ภาวะผ นำแบบสร างความเปล ยนแปลงท ม อ ทธ พล

โครงการรวบรวม วิเคราะห์ และสังเคราะห์แนวคดิ และทฤษฎที ี่ใช้ในการท�ำงานขบั เคลอ่ื น และสรา้ งความเขม้ แข็งของพืน้ ท่ี

ผนู้ ำ� ในพน้ื ท่ี (ซง่ึ เปน็ งานวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพ) เนอ่ื งดว้ ยการทำ� งานวจิ ยั ลกั ษณะนมี้ งุ่ ทำ� ความ เข้าใจบุคคลในฐานะที่เป็นมนุษย์ มีความสัมพันธ์กับมนุษย์และบริบทแวดล้อมอ่ืน ๆ ตลอดจนกระบวนการท�ำงานท่ีเกิดข้ึนจริงในพื้นท่ี เพ่ือเห็นปรากฏการณ์ท่ีเกิดขึ้น ภายใตก้ ารใหค้ วามหมายและการตีความของนกั วจิ ัย “แม้จะแบ่งงานกันเป็นสัดส่วนชัดเจน แต่กเ็ ป็นการแบง่ งานเพือ่ ให้การเขยี น งานวจิ ัยแตล่ ะพ้ืนท่ีเป็นไปโดยสะดวกและลน่ื ไหลเทา่ นนั้ เพราะพวกเราตกลงกันเอา ไวว้ า่ ในการปฏิบตั ิงานจริงจะชว่ ยกันลงภาคสนาม และชว่ ยกนั วิเคราะห์สถานการณ์ ทุกพนื้ ทีอ่ ยเู่ สมอ ดังนัน้ ความคดิ และข้อความมากมายทปี่ รากฏในงานเก่ียวกับพนื้ ท่ี โคกสลงุ ซง่ึ ฉันรบั ผิดชอบจึงไมไ่ ดม้ าจากตัวฉนั เองทั้งหมด แตเ่ ปน็ ความคิดและการ วเิ คราะหท์ ีเ่ พื่อนนกั วิจัยคนอืน่ ๆ ในโครงการรว่ มสร้างให้เกดิ ข้นึ เชน่ กัน”

(ชลดิ า เหลา่ จมุ พล, 2560, น. 295)

ในเชงิ การบรหิ ารจดั การเพอื่ ใหง้ านสามารถดำ� เนนิ การไดแ้ บบคลอ่ งตวั มคี วาม จำ� เปน็ ทกี่ ลมุ่ นกั วจิ ยั จะตอ้ งแบง่ กนั เขยี นงานวจิ ยั คนละพนื้ ที่ อยา่ งไรกต็ าม องคป์ ระกอบ สำ� คญั ทส่ี นบั สนนุ ใหง้ านวจิ ยั มกี ารผสมผสานความคดิ เหน็ องคค์ วามรทู้ ง้ั จากพน้ื ทศี่ ึกษา และกลมุ่ นกั วจิ ยั ดว้ ยกนั ตลอดการลงพน้ื ทท่ี ำ� งานวจิ ยั คอื การลงพน้ื ทรี่ ว่ มกนั นกั วจิ ยั พยามยามลงพ้ืนที่ร่วมกันให้มากท่ีสุด การลงพื้นที่ร่วมกันช่วยใหน้ ักวจิ ัยเหน็ ประเดน็ หรอื ปญั หาหนึ่งได้จากหลากหลายมมุ มอง โดยทกุ ครั้งท่ลี งพ้นื ทีจ่ ะมกี ระบวนการถอด บทเรยี น การแลกเปล่ียนมุมมองซง่ึ กันและกนั ภายหลังการเกบ็ ข้อมูลในแต่ละวัน

  1. การแลกเปลย่ี นเรยี นรกู้ ัน อีกหนึ่งกระบวนการที่ส�ำคัญในการท�ำวิจัยร่วมกันคือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กันผ่านกระบวนการตา่ ง ๆ ตั้งแต่เร่มิ ตน้ วางแผน เพ่ือเรยี นรูว้ ธิ ีคิดวิธอี อกแบบงานวจิ ยั ของแตล่ ะสาขา ตลอดจนการทบทวนหลงั การปฏิบตั ิ (After Action Review: AAR) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันช่วงลงพ้ืนที่เก็บข้อมูล ซึ่งในแต่ละวัน

97

หลงั จากเกบ็ ข้อมูลจากพ้ืนท่ีเสร็จแลว้ นักวจิ ัยจะรวมกล่มุ กนั เพ่อื สะทอ้ นปรากฏการณ์ ที่พบเจอในพื้นท่จี ากเลนส์หรอื มุมมองของตนเอง การทำ� งานร่วมกนั ระหว่างผมู้ คี วามแตกตา่ งหลากหลายทางสาขาวชิ า วิธีคดิ วิธีมองปัญหาและหาแนวทางแสวงหาความจริงต่อปรากฏการณ์ใดปรากฏการณ์หนึ่ง หากฝา่ ยใดฝ่ายหน่งึ ยึดติดกับชดุ ความรทู้ ี่ตนเองเชอื่ เปน็ หลัก โดยไมเ่ ปดิ ใจยอมรบั องค์ ความรจู้ ากฝา่ ยอนื่ อาจไมเ่ กดิ การแลกเปลย่ี นเรยี นรขู้ า้ มศาสตรก์ นั ซง่ึ นำ� ไปสอู่ งคค์ วามรู้ ชดุ ใหมท่ ห่ี ลอ่ หลอมจากความเชย่ี วชาญทตี่ า่ งกนั เกดิ เปน็ นวตั กรรมใหม่ ๆ ขนึ้ โดยเฉพาะ อยา่ งยง่ิ ในโลกยคุ ปจั จบุ นั ทห่ี ลายสงิ่ เชอ่ื มโยงกนั อยู่ เปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ และปญั หา มคี วามซบั ซอ้ นมากขน้ึ ดงั ที่ Toffler (1970, as cited in Novak, 2010) อธบิ ายเกย่ี วกบั การเรียนรู้ของคนยุคใหม่ว่าจ�ำเป็นต้องมีคุณสมบัติมากกว่าแค่การเรียนรู้เนื้อหา หลักการเท่าน้นั แตต่ อ้ งพรอ้ มท่จี ะละความรู้เดมิ เพื่อเรยี นรู้อกี ครง้ั เนอ้ื หาดังกลา่ วได้ รบั การน�ำมาพฒั นาเป็นข้อความทนี่ ยิ มในสังคมออนไลน์ นัน่ คือ “The illiterate of the 21st century will not be those who cannot read and write, but those who cannot learn, unlearn, and relearn.” หรอื แปลความวา่ การไมร่ หู้ นงั สอื ของ คนในศตวรรษที่ 21 อาจไมไ่ ดห้ มายถงึ การอา่ นไมอ่ อกหรอื เขยี นไมไ่ ด้ แตห่ มายถงึ ผ้ทู ี่ ไมส่ ามารถเรยี นรู้ ไม่สามารถละวางส่ิงทเี่ คยรูม้ า และ ไม่สามารถเรยี นร้สู ่งิ ท่ีเคยรดู้ ้วย มมุ มองหรอื วธิ กี ารใหม่ ๆ

  1. การเขยี นสะทอ้ นการเรยี นรู้ ในครั้งแรกที่ได้รับโจทย์จากโครงการผู้น�ำแห่งอนาคตว่าต้องการให้นักวิจัย เขยี นสะทอ้ นการเรยี นรู้ ตลอดจนการเปลย่ี นแปลงทเี่ กดิ ขน้ึ จากการทำ� วจิ ยั ไวใ้ นรายงาน วิจัย ถือเป็นเรื่องใหม่ส�ำหรับผู้เขียนในกระบวนการท�ำวิจัย เน่ืองด้วยประสบการณ์ การท�ำวิจัยของผู้เขียนที่ผ่านมาในอดีตมุ่งแสวงหาองค์ความรู้จากภายนอกตัวเป็น หลกั และไมเ่ คยมสี ่วนน้ปี ระกอบอยู่ในงานวจิ ัย แม้ว่าการเขียนสะท้อนการเรียนรู้และ

98

หลากสี ตา่ งเลนส:์ ว่าด้วยแนวคิดทฤษฎีน�ำร่วมเคล่อื นสงั คม

โครงการรวบรวม วิเคราะห์ และสงั เคราะหแ์ นวคิดและทฤษฎีท่ีใช้ในการทำ� งานขับเคล่อื น และสรา้ งความเขม้ แขง็ ของพื้นที่

การเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นอาจเป็นเร่ืองใหม่ส�ำหรับผู้เขียนในบทบาทของนักวิจัย อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาในบทบาทของอาจารย์ภายใตค้ ณะวิทยาการเรยี นรแู้ ละ ศึกษาศาสตร์ อาจไม่ใช่เร่ืองใหม่เท่าใดนัก เนอื่ งด้วยการเขยี นสะทอ้ นการเรยี นร้เู ปน็ เคร่ืองมือส�ำคัญของการจัดการเรียนการสอนทุกรายวิชาในคณะน้ี การเขียนสะท้อน การเรียนรู้ (reflection) เป็นกระบวนการท่ีบุคคลได้กลับมาไตร่ตรองกับเหตุการณ์ หรอื ประสบการณท์ เี่ กดิ ขน้ึ ทไี่ มท่ นั ไดส้ งั เกตกนั ในชว่ งทมี่ ปี ระสบการณน์ น้ั วา่ ไดม้ คี วามรสู้ กึ อย่างไร หรือเรยี นร้สู ่ิงใดจากประสบการณน์ น้ั ผเู้ ขยี นนำ� การเขียนสะท้อนการเรยี นรู้ มาใชใ้ นชั้นเรียน ดว้ ยองค์ประกอบ 3 R’s ดงั น้ี Review คอื การทบทวนเหตกุ ารณห์ รอื ประสบการณท์ เ่ี กดิ ขน้ึ เชน่ เกดิ เหตกุ ารณ์ อะไรข้นึ เมื่อไร อย่างไร เปน็ ลักษณะการบรรยายต่อปรากฏการณน์ น้ั Reflection คอื การสะทอ้ นความรสู้ กึ หรือการเรียนรู้ท่ีมีต่อเหตกุ ารณ์หรอื ประสบการณน์ ้ัน ๆ เชน่ รสู้ กึ อยา่ งไร ได้เรียนรอู้ ะไรบ้างจากประสบการณน์ นั้ Reflexivity มีนกั วิชาการให้ความหมายส�ำหรบั บริบทการท�ำงานดา้ นสังคม สงเคราะหแ์ ตกตา่ งกนั ไป สรปุ ได้ 3 ความหมายหลกั (D’Cruz, Gillingham, & Melendez,

  1. ดงั น้ี
  2. การสะท้อนความร้สู ึกและความนกึ คดิ ตอ่ ต่อเหตกุ ารณห์ รือประสบการณ์ ท่เี กดิ ขึ้น โดย Ferguson (2003, อ้างถึงใน D’Cruz et al., 2007) มีความเช่ือว่า บคุ คลมีโอกาสในการเลอื กและก�ำหนดชีวติ ของพวกเขาเอง โดยใหน้ ยิ าม Reflexivity ว่าเป็นความสามารถในการกระท�ำ และการคิดไตร่ตรองอย่างมีวิจารณญาณต่อการ กระท�ำต่าง ๆ ของท้ังตัวเราและผอู้ ืน่ ที่อยู่ภายใต้สังคม ตลอดจนการสร้างวธิ ีการหรือ แนวทางในการใช้ชีวติ ของบุคคล
  3. ความหมายของงานวจิ ยั เชิงสังคม โดยเฉพาะในงานวจิ ัยแบบอตั ชาตพิ นั ธุ์

99

วรรณา (autoethnographic research) ทน่ี ักวิจัยต้องตระหนักถงึ วิธคี ิด คณุ คา่ และ ทฤษฎที ีต่ นยดึ ถืออยู่ในการแสวงหาความจริง ซ่งึ เชอ่ื มโยงกับสงั คมและวัฒนธรรมของ นกั วจิ ยั เปน็ การสะทอ้ นกระบวนการหรอื วธิ กี ารสรา้ งองคค์ วามรขู้ น้ึ มา ใหค้ วามสำ� คญั กบั ความร้ใู นเนอื้ ในตวั ของนกั วจิ ยั มองสงั คมและวฒั นธรรมซงึ่ มนษุ ยส์ รา้ งขนึ้ ทม่ี ผี ลตอ่ การกระทำ� ของตัวบคุ คล

  1. ความหมายนี้ใกล้เคียงกับความหมายท่ีสอง กล่าวคือ การตระหนักเกี่ยว กับปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างองค์ความรู้ของนักวิจัย แต่ที่เพิ่มเข้ามาคือ เร่ืองอารมณ์ ความรู้สึก เป็นการพยายามสะท้อนว่าความคิดหรือวิธีคิดมีผลต่ออารมณ์ความรู้สึก อย่างไร และความรสู้ กึ มีผลตอ่ ความคิดอยา่ งไร ผู้เขียนน�ำเครื่องมือนี้มาปรับเปล่ียนไปตามเป้าหมายของการเรียนรู้ในแต่ละ รายวิชา จึงอาจไมไ่ ดม้ ีโครงสรา้ งของการเขียนสะทอ้ นคดิ เดียวกันหมดทุกวชิ า จากกระบวนการสะทอ้ นการเรยี นรทู้ ไ่ี ดก้ ลา่ วไวข้ า้ งตน้ เปรยี บดงั ทผ่ี เู้ ขยี นและ เพื่อนนักวิจัยได้ใช้เวลาใคร่ครวญและสังเกตตนเอง เพ่ือเขียนสะท้อนการเรียนรู้และ การเปลย่ี นแปลงของตนเองประกบทกุ เลม่ รายงานวจิ ยั ตลอด 4 ปที ผ่ี า่ นมา โดยสะทอ้ น วา่ จากการทำ� วจิ ยั ตนเองได้เรียนรูอ้ ะไรบ้างและเปลีย่ นแปลงอยา่ งไร ตลอดจนการต้งั ค�ำถามตอ่ ความเช่ือ วิธีคดิ ทฤษฎีทน่ี ำ� มาใช้ ตลอดจนระเบยี บวธิ ีวิจัยของตนวา่ มาจาก กระบวนทศั นใ์ นการมองโลกอยา่ งไร ซงึ่ การเปลยี่ นแปลงนอี้ าจไมใ่ ชเ่ พยี งระดบั พฤตกิ รรม แต่เป็นการเปลี่ยนในระดบั ทล่ี ึกลงไปคือ วิธีคดิ หรอื วิธกี ารมองโลก

“ฉนั เคยเช่อื มาตลอด 30 ปวี า่ มนุษยเ์ กดิ มาเปรียบเหมอื นผา้ ดำ� ท่ตี ้องให้สงั คม ขดั เกลาช�ำระล้างจงึ จะขาวขึ้น แต่คนท�ำงานขบั เคลื่อนพนื้ ท่กี ล่มุ นเ้ี ชอ่ื ว่ามนุษยเ์ กิดมา เหมือนผ้าขาว พวกเขาเห็นคุณค่าและศักยภาพในตัวมนุษย์ทุกคน ตอนแรกฉันไม่ เข้าใจนกั วา่ ท�ำไมตัวเองจึงคดิ แบบนี้ จนกระทัง่ ตอ่ มาได้เข้ารว่ มเวทอี บรมของโครงการ

100

หลากสี ต่างเลนส:์ ว่าด้วยแนวคิดทฤษฎนี �ำร่วมเคลื่อนสังคม

โครงการรวบรวม วิเคราะห์ และสงั เคราะหแ์ นวคดิ และทฤษฎที ใี่ ช้ในการทำ� งานขับเคลอื่ น และสรา้ งความเข้มแขง็ ของพืน้ ท่ี

ผนู้ ำ� แหง่ อนาคตและทำ� งานรว่ มกบั ทมี วจิ ยั จงึ มองเหน็ ทมี่ าทไ่ี ปของวธิ คี ดิ ดงั กลา่ ว สง่ ผล ให้การลงพื้นท่ีทุกครั้งหลังจากน้ันฉันสามารถซึมซับอารมณ์ความรู้สึกผู้อื่นได้มากข้ึน และได้รับพลังบวกกลับมาเสมอ”

(ฐติ ิกาญจน์ อศั ตรกุล, 2560, น. 310)

ภายใต้วธิ คี ิดแบบการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ ตามหลกั ของ Kolb (1984) ท่ี อธบิ ายทฤษฎวี งจรการเรยี นรจู้ ากประสบการณ์ (Experiential Learning Cycle Theory) โดยให้ความหมายการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ว่าเป็นกระบวนการที่ความรู้ถูกสร้างข้ึน จากการแปลงประสบการณใ์ หเ้ ปน็ ความรู้ ความรจู้ งึ เปน็ ผลรวมของการรบั ประสบการณ์ และการเปลีย่ นประสบการณ์ให้เป็นความรู้ ทฤษฎวี งจรการเรยี นรจู้ ากประสบการณอ์ ธบิ ายวา่ การเรยี นรเู้ ปน็ กระบวนการ ท่ีประกอบดว้ ย 4 ขน้ั ตอนท่ีเกิดขน้ึ เปน็ วงจรตอ่ เนือ่ งกัน แต่ละข้ันตอนจะสง่ ผลต่อการ เรยี นรขู้ องขน้ั ตอ่ ไป ขนั้ ตอนแรกคอื ประสบการณเ์ ชงิ รปู ธรรม (Concrete Experience: CE) บุคคลเปิดรับและมีส่วนร่วมกับประสบการณ์ต่าง ๆ ใช้ปัจจุบันขณะในการรับรู้ และรสู้ ึกถึงประสบการณน์ ั้น (เช่น การลงพ้ืนที่เกบ็ ข้อมูล) ขัน้ ตอนทสี่ องคอื การสงั เกต เชิงสะท้อนคิด (Reflective Observation: RO) บคุ คลไตรต่ รองเพอื่ ทำ� ความเข้าใจ และตคี วามประสบการณท์ ไี่ ดร้ บั (เชน่ การสนทนาแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ การเขยี นสะทอ้ น การเรยี นรู้ การระดมสมองรว่ มกนั ภายหลงั การลงพนื้ ท)ี่ ซงึ่ ขน้ั ตอนนม้ี คี วามสำ� คญั มาก และหลายครั้งเวลาทก่ี ล่าวถึงการเรียนรู้เชงิ ประสบการณ์ บคุ คลมักจะตกร่องยดึ ติดแค่ การสัมผัสประสบการณ์จริงเท่าน้ัน แต่ตามทฤษฎีนี้จะเห็นได้ว่า หากไม่มีการสังเกต เชิงสะท้อนคดิ กบั ประสบการณข์ องตนเอง การเรยี นรทู้ เ่ี กดิ ขน้ึ อาจไมเ่ ตม็ ประสทิ ธภิ าพ เมือ่ ผา่ นข้ันสงั เกตเชิงสะท้อนคิดแลว้ จากน้ันจึงเข้าสู่ขน้ั ตอนสรปุ แนวคิดเชิงนามธรรม (Abstract Conceptualization: AC) บุคคลวิเคราะห์ สงั เคราะหแ์ ละประมวลข้อมูล

101

เพ่อื หาความเชอ่ื มโยงของทฤษฎเี พือ่ หาข้อสรปุ รวบยอดและน�ำไปใชต้ ่อไป (เช่น การ เขยี นสงั เคราะห์ส่งิ ท่ไี ด้เรียนร้ใู นมุมของตนผ่านการเขียนสะท้อนการเรียนรู้) และข้นั ตอนสดุ ท้ายคอื การทดลองผ่านการปฏิบตั ิ (Active Experimentation: AE) บุคคล น�ำความเขา้ ใจทีส่ รปุ ไดไ้ ปทดลองปฏิบัตจิ ริง (เช่น การลงพนื้ ที่เก็บข้อมลู ในครั้งถดั ไป การตงั้ ประเด็นทีต่ ้องการศึกษา) (Kolb, 1984; Kolb & Kolb, 2009) ดังน้ัน เมื่อน�ำมาเทียบเคียงกับการท�ำวิจัยท่ีนอกจากจะเป็นกระบวนการ สร้างองค์ความรู้ภายนอกตนเองแล้ว ยังเป็นกระบวนการที่นักวิจัยได้เรียนรู้ผ่าน ประสบการณ์ตรงในขณะทีล่ งพืน้ ทีเ่ ก็บข้อมลู เครือ่ งมือส�ำคญั ที่ช่วยใหก้ ารเรียนรู้นนั้ มี ประสิทธิภาพและเป็นจุดเริ่มต้นของการท�ำวิจัยเพ่ือการเปลี่ยนแปลง คือ การเขียน สะทอ้ นการเรยี นรู้ของนกั วจิ ัยลงไปในเลม่ รายงานวจิ ัย ตลอดกระบวนการท�ำงานวิจัยร่วมกันต้ังแต่ขั้นตอนวางแผนการท�ำงาน การลงพนื้ ทร่ี ว่ มกนั การแลกเปลยี่ นเรยี นรกู้ นั และการเขยี นสะทอ้ นการเรยี นรู้ เปน็ ภาพ สะทอ้ นของ การทำ� วจิ ัยแบบนำ� รว่ ม ทง้ั ในเชิงพฤตนิ ัย ท่ีสอดแทรกอยใู่ นกระบวนการ ท�ำงานวจิ ัย โดยเพ่อื นนกั วิจยั ได้สลบั บทบาทกันน�ำและตามอยบู่ อ่ ยคร้งั มีสว่ นร่วมใน การรว่ มเกบ็ ข้อมลู แลกเปลีย่ นความรู้ สังเคราะห์ขอ้ มลู และให้ข้อเสนอแนะซึ่งกนั ไมม่ ีนกั วิจยั เป็นเจ้าของพนื้ ทีใ่ ดพน้ื ท่หี นึง่ อกี ท้ังการนำ� รว่ มในเชงิ นิตินยั ทน่ี กั วจิ ยั ได้ เติบโตในเส้นทางวิชาการ ผลัดกันลงนามในสัญญาเป็นหัวหน้าโครงการรับผิดชอบ งานวจิ ัยในแตล่ ะปี

การทำ� วิจยั แบบนำ� ร่วม สหู่ นทางขยายพรมแดนความรู้

“พวกเราเคยตั้งคำ� ถามกนั ว่า การท�ำงานในทมี ของพวกเราเปน็ นำ� รว่ มหรอื ไม่ ฉันมองว่าถา้ กระบวนการน�ำรว่ มกอ่ ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงทงั้ ในระดบั บคุ คล องค์กร และสงั คม การเปลี่ยนแปลงทีเ่ กิดขน้ึ กบั พวกเรากค็ งเป็นสง่ิ ยืนยนั ค�ำตอบได”้

(ฐติ กิ าญจน์ อศั ตรกุล, 2560, น. 312)

102

หลากสี ต่างเลนส์: วา่ ด้วยแนวคดิ ทฤษฎีนำ� รว่ มเคล่ือนสงั คม

โครงการรวบรวม วเิ คราะห์ และสงั เคราะห์แนวคดิ และทฤษฎีท่ใี ช้ในการท�ำงานขบั เคลอื่ น และสร้างความเข้มแข็งของพ้นื ที่