การเปลี่ยนแปลงทางพนั ธุกรรมท่ีมีผลตอ่ สง่ิ มีชีวติ ความหลากหลาย ทางชวี ภาพและวิวัฒนาการของส่งิ มชี วี ติ รวมทง้ั นาความร้ไู ปใช้ประโยชน์

ชนั้ ตวั ชี้วัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง

ม.๔ ๑. อธบิ ายความสมั พนั ธ์ระหว่างยีน • ดเี อน็ เอ มีโครงสรา้ งประกอบดว้ ยนิวคลีโอไทดม์ า

การสังเคราะหโ์ ปรตนี และลักษณะ เรยี งตอ่ กนั โดยยีนเปน็ ช่วงของสายดีเอน็ เอทีม่ ลี าดับนิ

ทางพนั ธุกรรม วคลีโอไทด์ ท่กี าหนดลกั ษณะของโปรตีนท่ีสังเคราะห์

ขึ้น ซ่งึ ส่งผลให้เกิดลักษณะทางพนั ธกุ รรมต่าง ๆ

๒. อธบิ ายหลกั การถา่ ยทอด • ลกั ษณะบางลกั ษณะมีโอกาสพบในเพศชายและเพศ

ลกั ษณะท่ถี กู ควบคมุ ด้วยยีนท่อี ย่บู น หญิงไม่เท่ากนั เช่น ตาบอดสี และฮโี มฟีเลีย ซงึ่

โครโมโซมเพศและมัลติเปิลแอลลีล ควบคมุ โดยยีน บนโครโมโซมเพศ บางลักษณะมีการ

ควบคุมโดยยนี แบบมัลติเปิลแอลลีล เช่น หมเู่ ลือด

ระบบ ABO ซ่งึ การถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม

ดงั กล่าวจดั เปน็ สว่ นขยายของพนั ธุศาสตรเ์ มนเดล

๓. อธิบายผลท่ีเกดิ จากการ • มวิ เทชันท่เี ปล่ียนแปลงลาดบั นิวคลีโอไทด์ หรอื

เปล่ยี นแปลงลาดับนิวคลโี อไทด์ในดี เปล่ียนแปลงโครงสรา้ งหรือจานวนโครโมโซมอาจ

เอน็ เอตอ่ การแสดงลกั ษณะของ สง่ ผลทาให้ลกั ษณะของส่ิงมีชีวิตเปลย่ี นแปลงไปจาก

สงิ่ มีชวี ิต เดมิ ซึ่งอาจมผี ลดีหรือผลเสีย

๔. สืบคน้ ขอ้ มลู และยกตวั อย่างการ • มนุษย์ใชห้ ลกั การของการเกดิ มวิ เทชันในการ ชกั นา

นามิวเทชนั ไปใช้ประโยชน์ ให้ไดส้ ่ิงมีชีวติ ท่มี ลี กั ษณะท่ีแตกตา่ งจากเดิม โดยการใช้

รงั สี และสารเคมีตา่ ง ๆ

๕. สบื ค้นข้อมลู และอภปิ รายผล • มนุษยน์ าความรเู้ ทคโนโลยที างดีเอน็ เอ

ของเทคโนโลยีทางดีเอน็ เอทีม่ ตี ่อ มาประยกุ ตใ์ ชท้ างดา้ นการแพทย์ และเภสชั กรรม เช่น

มนษุ ย์ และส่งิ แวดล้อม การสร้างส่งิ มีชีวติ ดดั แปรพนั ธุกรรม เพ่อื ผลติ ยาและ

วคั ซนี ดา้ นการเกษตร เช่น พืชดดั แปรพันธกุ รรมท่ี

ตา้ นทานโรคหรือแมลง สตั ว์ดัดแปรพนั ธกุ รรมท่ีมี

ลักษณะตามทีต่ อ้ งการและด้านนติ วิ ทิ ยาศาสตร์

เช่น การตรวจลายพิมพด์ เี อ็นเอเพื่อหาความสัมพันธ์

ทางสายเลอื ด หรือเพ่อื หาผ้กู ระทาผดิ

• การใช้เทคโนโลยที างดเี อน็ เอในดา้ น ต่าง ๆ

องคานึงถึงความปลอดภยั ทางชีวภาพชวี จริยธรรมและ

ผลกระทบทางด้านสังคม

๑๓

ช้ัน ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

๖. สบื คน้ ข้อมลู อธบิ าย และ • ส่งิ มีชวี ติ ท่ีมอี ยูใ่ นปัจจบุ ันมีลกั ษณะทีป่ รากฏใหเ้ หน็

ยกตัวอย่างความหลากหลายของ แตกตา่ งกนั ซงึ่ เป็นผลมาจากความหลากหลายของ

สงิ่ มีชีวิตซ่ึงเป็นผลมาจาก ลักษณะทางพนั ธุกรรม ซง่ึ เกดิ จากมวิ เทชัน ร่วมกบั

วิวฒั นาการ การคดั เลือกโดยธรรมชาติ

• ผลจากกระบวนการคดั เลือกโดยธรรมชาตทิ าให้

สง่ิ มชี วี ิตท่ีมีลักษณะเหมาะสมในการดารงชีวิต

สามารถปรับตัวใหอ้ ยู่รอดได้ในส่ิงแวดล้อมน้นั ๆ

• กระบวนการคัดเลอื กโดยธรรมชาติเปน็ หลกั การท่ี

สาคัญอยา่ งหน่ึงทีท่ าให้เกิดววิ ัฒนาการของสิง่ มีชีวิต

ม.5 - -

ม.6 - -

๑๔

วิทยาศาสตร์เพ่มิ เติม

วิทยาศาสตรเ์ พม่ิ เตมิ จัดทาขึ้นสาหรบั ผเู้ รยี นในระดบั ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ ท่ีจาเป็นต้องเรียนเนือ้ หาในสาระชีววิทยา เคมี ฟิสิกส์ และโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ซ่งึ เปน็ พ้นื ฐานสาคัญและเพยี งพอสาหรบั การศกึ ษาต่อในระดบั อดุ มศกึ ษา ในดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เพอื่ ประกอบวิชาชีพในสาขาท่ใี ช้วิทยาศาสตรเ์ ปน็ ฐาน เช่น แพทย์ ทนั ตแพทย์ สตั วแพทย์ เทคโนโลยชี ีวภาพ เทคนคิ การแพทย์ วิศวกรรม สถาปตั ยกรรม ฯลฯ โดยมผี ลการเรียนรู้ ทีค่ รอบคลมุ ดา้ นเนื้อหา ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑ รวมทง้ั จิตวทิ ยาศาสตร์ทผ่ี ้เู รยี นจาเป็นตอ้ งมี วทิ ยาศาสตร์เพมิ่ เตมิ นี้ ได้มีการปรับปรุงเพ่อื ใหม้ เี นอ้ื หา ทท่ี ดั เทยี มกบั นานาชาติ เนน้ กระบวนการคดิ วเิ คราะห์และการแก้ปัญหา รวมทง้ั เช่อื มโยงความรู้สู่การ นาไปใช้ในชวี ติ จริง สรปุ ไดด้ ังนี้

๑. ลดความซา้ ซอ้ นของเนอื้ หาระหวา่ งตัวชว้ี ดั ในรายวิชาพืน้ ฐานและผลการเรียนรู้ รายวชิ าเพิ่มเติม เพ่อื ให้ผ้เู รยี นได้มีเวลาสาหรบั การเรียนรู้ และทาปฏบิ ตั กิ ารทางวทิ ยาศาสตร์เพ่ิมขน้ึ

๒. ลดความซา้ ซ้อนของเน้อื หาระหว่างสาระชีววทิ ยา เคมี ฟิสกิ ส์ และโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ โดยมกี ารพิจารณาเน้ือหาที่มคี วามซา้ ซ้อนกนั แล้วจัดให้เรยี นท่สี าระใดสาระหนึ่ง เชน่

- เรื่องสารชีวโมเลกลุ เดิมเรียนทงั้ ในสาระชวี วทิ ยา และเคมี ไดพ้ ิจารณาแลว้ จัด ให้เรียนในสาระชีววิทยา

- เรื่องปโิ ตรเลียม เดมิ เรียนท้งั ในสาระเคมี และโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ไดพ้ ิจารณาแล้วจัดใหเ้ รียนในสาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ

- เรื่องกฎของบอยล์ กฎของชาร์ล ไอโซโทปกมั มนั ตรังสี ไดพ้ ิจารณาแล้วจัดให้ เรยี นในสาระเคมี และเรอ่ื งพลงั งานนวิ เคลยี ร์ จดั ให้เรียนในสาระฟิสกิ ส์ เนื่องจากเดิมเน้ือหาเหล่าน้ี ทบั ซ้อนกนั ในสาระเคมีและฟสิ ิกส์

- เรอ่ื งการทดลองของทอมสนั และการทดลองของมลิ ลแิ กน เดมิ เรียนทง้ั ในสาระ เคมี และฟสิ ิกส์ ไดพ้ ิจารณาแลว้ จัดใหเ้ รียนในสาระเคมี

๓. ลดความซา้ ซอ้ นกันระหวา่ งระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ และระดับมัธยมศกึ ษา ตอนปลาย เชน่

- เรอ่ื งระบบนเิ วศและสิ่งแวดล้อมในสาระชวี วทิ ยา ได้ปรบั ใหส้ าระการเรยี นรู้ เนอื้ หา และกจิ กรรม มีความแตกตา่ งกนั ตามความเหมาะสมของระดับผ้เู รียน

- เรอื่ งเทคโนโลยอี วกาศ การเกดิ ลม การเปลีย่ นแปลงอุณหภมู ขิ องโลก พายุ และมรสมุ ไดม้ ีการปรับใหส้ าระการเรยี นรู้ เนื้อหา และกิจกรรม เรียนตอ่ เนอ่ื งกันจากระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ไปสู่ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย เพอ่ื ไม่ให้ทับซอ้ นกนั

๔. ลดทอนเนอ้ื หาท่ยี าก เพือ่ ใหเ้ หมาะสมกับกล่มุ ของผู้เรยี นในระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ๕. มกี ารเพิม่ เน้อื หาดา้ นต่าง ๆ ท่มี ีความทนั สมัย สอดคลอ้ งตอ่ การดารงชีวิต ในปจั จุบนั และอนาคตมากขนึ้ เชน่ เรอื่ งเทคโนโลยที างดีเอ็นเอ ทม่ี ีตอ่ มนษุ ย์และสิง่ แวดล้อมใน สาระชวี วทิ ยา เรือ่ งทักษะและความปลอดภัยในปฏบิ ตั ิการเคมี นวตั กรรมและการแก้ปญั หา ทเี่ น้นการบูรณาการในสาระเคมี เร่ืองเทคโนโลยดี ้านพลงั งานและสิ่งแวดลอ้ ม การสอื่ สาร

๑๕

ด้วยสัญญาณดจิ ิทลั ท่เี หมาะสมกับสังคมและเศรษฐกิจดจิ ิทลั ในปจั จบุ ัน รวมทง้ั เนือ้ หาเกีย่ วกบั การคน้ คว้าวจิ ัยดา้ นฟสิ กิ สอ์ นุภาค เพอื่ ความสอดคล้องกับความกา้ วหนา้ ของวิชาฟสิ ิกสใ์ นปัจจุบนั วิทยาศาสตร์เพมิ่ เตมิ นี้ ถงึ แมว้ า่ สถานศกึ ษาสามารถจัดใหผ้ ูเ้ รยี นได้เรยี นตามความ เหมาะสมและตามจุดเน้นของสถานศกึ ษา แตใ่ นแนวทางปฏบิ ตั สิ ถานศกึ ษาควรจดั ใหผ้ ู้เรยี น ไดเ้ รียนทกุ สาระเพอื่ ใหม้ คี วามรูเ้ พยี งพอในการนาไปใชเ้ พอ่ื การศกึ ษาต่อ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงเนื้อหา ของสาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ท่ีสถานศกึ ษามกั มองขา้ มความสาคัญของการเรยี นสาระน้ี ซ่งึ เป็นการบรู ณาการความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ ทัง้ ฟสิ กิ ส์ เคมี และชวี วทิ ยา รวมทั้งศาสตร์อื่น ๆ ที่เก่ียวขอ้ ง เพอื่ มาช่วยในการอธบิ ายและเข้าใจปรากฏการณต์ า่ ง ๆ ในธรรมชาติ ท้ังการเปลีย่ นแปลง บนผิวโลก การเปล่ียนแปลงภายในโลก และการเปลี่ยนแปลงทางลมฟา้ อากาศ ซงึ่ กระบวนการ เปลีย่ นแปลงทงั้ หมดดังกล่าวล้วนส่งผลซ่งึ กันและกัน รวมท้งั ส่ิงมีชวี ติ ดว้ ย และท่ีสาคัญคือ ความรู้ ในสาระนส้ี ามารถนาไปใช้ในการศกึ ษาต่อเพ่ือประกอบอาชีพในหลาย ๆ ด้าน เช่น อาชีพท่ีเกีย่ วกบั วัสดุศาสตร์ การเดนิ เรือ การบิน การเกษตร การศึกษาประวตั ศิ าสตร์ วิศวกร อตุ สาหกรรมนา้ มัน เหมอื ง นักธรณีวิทยา นักอุตนุ ยิ มวิทยา นกั ดาราศาสตร์ นกั บินอวกาศ ดังน้ันพ้นื ฐานความร้สู าระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ จะชว่ ยเปดิ โอกาสทางดา้ นอาชีพที่หลากหลายใหก้ ับผเู้ รียน เพราะ ในอนาคตขา้ งหนา้ นอกจากมนษุ ย์จะต้องมคี วามเข้าใจเก่ยี วกบั โลกทต่ี ัวเองอาศัยอยูแ่ ล้ว ยงั ตอ้ งพฒั นา ตนเองเพ่ือศึกษาขอ้ มูลตา่ ง ๆ ที่อยนู่ อกโลกเพ่ือนาข้อมลู เหลา่ น้ันกลับมาพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ใหด้ ขี ึน้

เรียนรูอ้ ะไรในวทิ ยาศาสตร์เพิม่ เติม

วทิ ยาศาสตร์เพมิ่ เติม ผเู้ รียนจะได้เรียนรสู้ าระสาคญั ดงั นี้

✧ ชวี วิทยา เรียนร้เู กี่ยวกบั การศึกษาชีววิทยา สารท่เี ป็นองคป์ ระกอบของ ส่งิ มชี ีวิต เซลลข์ องสิง่ มชี วี ติ พันธกุ รรมและการถ่ายทอด ววิ ัฒนาการ ความหลากหลายทางชวี ภาพ โครงสร้างและการทางานของสว่ นต่าง ๆ ในพืชดอก ระบบและการทางานในอวยั วะตา่ ง ๆ ของสัตว์ และมนุษย์ และสิง่ มีชีวติ และสิ่งแวดลอ้ ม

✧ เคมี เรียนรูเ้ กีย่ วกบั ปริมาณสาร องคป์ ระกอบและสมบัตขิ องสาร การเปลี่ยนแปลง ของสาร ทกั ษะและการแก้ปญั หาทางเคมี

✧ ฟสิ กิ ส์ เรยี นรเู้ กี่ยวกบั ธรรมชาติและการค้นพบทางฟสิ ิกส์ แรงและการเคล่ือนที่ และพลังงาน

✧ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เรียนรู้เกีย่ วกับ โลกและกระบวนการเปลีย่ นแปลง ทางธรณีวิทยา ข้อมูลทางธรณวี ทิ ยาและการนาไปใช้ประโยชน์ การถา่ ยโอนพลงั งานความร้อนของโลก การเปลีย่ นแปลงลักษณะลมฟา้ อากาศกบั การดารงชีวิตของมนษุ ย์ โลกในเอกภพ และดาราศาสตร์ กับมนษุ ย์

๑๖

สาระวทิ ยาศาสตร์เพ่มิ เติม

สาระชวี วทิ ยา ๑. เข้าใจธรรมชาตขิ องสง่ิ มชี ีวติ การศึกษาชีววิทยาและวธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ สาร ท่เี ป็นองคป์ ระกอบของสิ่งมชี วี ติ ปฏกิ ิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมชี ีวิต กลอ้ งจลุ ทรรศน์ โครงสร้างและ หนา้ ทขี่ องเซลล์ การลาเลยี งสารเขา้ และออกจากเซลล์ การแบง่ เซลล์ และการหายใจระดับเซลล์ ๒. เข้าใจการถา่ ยทอดลักษณะทางพันธกุ รรม การถา่ ยทอดยนี บนโครโมโซม สมบัติ และหนา้ ท่ีของสารพนั ธกุ รรม การเกดิ มวิ เทชัน เทคโนโลยที างดีเอน็ เอ หลักฐานข้อมลู และแนวคดิ เก่ียวกบั ววิ ัฒนาการของส่ิงมชี ีวติ ภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก การเกดิ สปชี ีสใ์ หม่ ความหลากหลาย ทางชวี ภาพ กาเนิดของสงิ่ มีชีวติ ความหลากหลายของส่ิงมีชวี ิต และอนกุ รมวิธาน รวมท้ังนาความรู้ ไปใชป้ ระโยชน์ ๓. เข้าใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปลย่ี นแกส๊ และคายน้าของพชื การลาเลียง ของพืช การสังเคราะหด์ ้วยแสง การสืบพันธ์ุของพืชดอกและการเจรญิ เตบิ โต และการตอบสนอง ของพชื รวมท้งั นาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ ๔. เข้าใจการยอ่ ยอาหารของสัตว์และมนุษย์ การหายใจและการแลกเปลย่ี นแก๊ส การลาเลียงสารและการหมนุ เวยี นเลือด ภมู ิคุม้ กนั ของร่างกาย การขบั ถ่าย การรับรแู้ ละการตอบสนอง การเคลือ่ นที่ การสืบพนั ธ์ุและการเจริญเตบิ โต ฮอรโ์ มนกบั การรกั ษาดลุ ยภาพ และพฤติกรรม ของสัตว์ รวมทง้ั นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ๕. เข้าใจแนวคิดเก่ียวกบั ระบบนิเวศ กระบวนการถา่ ยทอดพลังงานและการหมุนเวียน สารในระบบนิเวศ ความหลากหลายของไบโอม การเปลยี่ นแปลงแทนทขี่ องสงิ่ มีชีวติ ในระบบนิเวศ ประชากรและรูปแบบการเพ่มิ ของประชากร ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม ปญั หาและ ผลกระทบทีเ่ กดิ จากการใช้ประโยชน์ และแนวทางการแกไ้ ขปัญหา สาระเคมี ๑. เขา้ ใจโครงสรา้ งอะตอม การจดั เรยี งธาตุในตารางธาตุ สมบตั ิของธาตุ พันธะเคมี และสมบตั ิของสาร แกส๊ และสมบตั ขิ องแกส๊ ประเภทและสมบตั ิของสารประกอบอนิ ทรยี ์และพอลเิ มอร์ รวมทง้ั การนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ๒. เข้าใจการเขียนและการดลุ สมการเคมี ปรมิ าณสมั พันธ์ในปฏิกริ ยิ าเคมี อตั ราการเกิด ปฏกิ ิรยิ าเคมี สมดลุ ในปฏิกิรยิ าเคมี สมบตั แิ ละปฏิกิรยิ าของกรด-เบส ปฏกิ ริ ยิ ารดี อกซ์และเซลลเ์ คมี ไฟฟ้า รวมทั้งการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ๓. เขา้ ใจหลกั การทาปฏิบัติการเคมี การวัดปริมาณสาร หน่วยวดั และการเปลย่ี นหน่วย การคานวณปรมิ าณของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย รวมทัง้ การบูรณาการความรแู้ ละทักษะ ในการอธบิ ายปรากฏการณใ์ นชีวติ ประจาวันและการแกป้ ญั หาทางเคมี สาระฟสิ กิ ส์ ๑. เข้าใจธรรมชาตทิ างฟิสกิ ส์ ปรมิ าณและกระบวนการวดั การเคล่ือนที่แนวตรง แรงและกฎการเคลอื่ นท่ขี องนวิ ตัน กฎความโนม้ ถว่ งสากล แรงเสียดทานสมดลุ กลของวัตถุ งานและกฎการอนรุ ักษพ์ ลังงานกล โมเมนตัมและกฎการอนรุ ักษ์โมเมนตมั การเคล่ือนทีแ่ นวโค้ง รวมท้ังนาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์

๑๗

๒. เขา้ ใจการเคลื่อนทแ่ี บบฮาร์มอนกิ สอ์ ยา่ งงา่ ย ธรรมชาตขิ องคล่นื เสยี งและ การไดย้ ิน ปรากฏการณ์ที่เกย่ี วขอ้ งกับเสียง แสงและการเหน็ ปรากฏการณท์ ี่เกยี่ วขอ้ งกบั แสง รวมท้ังนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

๓. เข้าใจแรงไฟฟ้าและกฎของคลู อมบ์ สนามไฟฟ้า ศักยไ์ ฟฟ้า ความจไุ ฟฟา้ กระแสไฟฟา้ และกฎของโอห์ม วงจรไฟฟ้ากระแสตรง พลงั งานไฟฟา้ และกาลงั ไฟฟา้ การเปลี่ยนพลงั งานทดแทน เปน็ พลังงานไฟฟา้ สนามแมเ่ หล็ก แรงแมเ่ หลก็ ที่กระทากบั ประจุไฟฟา้ และกระแสไฟฟา้ การเหนย่ี วนา แม่เหลก็ ไฟฟ้าและกฎของฟาราเดย์ ไฟฟ้ากระแสสลบั คลน่ื แม่เหล็กไฟฟา้ และการสอ่ื สาร รวมท้ัง นาความร้ไู ปใช้ประโยชน์

๔. เข้าใจความสัมพนั ธข์ องความรอ้ นกบั การเปล่ียนอณุ หภมู ิและสถานะของสสาร สภาพยดื หยุ่นของวสั ดุและมอดุลสั ของยัง ความดันในของไหล แรงพยุง และหลกั ของอาร์คิมีดสี ความตึงผิวและแรงหนืดของของเหลว ของไหลอดุ มคติ และสมการแบร์นูลลี กฎของแกส๊ ทฤษฎีจลน์ ของแกส๊ อดุ มคติและพลงั งานในระบบ ทฤษฎีอะตอมของโบร์ ปรากฏการณโ์ ฟโตอเิ ล็กทรกิ ทวิภาวะ ของคลืน่ และอนุภาค กมั มันตภาพรังสี แรงนิวเคลยี ร์ ปฏิกิริยานวิ เคลียร์ พลงั งานนวิ เคลียร์ ฟสิ กิ ส์ อนภุ าค รวมท้ังนาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์

สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ๑. เขา้ ใจกระบวนการเปลีย่ นแปลงภายในโลก ธรณีพบิ ตั ภิ ัยและผลตอ่ สง่ิ มชี ีวิต และส่ิงแวดลอ้ ม รวมทั้งการศึกษาลาดับช้นั หนิ ทรัพยากรธรณี แผนที่ และการนาไปใช้ประโยชน์ ๒. เขา้ ใจสมดลุ พลงั งานของโลก การหมนุ เวียนของอากาศบนโลก การหมนุ เวยี นของนา้ ในมหาสมทุ ร การเกิดเมฆ การเปลยี่ นแปลงภมู อิ ากาศโลกและผลตอ่ สง่ิ มชี วี ติ และสงิ่ แวดล้อม รวมทงั้ การพยากรณ์อากาศ ๓. เขา้ ใจองคป์ ระกอบ ลักษณะ กระบวนการเกดิ และววิ ฒั นาการของเอกภพ กาแลก็ ซี ดาวฤกษ์ และระบบสรุ ิยะ ความสมั พนั ธ์ของดาราศาสตร์กับมนุษยจ์ ากการศกึ ษาตาแหนง่ ดาวบนทรงกลมฟา้ และปฏิสมั พนั ธ์ภายในระบบสรุ ยิ ะ รวมทงั้ การประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยีอวกาศ ในการดารงชีวิต

คุณภาพผู้เรยี น

ผูเ้ รยี นที่เรียนครบทกุ ผลการเรียนรู้ มคี ณุ ภาพดงั น้ี ❖ เขา้ ใจวิธกี ารทางวิทยาศาสตรใ์ นการคน้ หาคาตอบเกีย่ วกบั สงิ่ มีชีวติ สารท่ีเปน็ องคป์ ระกอบของส่งิ มชี วี ติ และปฏกิ ริ ิยาเคมภี ายในเซลล์ การใช้กล้องจลุ ทรรศน์ โครงสร้าง และหน้าท่ขี องเซลล์ การลาเลยี งสารเข้าและออกจากเซลล์ การแบ่งเซลล์ และการหายใจระดับเซลล์ ❖ เขา้ ใจหลกั การถ่ายทอดลักษณะทางพันธกุ รรมของสิง่ มชี ีวติ การถ่ายทอดยีน บนออโตโซมและโครโมโซมเพศ โครงสร้างและองค์ประกอบทางเคมีของดเี อ็นเอ การจาลองดเี อ็นเอ กระบวนการสงั เคราะห์โปรตนี การเกดิ มวิ เทชันในสิง่ มีชีวิต หลักการและการประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยี ทางดเี อน็ เอ หลักฐานและขอ้ มลู ท่ีใช้ในการศึกษาวิวัฒนาการของส่ิงมีชีวติ แนวคดิ เกย่ี วกบั ววิ ฒั นาการของสง่ิ มีชวี ิต เงอื่ นไขของภาวะสมดลุ ของฮารด์ -ี ไวน์เบริ ์ก กระบวนการเกิดสปีชสี ์ใหม่ ของสิ่งมีชวี ิต ความหลากหลายทางชีวภาพ กาเนิดของสิง่ มีชวี ติ ลกั ษณะสาคัญของสิง่ มชี ีวติ

๑๘

กล่มุ แบคทเี รีย โพรทสิ ต์ พืช ฟังไจ และสตั ว์ การจาแนกสิ่งมีชวี ติ ออกเปน็ หมวดหมแู่ ละวธิ ีการเขยี น ชือ่ วทิ ยาศาสตร์

❖ เขา้ ใจโครงสรา้ งและส่วนประกอบของพชื ท้งั ราก ลาต้น และใบ การแลกเปลย่ี นแก๊ส การคายนา้ การลาเลียงนา้ และธาตุอาหาร การลาเลียงอาหาร การสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพชื กระบวนการสร้างเซลล์สบื พนั ธุ์และการปฏิสนธิของพชื ดอก การเกิดผลและเมลด็ บทบาทของสาร ควบคมุ การเจรญิ เตบิ โตของพชื และการประยุกต์ใช้ และการตอบสนองของพืช

❖ เข้าใจกลไกการรกั ษาดุลยภาพของส่งิ มชี ีวิต โครงสรา้ ง หนา้ ที่ และกระบวนการ ตา่ ง ๆ ของสัตวแ์ ละมนุษย์ ได้แก่ การยอ่ ยอาหาร การแลกเปลย่ี นแก๊ส การเคลื่อนที่ การกาจัดของเสีย ออกจากรา่ งกายของส่งิ มีชวี ิต ระบบหมนุ เวยี นเลอื ด ระบบภมู คิ ุ้มกนั ในรา่ งกายของมนษุ ย์ การทางาน ของระบบประสาทและอวัยวะรบั ความรู้สกึ ระบบสบื พนั ธุ์ การปฏสิ นธิ การเจรญิ เติบโต ฮอร์โมน และพฤติกรรมของสัตว์

❖ เขา้ ใจกระบวนการถ่ายทอดพลงั งานและการหมนุ เวียนสารในระบบนิเวศ ความหลากหลายของไบโอม การเปล่ยี นแปลงแทนทีแ่ บบต่าง ๆ ในระบบนเิ วศ การเปล่ียนแปลง จานวนประชากรมนุษยใ์ นระดบั ท้องถิน่ ระดบั ประเทศ และระดับโลก แนวทางการป้องกันและแก้ไข ปญั หาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม

❖ เข้าใจการศกึ ษาโครงสร้างอะตอมของนักวทิ ยาศาสตร์ การจัดเรยี งอิเล็กตรอน ในอะตอม สมบตั บิ างประการของธาตุและการจดั เรียงธาตุในตารางธาตุ พนั ธะเคมี สมบัตขิ องสารทม่ี ี ความสมั พันธ์กับพันธะเคมี กฎต่าง ๆ ของแก๊ส และสมบัตขิ องแก๊ส ประเภทและสมบตั ขิ อง สารประกอบอินทรยี ์ และประเภทและสมบตั ขิ องพอลเิ มอร์

❖ เข้าใจการเขยี นและการดลุ สมการเคมี การคานวณปริมาณสารต่าง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง กบั ปฏิกิรยิ าเคมี อัตราการเกิดปฏกิ ิริยาเคมีและปัจจัยทม่ี ีผลต่ออตั ราการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี สมดลุ ในปฏิกิรยิ าเคมแี ละปัจจัยทม่ี ีผลต่อสมดลุ เคมี ทฤษฎีกรด-เบส สมบตั แิ ละปฏกิ ริ ยิ าของกรด-เบส สารละลายบัฟเฟอร์ ปฏกิ ริ ยิ ารดี อกซ์ และเซลล์เคมีไฟฟา้

❖ เขา้ ใจข้อปฏบิ ตั ิเบ้อื งต้นเก่ยี วกับความปลอดภัยในการทาปฏิบตั ิการเคมี การเลอื กใชอ้ ุปกรณห์ รอื เครือ่ งมอื ในการทาปฏิบัตกิ าร หนว่ ยวัดและการเปลี่ยนหน่วยวัดดว้ ยการ ใชแ้ ฟกเตอร์เปล่ียนหน่วย การคานวณเก่ียวกบั มวลอะตอม มวลโมเลกลุ และมวลสตู ร ความสมั พนั ธ์ ของโมล จานวนอนุภาค มวล และปริมาตรของแก๊สท่ี STP การคานวณสูตรอย่างงา่ ยและสูตร โมเลกุลของสาร ความเข้มขน้ ของสารละลาย การเตรียมสารละลาย และการบรู ณาการความรู้และ ทักษะในการอธิบายปรากฏการณใ์ นชีวิตประจาวนั และการแก้ปัญหาทางเคมี

❖ เข้าใจธรรมชาตขิ องฟสิ กิ ส์ กระบวนการวัด ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งปริมาณทีเ่ กย่ี วขอ้ ง กับการเคลื่อนท่ี การเคล่อื นท่ใี นแนวตรง แรงลัพธ์ กฎการเคลอ่ื นที่ แรงเสียดทาน กฎความโน้มถ่วง สากล สนามโน้มถว่ ง งาน กฎการอนุรักษ์พลงั งานกล สมดลุ กลของวัตถุ เครอื่ งกลอยา่ งง่าย โมเมนตัมและการดล กฎการอนุรกั ษ์โมเมนตัม การชน และการเคลื่อนทใ่ี นแนวโคง้

❖ เขา้ ใจการเคลอื่ นท่ีแบบคลน่ื ปรากฏการณค์ ลืน่ การสะทอ้ น การหกั เห การเลีย้ วเบนและการแทรกสอด หลักการของฮอยเกนส์ การเคล่ือนท่ีของคลื่นเสยี ง ปรากฏการณ์ ทเ่ี ก่ยี วข้องกับเสียง ความเขม้ เสยี งและระดบั เสียง การไดย้ นิ ภาพที่เกดิ จากกระจกเงาและเลนส์ ปรากฏการณท์ ่เี กีย่ วข้องกับแสงและการมองเห็นแสงสี

๑๙

❖ เข้าใจสนามไฟฟา้ แรงไฟฟา้ กฎของคลู อมบ์ ศกั ยไ์ ฟฟา้ ตัวเกบ็ ประจุ ตัวตา้ นทาน และกฎของโอหม์ พลังงานไฟฟา้ การเปลย่ี นพลังงานทดแทนเปน็ พลงั งานไฟฟา้ เทคโนโลยดี ้าน พลังงาน สนามแมเ่ หลก็ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสนามแมเ่ หลก็ กับกระแสไฟฟ้า การเหน่ียวนาแม่เหลก็ ไฟฟ้า ไฟฟา้ กระแสสลับ คลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า และประโยชนข์ องคล่นื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้

❖ เขา้ ใจผลของความรอ้ นตอ่ สสาร สภาพยดื หยุน่ ความดันในของไหล แรงพยงุ ของไหลอดุ มคติ ทฤษฎีจลนข์ องแกส๊ แนวคิดควอนตมั ของพลังงาน ทฤษฎีอะตอมของโบร์ ปรากฏการณ์โฟโตอเิ ลก็ ทรกิ ทวภิ าวะของคลนื่ และอนุภาค การสลายของนวิ เคลียสกัมมันตรงั สี กมั มนั ตภาพ ปฏิกิริยานวิ เคลียร์ พลงั งานนวิ เคลยี ร์ ความสัมพันธร์ ะหว่างมวลและพลังงาน แรงภายในนิวเคลียส และการค้นคว้าวิจยั ดา้ นฟสิ ิกสอ์ นุภาค

❖ เข้าใจการแบ่งชน้ั และสมบัตขิ องโครงสรา้ งโลก สาเหตุ และรปู แบบการเคลอ่ื นท่ี ของแผน่ ธรณที ส่ี ัมพนั ธก์ บั การเกดิ ลกั ษณะธรณีสณั ฐานและธรณโี ครงสรา้ งแบบตา่ ง ๆ หลกั ฐาน ทางธรณีวทิ ยาที่พบในปจั จุบนั และการลาดบั เหตุการณ์ทางธรณวี ิทยาในอดตี สาเหตุ กระบวนการ เกดิ แผ่นดนิ ไหว ภเู ขาไฟระเบดิ สนึ ามิ ผลกระทบ แนวทางการเฝา้ ระวงั และการปฏิบัตติ นใหป้ ลอดภยั สมบตั แิ ละการจาแนกชนดิ ของแร่ กระบวนการเกิดและการจาแนกชนดิ หิน กระบวนการเกดิ และ การสารวจแหล่งปโิ ตรเลียมและถ่านหนิ การแปลความหมายจากแผนทีภ่ มู ิประเทศและแผนท่ี ธรณวี ทิ ยา และการนาข้อมูลทางธรณีวิทยาไปใชป้ ระโยชน์

❖ เขา้ ใจปัจจยั สาคญั ท่ีมผี ลตอ่ การรบั และปลดปลอ่ ยพลังงานจากดวงอาทติ ย์ กระบวนการท่ที าใหเ้ กดิ สมดลุ พลงั งานของโลก ผลของแรงเนอื่ งจากความแตกตา่ งของความกดอากาศ แรงคอรอิ อลิส แรงสู่ศนู ย์กลางและแรงเสยี ดทานทม่ี ตี อ่ การหมุนเวียนของอากาศ การหมนุ เวยี น ของอากาศตามเขตละติจูด และผลทม่ี ตี ่อภูมิอากาศ ปัจจยั ที่ทาใหเ้ กิดการแบ่งช้ันน้าและการหมนุ เวยี น ของนา้ ในมหาสมุทร รูปแบบการหมุนเวียนของนา้ ในมหาสมุทร และผลของการหมุนเวยี นของน้า ในมหาสมุทรทมี่ ตี ่อลักษณะลมฟ้าอากาศ ส่ิงมีชีวิตและส่งิ แวดล้อม ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งเสถยี รภาพ อากาศและการเกิดเมฆ การเกดิ แนวปะทะอากาศแบบต่าง ๆ และลกั ษณะลมฟ้าอากาศที่เกี่ยวข้อง ปัจจัยต่าง ๆ ทีม่ ีผลต่อการเปลย่ี นแปลงภูมอิ ากาศของโลก รวมท้ังการแปลความหมายสญั ลักษณ์ ลมฟา้ อากาศ และการพยากรณล์ กั ษณะลมฟ้าอากาศเบื้องต้น จากแผนทอ่ี ากาศและขอ้ มูลสารสนเทศ

❖ เข้าใจการกาเนิดและการเปล่ียนแปลงพลงั งาน สสาร ขนาดอุณหภมู ิของเอกภพ หลกั ฐานที่สนบั สนุนทฤษฎบี กิ แบง ประเภทของกาแล็กซี โครงสร้างและองค์ประกอบของกาแล็กซี ทางช้างเผือก กระบวนการเกดิ ดาวฤกษ์ และการสรา้ งพลงั งานของดาวฤกษ์ ปจั จัยท่ีสง่ ผลตอ่ ความสอ่ งสวา่ งของดาวฤกษ์ และความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งความส่องสวา่ งกบั โชติมาตรของดาวฤกษ์ ความสัมพันธร์ ะหว่างสี อุณหภูมผิ ิว และสเปกตรัมของดาวฤกษ์ วิธกี ารหาระยะทางของดาวฤกษ์ ดว้ ยหลกั การแพรัลแลกซ์ วิวฒั นาการและการเปลี่ยนแปลงสมบตั บิ างประการของดาวฤกษ์ กระบวนการเกิดระบบสรุ ยิ ะ การแบง่ เขตบริวารของดวงอาทติ ย์ ลักษณะของดาวเคราะหท์ ่ีเออ้ื ตอ่ การ ดารงชีวิต การโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทติ ยด์ ว้ ยกฎเคพเลอร์ และกฎความโน้มถว่ งของนิวตัน โครงสรา้ งของดวงอาทิตย์ การเกดิ ลมสรุ ยิ ะ พายุสรุ ิยะและผลที่มีตอ่ โลก การระบุพิกัดของดาว ในระบบขอบฟา้ และระบบศูนย์สูตร เส้นทางการข้ึนการตกของดวงอาทิตย์และดาวฤกษ์ เวลา สรุ ยิ คติ และการเปรียบเทียบเวลาของแต่ละเขตเวลาบนโลก การสารวจอวกาศและการประยกุ ต์ใช้ เทคโนโลยีอวกาศ

๒๐

❖ ระบปุ ญั หา ตัง้ คาถามท่ีจะสารวจตรวจสอบ โดยมีการกาหนดความสมั พนั ธร์ ะหว่าง ตัวแปรตา่ ง ๆ สืบคน้ ขอ้ มูลจากหลายแหล่ง ตงั้ สมมตฐิ านท่เี ปน็ ไปได้หลายแนวทาง ตดั สนิ ใจเลือก ตรวจสอบสมมตฐิ านทเ่ี ป็นไปได้

❖ ตง้ั คาถามหรอื กาหนดปัญหาทอี่ ยบู่ นพน้ื ฐานของความรแู้ ละความเข้าใจทาง วิทยาศาสตร์ ทแี่ สดงใหเ้ ห็นถึงการใชค้ วามคดิ ระดบั สูงท่สี ามารถสารวจตรวจสอบหรอื ศึกษาคน้ คว้าได้ อยา่ งครอบคลมุ และเชือ่ ถอื ได้ สร้างสมมตฐิ านทมี่ ที ฤษฎรี องรับหรือคาดการณส์ ิ่งทีจ่ ะพบ เพือ่ นาไปสู่ การสารวจตรวจสอบ ออกแบบวธิ กี ารสารวจตรวจสอบตามสมมตฐิ านทก่ี าหนดไว้ไดอ้ ย่างเหมาะสม มีหลักฐานเชงิ ประจักษ์ เลือกวสั ดุ อุปกรณ์ รวมท้ังวธิ ีการในการสารวจตรวจสอบอย่างถกู ต้อง ท้งั ในเชงิ ปริมาณและคณุ ภาพ และบันทึกผลการสารวจตรวจสอบอย่างเปน็ ระบบ

❖ วเิ คราะห์ แปลความหมายขอ้ มูล และประเมนิ ความสอดคล้องของข้อสรุป เพ่อื ตรวจสอบกับสมมตฐิ านทีต่ ั้งไว้ ใหข้ อ้ เสนอแนะเพอ่ื ปรับปรงุ วิธกี ารสารวจตรวจสอบ จัดกระทา ขอ้ มูลและนาเสนอขอ้ มูลด้วยเทคนคิ วธิ ที ่เี หมาะสม สือ่ สารแนวคดิ ความรู้ จากผลการสารวจ ตรวจสอบ โดยการพดู เขียน จัดแสดงหรือใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ เพอ่ื ให้ผ้อู ่นื เขา้ ใจ โดยมหี ลกั ฐาน อ้างองิ หรือมที ฤษฎีรองรับ

❖ แสดงถงึ ความสนใจ มุ่งมนั่ รบั ผิดชอบ รอบคอบ และซอ่ื สัตย์ ในการสืบเสาะ หาความรู้ โดยใช้เครือ่ งมอื และวธิ กี ารท่ใี หไ้ ดผ้ ลถูกตอ้ ง เชอื่ ถอื ได้ มีเหตุผลและยอมรบั ไดว้ ่าความรู้ ทางวิทยาศาสตรอ์ าจมีการเปลี่ยนแปลงได้

❖ แสดงถงึ ความพอใจและเห็นคณุ ค่าในการคน้ พบความรู้ พบคาตอบ หรอื แกป้ ญั หาได้ ทางานรว่ มกับผ้อู ่นื อยา่ งสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นโดยมขี อ้ มลู อ้างองิ และเหตผุ ลประกอบ เกี่ยวกับผลของการพัฒนาและการใชว้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยอี ยา่ งมคี ุณธรรมตอ่ สงั คม และสง่ิ แวดล้อม และยอมรับฟังความคิดเห็นของผอู้ น่ื

❖ เขา้ ใจความสมั พันธ์ของความรวู้ ิทยาศาสตร์ทีม่ ีผลตอ่ การพฒั นาเทคโนโลยี ประเภทตา่ ง ๆ และการพัฒนาเทคโนโลยีทส่ี ง่ ผลให้มีการคดิ ค้นความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ทีก่ ้าวหนา้ ผลของเทคโนโลยีต่อชวี ิต สังคม และส่งิ แวดล้อม

❖ ตระหนักถึงความสาคญั และเห็นคุณค่าของความรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ทีใ่ ชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ใชค้ วามรแู้ ละกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยใี นการดารงชีวิต และการประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม ภูมิใจ ยกยอ่ ง อา้ งองิ ผลงาน ชิ้นงานท่ีเปน็ ผลมาจาก ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิน่ และการพฒั นาเทคโนโลยที ่ที นั สมยั ศึกษาหาความร้เู พ่มิ เติม ทาโครงงาน หรอื สร้างชน้ิ งานตามความสนใจ

❖ แสดงความซาบซึง้ หว่ งใย มีพฤตกิ รรมเกีย่ วกบั การใช้และรักษาทรพั ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ มอย่างรูค้ ุณค่า เสนอตัวเองร่วมมือปฏิบตั กิ ับชุมชนในการป้องกนั ดูแลทรัพยากร ธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมของทอ้ งถ่นิ

๒๑

ผลการเรยี นรแู้ ละสาระการเรยี นรู้

สาระ ชวี วทิ ยา

๑. เขา้ ใจธรรมชาติของสง่ิ มีชีวติ การศึกษาชีววิทยาและวิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์ สารทเ่ี ป็น

องคป์ ระกอบของส่ิงมีชีวิต ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของส่งิ มีชวี ติ กลอ้ งจุลทรรศน์ โครงสรา้ งและ

หนา้ ทขี่ องเซลล์ การลาเลยี งสารเขา้ และออกจากเซลล์ การแบ่งเซลล์ และการหายใจระดบั เซลล์

ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม

ม.๔ ๑. อธบิ าย และสรุปสมบตั ิทสี่ าคัญของ • ส่ิงมชี วี ติ ทกุ ชนิดตอ้ งการสารอาหารและพลงั งาน มี

ส่ิงมีชีวติ และความสัมพันธ์ของการ การเจริญเตบิ โต มกี ารตอบสนองต่อสงิ่ เร้า มีการรักษา

จัดระบบในสิ่งมีชีวิต ท่ที าให้สงิ่ มชี วี ติ ดลุ ยภาพของร่างกาย มีการสืบพนั ธุ์ มกี ารปรับตัวทาง

ดารงชีวิตอยไู่ ด้ ววิ ฒั นาการ และมีการทางาน รว่ มกนั ขององคป์ ระกอบ

ตา่ ง ๆ อย่างเป็นระบบ สง่ิ เหลา่ นี้จัดเปน็ สมบตั ทิ ่สี าคัญ

ของส่ิงมชี วี ติ

• การจดั ระบบในสงิ่ มชี ีวติ เร่ิมจากหน่วยเลก็ ไปหน่วย

ใหญ่ ได้แก่ เซลลเ์ น้อื เยอื่ อวยั วะ ระบบ อวยั วะ และ

สิ่งมีชีวิต ตามลาดับ

๒. อภิปราย และบอกความสาคญั ของ • วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตรใ์ นการคน้ หาคาตอบ เกย่ี วกับ

การระบุ ปญั หา ความสัมพนั ธร์ ะหว่าง ส่งิ มชี ีวติ เริ่มจากการตงั้ ปญั หาหรือคาถาม

ปัญหา สมมติฐาน และวิธกี าร ตั้งสมมตฐิ าน ตรวจสอบสมมตฐิ าน เกบ็ รวบรวม ขอ้ มูล

ตรวจสอบสมมตฐิ าน รวมทัง้ ออกแบบ วเิ คราะหข์ อ้ มลู และสรุปผล

การทดลองเพ่อื ตรวจสอบสมมตฐิ าน • การศึกษาสง่ิ มชี วี ติ ต้องอาศัยความร้จู ากแขนงวชิ า

ต่าง ๆ ของชีววิทยาและสาขาวชิ าอ่นื ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง และ

ควรคานึงถงึ ชีวจริยธรรมและจรรยาบรรณ การใช้

สตั วท์ ดลอง

๓. สืบคน้ ขอ้ มลู อธบิ ายเก่ียวกบั สมบัติ • ส่ิงมีชวี ติ ประกอบดว้ ย ธาตุและสารประกอบ ใน

ของน้า และบอกความสาคญั ของนา้ ทม่ี ี รา่ งกายของสงิ่ มีชีวติ มีนา้ เปน็ องค์ประกอบ มากทีส่ ดุ

ต่อสง่ิ มชี ีวติ และยกตวั อยา่ งธาตุชนดิ นา้ ประกอบดว้ ยธาตุไฮโดรเจน และออกซิเจน มสี มบัติ

ตา่ ง ๆ ที่มีความสาคญั ต่อรา่ งกาย ในการเป็นตวั ทาละลาย ท่ดี เี ก็บความรอ้ นได้ดแี ละมี

สง่ิ มีชีวติ ความจคุ วามรอ้ นสูง ซึ่งช่วยรักษาดลุ ยภาพของเซลล์ได้

• ธาตุทีส่ ิง่ มีชวี ิตต้องการจะอยใู่ นรูปของไอออน ใน

มนษุ ยแ์ ละสตั ว์ธาตุจะช่วยใหก้ ารทางานของ ระบบต่าง

ๆ ในรา่ งกายดาเนนิ ไปตามปกติ นอกจากนีใ้ นกระดกู

ฟัน และกล้ามเนือ้ จะมีธาตุ เปน็ องค์ประกอบดว้ ย

๔. สบื ค้นข้อมลู อธบิ ายโครงสร้างของ • คาร์โบไฮเดรตประกอบดว้ ย ธาตุคารบ์ อน ไฮโดรเจน

คารโ์ บไฮเดรต ระบกุ ลุ่มของ และออกซิเจน แบ่งตามขนาดโมเลกลุ ออกไดเ้ ปน็ ๓

คาร์โบไฮเดรต รวมท้ังความสาคัญ ของ กลมุ่ คอื มอโนแซก็ คาไรด์ ไดแซ็กคาไรด์และพอลิ

คารโ์ บไฮเดรตทมี่ ีต่อส่งิ มีชวี ติ แซก็ คาไรด์

๒๒

ช้นั ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรเู้ พมิ่ เตมิ

ม.๔ ๕. สืบค้นข้อมลู อธบิ ายโครงสรา้ งของ • โปรตนี มกี รดอะมโิ นเปน็ หน่วยยอ่ ย ประกอบดว้ ย

โปรตีน และความสาคัญของโปรตีนทม่ี ี ธาตุคารบ์ อน ไฮโดรเจน ออกซเิ จน และไนโตรเจน บาง

ตอ่ ส่ิงมชี วี ิต ชนิดอาจมธี าตุฟอสฟอรสั เหล็ก และกามะถนั เป็น

องค์ประกอบ

๖. สืบค้นขอ้ มลู อธบิ ายโครงสรา้ งของ • ลพิ ดิ ประกอบดว้ ย ธาตุคารบ์ อน ไฮโดรเจน และ

ลพิ ดิ และความสาคญั ของลพิ ิดทมี่ ีต่อ ออกซิเจน เปน็ สารประกอบท่ลี ะลายได้ดี ในตวั ทา

สง่ิ มชี ีวิต ละลายทีเ่ ป็นสารอินทรยี ล์ ิพดิ กลุม่ สาคญั ทพ่ี บใน

ส่ิงมชี ีวติ เชน่ กรดไขมนั ไตรกลีเซอไรด์ ฟอสโฟลิพิด

สเตอรอยด

๗. อธิบายโครงสร้างของกรดนิวคลิอกิ • กรดนิวคลอิ กิ ประกอบด้วย หน่วยยอ่ ย เรียกวา่ นวิ คลี และระบุ ชนดิ ของกรดนิวคลอิ ิก และ โอไทด์โมเลกุลของนวิ คลีโอไทด์ประกอบด้วย หมู่ ความสาคัญของ กรดนวิ คลอิ กิ ท่ีมีต่อ ฟอสเฟต น้าตาลทม่ี ีคาร์บอน ๕ อะตอม และเบสทีม่ ี สง่ิ มีชีวติ ไนโตรเจนเป็นองคป์ ระกอบ • กรดนิวคลิอกิ เปน็ องคป์ ระกอบของสารพันธุกรรม ทา หนา้ ทเ่ี ก็บและถ่ายทอดข้อมลู ทางพนั ธกุ รรม ม๒ี ชนิด คือ DNA และ RNA

๘. สบื คน้ ข้อมลู และอธิบายปฏกิ ริ ยิ า • เมแทบอลซิ ึมเป็นปฏกิ ริ ยิ าเคมีท่เี กิดข้นึ ภายใน เซลล์ เคมที ่เี กิดขนึ้ ในส่งิ มชี วี ติ ของส่ิงมีชวี ติ ปฏิกิริยาเคมปี ระกอบดว้ ย ปฏกิ ริ ยิ าคาย พลงั งาน และปฏิกิรยิ าดูดพลังงาน ปฏิกิรยิ าเคมเี หล่านี้ ๙. อธิบายการทางานของเอนไซม์ใน จะดาเนินไปได้อยา่ งรวดเร็ว จาเปน็ ต้องอาศัยเอนไซม์ การเร่งปฏิกริ ิยา เคมใี นสงิ่ มีชวี ิตและ ช่วยเรง่ ปฏกิ ริ ยิ า ระบุปจั จยั ทีม่ ีผลตอ่ การทางาน ของ เอนไซม์ • เอนไซมส์ ว่ นใหญ่เปน็ สารประเภทโปรตีน ทาหน้าท่ี เร่งปฏิกริ ยิ าเคมใี นขณะที่เกดิ ปฏิกิริยา เคมใี นเซลลส์ าร ตง้ั ต้นจะเข้าไปจับกบั เอนไซม์ ทีบ่ ริเวณจาเพาะของ เอนไซมท์ ่ีเรยี กวา่ บรเิ วณเรง่ ถา้ สารตัง้ ตน้ มีโครงสร้าง เขา้ กบั บรเิ วณเรง่ ได้ สารตงั้ ตน้ นน้ั จะถกู เปล่ียนเปน็ สาร ผลิตภัณฑ์ • อุณหภมู สิ ภาพความเปน็ กรด-เบส และ ตัวยบั ย้ัง เอนไซม์เปน็ ปัจจยั ทมี่ ผี ลต่อการทางาน ของเอนไซม์

๒๓

ชั้น ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นร้เู พ่มิ เตมิ

ม.๔ ๑๐. บอกวิธกี าร และเตรียมตัวอยา่ ง • กลอ้ งจลุ ทรรศน์เปน็ เคร่ืองมือทีใ่ ช้ศึกษาสง่ิ มชี วี ิต

สิ่งมชี ีวิต เพ่ือศกึ ษาภายใตก้ ลอ้ ง ขนาดเลก็ ทไ่ี ม่สามารถเห็นได้ดว้ ยตาเปล่าและ

จุลทรรศน์ใช้แสง วดั ขนาดโดยประมาณ รายละเอยี ดโครงสรา้ งของเซลล์

และวาดภาพท่ีปรากฏ ภายใตก้ ล้อง • กล้องจลุ ทรรศนใ์ ช้แสงเชงิ ประกอบ และ กล้อง

บอกวิธกี ารใช้และการดูแลรกั ษา จุลทรรศน์ใชแ้ สงแบบสเตอริโออาศยั เลนส์ ในการทาให้

กล้องจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สงทถี่ กู ตอ้ ง เกิดภาพขยาย

• กลอ้ งจลุ ทรรศนอ์ ิเลก็ ตรอนทาให้เกิดภาพขยาย โดย

อาศยั เลนส์แมเ่ หลก็ ไฟฟ้ารวมลาอิเลก็ ตรอน ซ่งึ มอี ยู่

ดว้ ยกนั ๒ ชนิด คือ ชนดิ สอ่ งผ่าน และชนดิ สอ่ งกราด

• ตวั อยา่ งส่ิงมีชีวิตที่นามาศกึ ษาภายใต้กล้องจลุ ทรรศน์

ใชแ้ สงตอ้ งมวี ธิ ีการเตรียมทีถ่ กู ตอ้ งและเหมาะสม กบั

ชนิดของส่ิงมชี ีวิต เพือ่ ใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพ ใน

การศึกษา

• กล้องจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สงเป็นเครอ่ื งมือท่มี คี วามละเอยี ด

ซับซ้อน และราคาคอ่ นขา้ งสงู จึงควรใชอ้ ยา่ ง ถูกวิธีมี

การเกบ็ และดูแลรักษาทถ่ี กู ต้อง เพื่อให้ใช้งานได้นาน

๑๑. อธบิ ายโครงสร้างและหนา้ ที่ของ •เซลลเ์ ป็นหนว่ ยพ้ืนฐานท่ีเลก็ ทีส่ ดุ ของสิง่ มชี วี ติ

ส่วนทห่ี อ่ ห้มุ เซลลข์ องเซลลพ์ ืชและ โครงสรา้ งพื้นฐานของเซลลป์ ระกอบด้วย สว่ นท่ี หอ่ หมุ้

เซลลส์ ตั ว์ เซลลไ์ ซโทพลาซึม และนวิ เคลยี ส

• สว่ นทีห่ อ่ หมุ้ เซลลท์ พี่ บในเซลลท์ ุกชนิดคือ เยอ่ื หมุ้

เซลลแ์ ต่ในแบคทีเรียสาหรา่ ย ฟังไจและพชื จะมผี นงั

เซลลเ์ ปน็ ส่วนหอ่ หุ้มเซลลเ์ พิม่ เตมิ ขึ้นมาอีก ชนั้ หนึง่

๑๒. สบื ค้นข้อมูล อธบิ าย และระบชุ นิด •โครงสร้างของเยอื่ หุ้มเซลล์ประกอบดว้ ยโมเลกลุ ของ

และหน้าท่ี ของออรแ์ กเนลล์ ฟอสโฟลพิ ิดเรยี งเปน็ สองช้นั และมโี ปรตนี แทรกหรอื

อยูท่ ี่ผิวทั้งสองด้านของฟอสโฟลพิ ดิ

• ไซโทพลาซึมอยู่ภายในเยอื่ หุ้มเซลล์ประกอบดว้ ย ไซ

โทซอลและออร์แกเนลล์

๑๓. อธบิ ายโครงสร้างและหน้าทีข่ อง • นิวเคลยี สเป็นศูนยก์ ลางควบคุมการทางานของ เซลล์

นิวเคลียส ยูคาริโอต ประกอบด้วยเยอื่ หุม้ ซ่งึ ภายใน มDี NA RNA

และโปรตนี บางชนดิ

๑๔. อธิบาย และเปรียบเทียบการแพร่ • สารต่าง ๆ มกี ารเคลอื่ นทเ่ี ขา้ และออกจากเซลล์ อยู่

ออสโมซสิ การแพร่แบบฟาซลิ เิ ทตและ ตลอดเวลาโดยกระบวนการตา่ ง ๆ ได้แก่ การแพร่

แอกทีฟทรานสปอรต์ ออสโมซิส การแพร่แบบฟาซลิ เิ ทต แอกทีฟทรานส

ปอรต์ กระบวนการเอกโซไซโทซสิ กระบวนการ

เอนโดไซโทซิส

๒๔

ชัน้ ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรเู้ พม่ิ เตมิ

ม.๔ ๑๕. สืบค้นขอ้ มลู อธิบาย และเขียน • แกส๊ ตา่ ง ๆ เข้าหรือออกจากเซลลโ์ ดยการแพร่ สว่ น

แผนภาพ การลาเลยี งสารโมเลกุลใหญ่ นา้ เข้าหรือออกจากเซลล์ผา่ นเย่ือห้มุ เซลล์ โดย

ออกจากเซลล์ ด้วยกระบวนการเอกโซ ออสโมซิส

ไซโทซิสและการลาเลียง สารโมเลกลุ • ไอออนและสารบางอย่างท่ไี ม่สามารถลาเลยี ง ผา่ น

ใหญ่เข้าสู่เซลลด์ ว้ ยกระบวนการ เอนโด เยอ่ื หุ้มเซลล์โดยตรงได้จาเป็นตอ้ งอาศัย โปรตีนทอี่ ย่บู น

ไซโทซิส เยื่อหมุ้ เซลลเ์ ปน็ ตัวพาสารนนั้ เขา้ และออกจากเซลล์

เรยี กว่า การแพร่แบบ ฟาซิลเิ ทต

• แอกทีฟทรานสปอร์ต เป็นการลาเลียงสารจาก

บริเวณที่มคี วามเขม้ ข้นตา่ ไปยังบรเิ วณมคี วามเข้มขน้ สูง

• สารบางอย่างท่ีไมส่ ามารถแพร่ผ่านเย่ือหุ้มเซลล์ หรอื

ลาเลยี งผา่ นโปรตนี ท่ีเปน็ ตวั พาไดจ้ ะถกู ลาเลียงออก

จากเซลลด์ ้วยกระบวนการ เอกโซไซโทซิส

• สารทมี่ ีขนาดใหญ่จะสามารถลาเลียงเข้าสเู่ ซลล์ ดว้ ย

กระบวนการเอนโดไซโทซิสซ่งึ แบง่ เปน็ ๓ แบบ ไดแ้ ก่

พโิ นไซโทซิส ฟาโกไซโทซิส และการนาสาร เข้าสู่เซลล์

โดยอาศัยตัวรบั

๑๖. สังเกตการแบ่งนวิ เคลยี สแบบ • การแบง่ เซลล์ของส่ิงมีชีวิตเป็นการเพมิ่ จานวนเซลล์

ไมโทซสิ และ แบบไมโอซิสจากตัวอย่าง ซ่ึงเปน็ กระบวนการที่เกิดขึ้นต่อเนื่องกนั เปน็ วัฏจกั ร

ภายใต้กลอ้ งจุลทรรศน์ พรอ้ มทัง้ อธบิ าย โดยวฏั จักรของเซลล์ประกอบดว้ ย อนิ เตอรเ์ ฟส การ

และเปรยี บเทยี บการแบง่ นวิ เคลยี ส แบ่งนวิ เคลยี สแบบไมโทซสิ และ การแบง่ ไซโทพลาซมึ

แบบไมโทซิส และแบบไมโอซิส • การแบง่ นวิ เคลยี สม๒ี แบบ คือการแบง่ นวิ เคลียส

แบบไมโทซิสและการแบ่งนวิ เคลียสแบบไมโอซิส

• การแบง่ นวิ เคลยี สแบบไมโทซสิ ประกอบด้วย ระยะ

โพรเฟส เมทาเฟส แอนาเฟส และเทโลเฟส

• การแบ่งนวิ เคลียสแบบไมโอซสิ ประกอบดว้ ย ระยะโพ

รเฟส I เมทาเฟส I แอนาเฟส I เทโลเฟส I ระยะโพ

รเฟส II เมทาเฟส II แอนาเฟส II และเทโลเฟส II

• การแบง่ นวิ เคลียสแบบไมโทซสิ ทาให้เซลลร์ ่างกาย

เพิม่ จานวนเพ่ือการเจรญิ เติบโต และซอ่ มแซม สว่ นที่

สกึ หรอหรือถกู ทาลายไปไดส้ ว่ นการแบง่ นิวเคลยี สแบบ

ไมโอซสิ มคี วามสาคญั ตอ่ สงิ่ มชี วี ติ ในกระบวนการสรา้ ง

เซลลส์ บื พนั ธ์ุ

• การแบง่ ไซโทพลาซมึ ในเซลล์พชื จะมีการสรา้ ง แผ่น

กนั้ เซลล์และเซลลส์ ตั วจ์ ะมกี ารคอดเวา้ เขา้ หากันของ

เยื่อหุ้มเซลล์

๒๕

ชัน้ ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรูเ้ พม่ิ เตมิ

ม.๔ ๑๗. อธบิ าย เปรียบเทียบ และสรุป • การหายใจระดับเซลลเ์ ป็นการสลายสารอาหาร ทมี่ ี

ขัน้ ตอน การหายใจระดับเซลลใ์ นภาวะ พลังงานสงู โดยมอี อกซิเจนเป็นตัวรบั อเิ ลก็ ตรอนตัว

ที่มีออกซิเจน เพียงพอ และภาวะที่มี สุดท้าย ประกอบดว้ ย ๓ ข้ันตอน คือ ไกลโคลิซสิ

ออกซเิ จนไม่เพียงพอ วฏั จักรเครบส์และกระบวนการ ถา่ ยทอดอเิ ลก็ ตรอน

• การหายใจระดับเซลลพ์ ลังงานสว่ นใหญ่ได้จาก

ข้นั ตอนการถา่ ยทอดอเิ ล็กตรอน พลงั งานน้ี จะถกู เก็บ

ไวใ้ นพนั ธะเคมีในโมเลกุลของ ATP

• ในภาวะที่มีออกซเิ จนไมเ่ พียงพอ ทาให้การหายใจ

ของเซลลไ์ มส่ มบรู ณ์จงึ เกดิ ไดเ้ ฉพาะไกลโคลซิ ิส ผลทไี่ ด้

จากการหายใจในสภาวะนี้ในสัตว์จะได้ กรดแลกตกิ

ในจลุ นิ ทรีย์และพชื อาจได้ กรดแลกติก หรอื

เอทลิ แอลกอฮอล์

ม.๕ - -

ม.๖ - -

สาระชีววทิ ยา

๒. เขา้ ใจการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรม การถ่ายทอดยนี บนโครโมโซม สมบตั ิ และหนา้ ท่ขี องสาร

พนั ธกุ รรม การเกิดมวิ เทชนั เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ หลักฐาน ขอ้ มูลและแนวคิดเก่ยี วกบั วิวฒั นาการของส่ิงมชี ีวติ

ภาวะสมดลุ ของฮารด์ ี-ไวน์เบิร์ก การเกิดสปชี สี ์ใหม่ ความหลากหลายทางชวี ภาพ กาเนิดของส่ิงมีชีวิต ความ

หลากหลาย ของสิ่งมชี ีวิต และอนุกรมวิธาน รวมทัง้ นาความร้ไู ปใช้ประโยชน์

ช้นั ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นร้เู พิ่มเติม

ม.๔ ๑. สบื ค้นขอ้ มลู อธิบาย และสรุปผล • เมนเดลศกึ ษาการถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม โดย

การทดลอง ของเมนเดล การผสมพันธ์ุถว่ั ลนั เตา จนสรปุ เปน็ กฎแหง่ การแยกและ

กฎแห่งการรวมกลุม่ อย่างอิสระ

๒. อธิบาย และสรปุ กฎแห่งการแยก • กฎแห่งการแยกมใี จความวา่ แอลลลี ที่อย่เู ป็นคู่ จะแยก

และ กฎแห่งการรวมกลุ่มอยา่ งอิสระ ออกจากกนั ในระหว่างการสร้างเซลล์ สบื พนั ธโ์ุ ดยเซลล์

และนากฎของ เมนเดลนไี้ ปอธิบายการ สบื พนั ธุแ์ ตล่ ะเซลลจ์ ะมเี พียง แอลลีลใดแอลลลี หนึง่

ถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรมและใช้ • กฎแห่งการรวมกลมุ่ อย่างอิสระมใี จความว่า หลงั จากคู่

ในการคานวณโอกาสในการ เกดิ ฟีโน ของแอลลลี แยกออกจากกัน แต่ละ แอลลีลจะจดั กลมุ่ อยา่ ง

ไทป์และจโี นไทป์แบบตา่ ง ๆ ของรุ่น อิสระกับแอลลลี อื่น ๆ ท่ีแยกออกจากคู่เช่นกันในการเข้า

F1 และ F2 ไปอยใู่ นเซลล์ สืบพันธุ์

๓. สืบคน้ ข้อมลู วิเคราะหอ์ ธิบาย และ • การถ่ายทอดลักษณะทางพันธกุ รรมบางลักษณะ ให้

สรุปเกยี่ วกบั การถ่ายทอดลักษณะทาง อตั ราส่วนท่ีแตกต่างจากผลการศกึ ษาของ เมนเดล เรยี ก

พันธกุ รรม ท่ีเป็น ส่วนขยายของพันธุ ลกั ษณะเหล่านว้ี ่า ลกั ษณะ ทางพนั ธกุ รรมท่ีเปน็ ส่วนขยาย

ศาสตรเ์ มนเดล ของพนั ธุศาสตร์ เมนเดล เช่น การขม่ ไมส่ มบูรณ์การข่ม

ร่วมกัน มลั ติเปลิ แอลลีลยนี บนโครโมโซมเพศและพอลิยนี

๒๖

ช้นั ผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเตมิ

ม.๔ ๔. สบื ค้นขอ้ มลู วเิ คราะหแ์ ละ • ลักษณะพนั ธุกรรมบางลกั ษณะมคี วามแตกตา่ งกนั

เปรยี บเทียบลกั ษณะ ทางพันธุกรรมท่มี ี ชดั เจน เชน่ การมตี ิ่งหหู รือไม่มีติ่งหูซงึ่ เปน็ ลกั ษณะทาง

การแปรผนั ไมต่ อ่ เนื่อง และลักษณะทาง พนั ธุกรรมทมี่ กี ารแปรผนั ไม่ต่อเน่ือง

พนั ธุกรรมท่มี กี ารแปรผนั ตอ่ เน่อื ง • ลักษณะทางพันธกุ รรมบางลักษณะมีความ แตกต่างกัน

เล็กน้อยและลดหลั่นกนั ไป เช่น ความสูงและสผี ิวของ

มนุษย์ถูกควบคุมโดยยีน หลายคซู่ งึ่ เปน็ ลกั ษณะทาง

พนั ธกุ รรมทม่ี ีการ แปรผันตอ่ เนอ่ื งและส่ิงแวดล้อมอาจมีผล

ตอ่ การ แสดงลกั ษณะน้ัน

๕. อธิบายการถา่ ยทอดยนี บน • โครโมโซมภายในเซลล์ร่างกายแบ่งเป็นออโตโซม และ

โครโมโซม และ ยกตัวอย่างลักษณะทาง โครโมโซมเพศ ลักษณะทางพนั ธุกรรม ส่วนใหญ่ถกู ควบคมุ

พันธกุ รรมทีถ่ กู ควบคุม ด้วยยีนบนออโต ด้วยยนี บนออโตโซม บางลักษณะถกู ควบคมุ ดว้ ยยีนบน

โซมและยีนบนโครโมโซมเพศ โครโมโซมเพศ ซึ่งส่วนมากเปน็ ยีนบนโครโมโซม X

• เมอื่ มีการสรา้ งเซลล์สืบพนั ธย์ุ ีนบนโครโมโซม เดียวกันท่ี

อยใู่ กลก้ นั มกั จะถูกถา่ ยทอดไปดว้ ยกัน แตก่ ารเกิดครอสซิง

โอเวอร์ในการแบ่งเซลล์แบบ ไมโอซสิ อาจทาใหย้ นี บน

โครโมโซมเดียวกนั แยก จากกันได้ส่งผลใหร้ ปู แบบของ

เซลลส์ บื พันธ์ุท่ไี ด้ แตกตา่ งไปจากกรณีท่ไี ม่เกิดครอสซงิ โอ

เวอร์

๖. สืบคน้ ขอ้ มลู อธิบายสมบตั แิ ละ • DNA เปน็ พอลิเมอร์ของนิวคลีโอไทด์แต่ละ นวิ คลีโอไทด์

หน้าท่ีของ สารพนั ธุกรรม โครงสรา้ ง ประกอบด้วย น้าตาลดอี อกซไี รโบส หม่ฟู อสเฟต และไน

และองคป์ ระกอบ ทางเคมีของ DNA โตรจนี สั เบส คอื A T C และ G

และสรุปการจาลอง DNA

๗. อธิบาย และระบุขั้นตอนใน • โมเลกลุ ของ DNA เป็นพอลินิวคลีโอไทด๒์ สาย เรยี งสลบั

กระบวนการ สงั เคราะห์โปรตีนและ ทศิ และบดิ เปน็ เกลียวเวียนขวา โดยการ เขา้ คกู่ ันของสาย

หนา้ ที่ของ DNA และ RNA แต่ละชนดิ DNA เกิดจากการจบั คูข่ อง เบสคสู่ ม คือ A คู่กับ T และ C

ในกระบวนการสังเคราะห์ โปรตีน คกู่ บั G

๘. สรปุ ความสมั พนั ธ์ระหว่างสาร • ยนี คอื สาย DNA บางช่วงท่ีควบคุมลกั ษณะทาง

พันธกุ รรม แอลลีล โปรตีน ลกั ษณะทาง พนั ธกุ รรมไดโ้ ดยยีนกาหนดลาดบั กรดอะมิโน ของโปรตนี

พนั ธุกรรม และเชอื่ มโยงกับ ความรู้ ซึง่ ทาหนา้ ท่ีเปน็ โครงสร้าง เอนไซม์ และอ่ืน ๆ มผี ลทาให้

เรื่องพันธุศาสตร์เมนเดล เซลลแ์ ละส่งิ มชี ีวิตปรากฏ ลักษณะต่าง ๆ ได้

• DNA จาลองตัวเองไดโ้ ดยใช้สายหนง่ึ เปน็ แมแ่ บบ และ

สรา้ งอกี สายข้ึนมาใหมซ่ ่งึ จะมีโครงสรา้ ง และลาดบั

นวิ คลโี อไทด์เหมือนเดมิ

๒๗

ช้นั ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนร้เู พ่มิ เติม

ม.๔ • DNA ควบคมุ ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมของส่งิ มีชวี ติ ได้

โดยการสรา้ ง RNA ๓ ประเภท คอื mRNA tRNA และ

rRNA ซึ่งรว่ มกนั ทาหน้าที่ในกระบวนการ สังเคราะห์

โปรตนี

• RNA เปน็ พอลิเมอรข์ องนวิ คลโี อไทด์สายเดีย่ ว แตล่ ะ

นวิ คลโี อไทด์ประกอบด้วย นา้ ตาลไรโบส หมู่ฟอสเฟต

และไนโตรจีนัสเบสคือ A U C และ G

๙. สบื ค้นข้อมลู และอธิบายการเกิด • มิวเทชนั เปน็ การเปลีย่ นแปลงของลาดับหรือ จานวน

มวิ เทชนั ระดับยีนและระดับโครโมโซม นวิ คลโี อไทดใ์ น DNA ซ่งึ อาจนาไปสู่ การเปลีย่ นแปลง

สาเหตุการเกดิ มิวเทชนั รวมท้ัง โครงสร้างและการทางานของ โปรตนี ซึง่ ถ้าการ

ยกตัวอย่างโรคและกลุ่มอาการ ทเี่ ปน็ เปล่ยี นแปลงดังกลา่ วเกิด ในเซลลส์ บื พนั ธุจ์ ะสามารถ

ผลของการเกดิ มิวเทชัน ถา่ ยทอดไปยัง รนุ่ ตอ่ ๆ ไปไดแ้ ละทาใหเ้ กิดความแปร

ผันทาง พันธกุ รรมของสง่ิ มชี วี ิต การเกดิ มิวเทชันมี

สาเหตุ มาจากปจั จัยตา่ ง ๆ เช่น รงั สีและสารเคมี

• การขาดหายไปหรือเพมิ่ ขน้ึ ของนวิ คลโี อไทด์ และการ

แทนท่คี เู่ บส เป็นการเกดิ มวิ เทชันระดบั ยีน เช่น

โรคโลหติ จางชนดิ ซิกเคลิ เซลลเ์ ปน็ ผลมาจาก การแทนท่ี

คเู่ บส

• การเปล่ียนแปลงโครงสร้างของโครโมโซม เชน่

หายไปหรอื เพ่ิมขน้ึ บางสว่ น และการเปลี่ยนแปลง

จานวนโครโมโซม เชน่ การลดลงหรอื เพิ่มขึ้น ของ

โครโมโซมบางแทง่ หรอื ทั้งชดุ เป็นสาเหตุ ของการเกดิ

มิวเทชนั ระดบั โครโมโซม เช่น กลุม่ อาการคริดชู าตแ์ ละ

กลมุ่ อาการดาวนก์ ลุ่มอาการ เทอรเ์ นอรแ์ ละกล่มุ อาการ

ไคลนเ์ ฟลเตอร์

๑๐. อธบิ ายหลกั การสรา้ งสง่ิ มีชวี ิตดดั • การใช้เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ ในการสร้างดเี อน็ เอ รี

แปรพันธกุ รรม โดยใช้ดีเอ็นเอรีคอม คอมบิแนนท์สามารถนาไปใช้ในการสรา้ ง ส่ิงมชี วี ิตดดั

บิแนนท์ แปรพนั ธกุ รรม โดยนายีนที่ตอ้ งการ มาตัดต่อใสใ่ น

สิง่ มีชีวติ ทาใหส้ ิง่ มีชีวติ นัน้ มีสมบตั ิ ตามต้องการ

๑๑. สบื คน้ ข้อมลู ยกตวั อยา่ ง และ • เทคโนโลยที างดีเอ็นเอ สามารถนาไปประยกุ ต์ ใช้ใน

อภิปรายการนา เทคโนโลยีทางดีเอน็ เอ ดา้ นตา่ ง ๆ เช่น สิง่ แวดล้อม นิติวิทยาศาสตร์การแพทย์

ไปประยกุ ตใ์ ช้ทั้งในดา้ น สิ่งแวดล้อม การเกษตร และอุตสาหกรรม โดยการ ใช้เทคโนโลยี

นิตวิ ทิ ยาศาสตร์การแพทย์ การเกษตร ทางดีเอน็ เอตอ้ งคานึงถงึ ความปลอดภัย ทางชีวภาพ

และอุตสาหกรรม และข้อควรคานงึ ถึง ชีวจริยธรรม และผลกระทบตอ่ สงั คม

ด้านชีวจริยธรรม

๒๘

ช้นั ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้เพ่มิ เตมิ

ม.๔ ๑๒. สบื คน้ ขอ้ มลู และอธบิ ายเกยี่ วกบั • หลักฐานท่ีทาใหเ้ ชื่อวา่ ส่ิงมชี วี ิตมวี ิวัฒนาการ เชน่