การพยาบาลผ ป วยเด กท ม ความผ ดปกต ทางโลห ตว ทยา

เผยแพร่: 6 พ.ย. 2555 17:31 โดย: MGR Online

กทม.จับมือสถาบันกวดวิชาชื่อดัง ติวเข้มความรู้ให้เด็ก ม.3 และ ม.6 สังกัด กทม.เพื่อเพิ่มโอกาสในการศึกษาต่อ

วันนี้ (6 พ.ย.) ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร(กทม.) เป็นประธานพิธีเปิดศูนย์การเรียนเสริมแบบเข้ม ตามโครงการเพิ่มโอกาสการศึกษาต่อระดับการศึกษาที่สูงขึ้นของนักเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยมี นางทยา ทีปสุวรรณ รองผู้ว่าฯ กทม.คณะผู้บริหารสำนักการศึกษา ครู ผู้ปกครอง นักเรียน และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง ร่วมพิธี ณ โรงเรียนมัธยมบ้านบางกะปิ เขตบางกะปิ ทั้งนี้ กทม.ร่วมกับสถาบันกวดวิชาที่มีชื่อเสียงหลายแห่ง อาทิ โรงเรียนกวดวิชาวรรณสรณ์ (เคมี อาจารย์อุ๊) โรงเรียนกวดวิชาเดอะเบรน โรงเรียนวิทย์-ศิลป์สยามสแควร์ (ครูลิลลี่) โรงเรียนกวดวิชาภาษาอังกฤษ Enconcept โรงเรียนกวดวิชานวศึกษา โรงเรียนกวดวิชาภาษาไทยอาจารย์กอล์ฟ โรงเรียนบ้านความรู้ โรงเรียนกวดวิชาแอคชีฟ จัดโครงการเพิ่มโอกาสการศึกษาต่อระดับการศึกษาที่สูงขึ้นของนักเรียนสังกัด กทม.ขึ้น โดยจัดกิจกรรมการสอนเสริมแบบเข้มให้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักเรียนได้รับโอกาสเรียนเสริมแบบเข้มในรายวิชาสำคัญ ที่ใช้เป็นหลักในการทดสอบวัดคุณภาพการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) เป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนสังกัด กทม.ที่จะต้องสอบแข่งขันเข้าเรียนต่อในระดับการศึกษาที่สูงขึ้น และไม่ได้รับการเสริมเทคนิคพิเศษในการแก้ไขปัญหาทางวิชาการสำหรับข้อสอบที่ใช้แข่งขันได้มีโอกาสเสริมทักษะพิเศษดังกล่าวเช่นนักเรียนสังกัดอื่น รวมทั้งทำให้ครูผู้สอนได้เรียนรู้ และนำเทคนิคของสถาบันกวดวิชาเหล่านี้มา ปรับใช้กับการสอนของตน ซึ่งถือได้ว่าเป็นการยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในสังกัด กทม.อีกด้วย

สำหรับในปีการศึกษา 2555 นี้ มีนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สมัครเข้าร่วมโครงการ 3,500 คน จัดให้นักเรียนเข้าเรียนเสริมแบบเข้มกระจายไปตามศูนย์การเรียนที่ใกล้บ้าน 16 ศูนย์ และเรียนในวันเสาร์ก่อนสอบ O-NET จำนวน 12 ครั้งๆ ละ 6 ชม.สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีนักเรียนเข้าร่วมโครงการ 600 คน จัดให้เรียนในวันปกติ 12 ครั้งๆ 8 ชม.ในศูนย์การเรียน 3 ศูนย์ ในส่วนของศูนย์การเรียนเสริมเข้มโรงเรียนมัธยมบ้านบางกะปิแห่งนี้ จะเปิดทำการเรียนการสอนตั้งแต่บัดนี้ถึงวันที่ 29 ม.ค.2556 มีนักเรียนทั้งสิ้น 239 คน จากโรงเรียนมัธยมบ้านบางกะปิ โรงเรียนมัธยมสุวิทย์เสรีอนุสรณ์ และโรงเรียนมัธยมนาคนาวา

ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ กล่าวว่า ปัจจุบันสังคมไทยมีการแข่งขันในเรื่องการศึกษาสูงมากจะเห็นได้จากว่ามีผู้สนใจมาเรียนพิเศษตามสถาบันกวดวิชาต่างๆ เป็นจำนวนมาก ทั้งๆ ที่มีค่าใช้จ่ายในการเรียนการสอนค่อนข้างสูง ทำให้เป็นภาระค่าใช้จ่ายสำหรับผู้ปกครองที่มีรายได้ไม่สูงมาก แต่ต้องการให้บุตรหลานของตนสามารถสอบแข่งขันเข้าศึกษาสถาบันการศึกษาที่มีชื่อเสียงเป็นที่ต้องการได้ กทม.เห็นความสำคัญของการเรียนเสริมดังกล่าว และเพื่อเป็นการแบ่งเบาภาระคาใช้จ่ายของผู้ปกครอง จึงได้จัดโครงการเพิ่มโอกาสการศึกษาต่อระดับการศึกษาที่สูงขึ้นของนักเรียนสังกัด กทม.ขึ้นโดยส่งเสริมให้นักเรียนได้มีโอกาสเรียนเสริมกับอาจารย์จากสถาบันกวดวิชาที่ มีชื่อเสียงโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย พร้อมกันนี้ กทม.ได้จัดให้มีครูควบคุมนักเรียนที่มาเรียนทุกครั้ง เพื่อดูแลความปลอดภัย พร้อมสร้างความมั่นใจให้กับพ่อแม่ผู้ปกครองที่ส่งบุตรหลานมาเรียนด้วย

แผนพัฒนามหาวิทยาลยั นวมนิ ทราธิราช ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗)

จัดทำ�โดย : คณะกรรมการแผนพฒั นามหาวทิ ยาลยั นวมินทราธิราช

ลิขสทิ ธิ์ : มหาวิทยาลัยนวมนิ ทราธริ าช

จัดพมิ พ์ : สำ�นกั งานอธกิ ารบดี มหาวิทยาลัยนวมนิ ทราธริ าช ๑๓๑/๖ ถนนขาว แขวงวชริ พยาบาล เขตดุสติ กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๐๐ โทรศพั ท์ ๐ ๒๒๔๔ ๓๘๔๗ โทรสาร ๐ ๒๒๔๑ ๖๕๖๐

พิมพค์ รงั้ ที่ ๑ : เมษายน ๒๕๖๔ จำ�นวน ๓๐๐ เลม่

พมิ พ์ท่ี : บริษทั ปริ้นทแ์ อนดม์ อร์ จำ�กัด ๑๑๒/๓๖ หมู่ที่ ๖ ตำ�บลพันท้ายนรสิงห์ อำ�เภอเมอื งสมทุ รสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ๗๔๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๖๔ ๕๙๒ ๖๓๕๙

แผนพฒั นามหาวทิ ยาลัยนวมินทราธิราช ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗)

บทสรุปผู้บริหาร

มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช เป็นสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาท่ีกรุงเทพมหานครจัดต้ังขึ้นตามพระราชบัญญัติจัดตั้ง มหาวิทยาลยั กรุงเทพมหานคร ซ่ึงได้ลงประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เลม่ ท่ี ๑๒๗ ตอนท่ี ๖๙ ก เมอ่ื วันท่ี ๑๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๓ โดยมีวัตถปุ ระสงคใ์ ห้การศกึ ษา ส่งเสรมิ วชิ าการ การวิจยั สรา้ งและพัฒนาวชิ าการและวชิ าชีพชนั้ สูง รวมทง้ั เผยแพร่ ความรู้และส่งเสริมการแพทย์ การสาธารณสุข การบริหารจัดการเขตเมือง การปกครองส่วนท้องถิ่น การพัฒนามหานคร การทะนุบ�ำรงุ ศาสนา ศิลปะ วฒั นธรรม จารีตประเพณี ภมู ิปัญญาท้องถ่นิ ส่ิงแวดลอ้ ม และกฬี า โดยค�ำนึงถึงประสบการณแ์ ละ ความพรอ้ มในด้านตา่ ง ๆ ท่เี ป็นเอกลกั ษณ์ของกรงุ เทพมหานครเพือ่ ตอบสนองความต้องการของประชาชนและเพ่ือประโยชน์ ของประเทศชาติ เพ่ือใหบ้ รรลุเปา้ หมายการจดั ต้ังมหาวิทยาลยั แผนพัฒนามหาวิทยาลยั นวมินทราธริ าช ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗) จึงได้จัดท�ำขึ้นภายใต้การมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นและก�ำหนดแนวทางการพัฒนาจากทุกภาคส่วน ท้ังจากบุคลากร มหาวทิ ยาลยั ทกุ ประเภท ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ไดแ้ ก่ นกั ศกึ ษา กรงุ เทพมหานคร หนว่ ยงานภาครฐั และภาคเอกชน ตลอดจนชมุ ชน เขตเมอื ง รวมทงั้ ไดน้ �ำสาระส�ำคญั ของยทุ ธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าตแิ ละ ประเดน็ เรง่ ดว่ น ๕ ปแี รกของยทุ ธศาสตรช์ าติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) แผนอดุ มศกึ ษาระยะยาว (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) แผนพฒั นากรงุ เทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๗๕) แผนพัฒนากรงุ เทพมหานคร (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕) และการเปลี่ยนแปลงในทกุ มติ ิ ของโลก รวมไปถึงสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัส COVID-19 มาเป็น กรอบแนวคิดในการจัดท�ำแผนพัฒนา มหาวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั ไดท้ �ำการวเิ คราะหส์ ถาบนั และก�ำหนดยทุ ธศาสตรเ์ พอื่ การพฒั นามหาวทิ ยาลยั ๕ ยทุ ธศาสตรป์ ระกอบดว้ ย ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ การจัดการศกึ ษาที่มีคุณภาพเพอ่ื สรา้ งบัณฑติ ที่สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของกรุงเทพมหานคร สงั คม และ ประเทศ ยุทธศาสตร์ท่ี ๒ พัฒนาเครือข่ายและสร้างสรรค์งานวิจัยด้านศาสตร์เขตเมือง ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ พัฒนาการบริการ วิชาการแก่สังคมและการบริการด้านสุขภาพให้เป็นท่ียอมรับของกรุงเทพมหานคร สังคม และประเทศชาติ ยุทธศาสตร์ท่ี ๔ การทะนุบ�ำรุง ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมและการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถ่ินของมหาวิทยาลัยเป็นที่ยอมรับของสังคม และ ยทุ ธศาสตร์ที่ ๕ การบูรณาการระบบบรหิ ารจดั การท่ีมีประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ลเพ่ือรองรบั การพัฒนามหาวิทยาลยั อยา่ ง ย่ังยืน ทัง้ ๕ ยทุ ธศาสตรไ์ ดก้ �ำหนดเป้าหมายเชงิ กลยทุ ธ์ ตวั ชีว้ ดั ทงั้ Leading KPI และLagging KPI ทค่ี รอบคลมุ ภาระหน้าที่ ของมหาวิทยาลัยและตัวชี้วัดท่ีสะท้อนผลการด�ำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายการจดั ตง้ั มหาวทิ ยาลยั และเปา้ หมายการพฒั นา มหาวทิ ยาลยั ในชว่ ง ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗) ไดแ้ ก่ “ASA” ซงึ่ ประกอบดว้ ย ๑) “ยอมรบั (Acknowledgement)” โดยพันธกจิ ในทกุ ดา้ นของมหาวทิ ยาลยั ไดร้ บั การยอมรบั จากกรงุ เทพมหานคร สงั คม และประเทศ ๒) “ยง่ั ยนื (Sustainability)” มหาวทิ ยาลยั มีความย่ังยืน จากการบูรณาการการบริหารจัดการทรัพยากรองค์กรท่ีก่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด มีความ ยืดหยุ่นพร้อมรับมือกับสถานการณ์ท่ีมีการเปล่ียนแปลง มีการบริหารจัดการด้านอาคารสถานท่ีและส่ิงแวดล้อมตามเกณฑ์ มหาวทิ ยาลยั สเี ขยี ว บคุ ลากรมคี ณุ ภาพมคี วามรกั และผกู พนั กบั องคก์ ร และ ๓) “ยกยอ่ ง (Admiration)” จากผลงานของนกั ศกึ ษา บณั ฑติ บุคลากร ส่วนงาน หรอื มหาวทิ ยาลัย เปน็ ประโยชน์ตอ่ สงั คมและสรา้ งช่ือเสยี งเป็นท่ียกยอ่ งในระดบั ชาตหิ รอื นานาชาติ แผนพัฒนามหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธริ าช ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗) ฉบับนี้ ผา่ นการเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลยั ในการประชมุ ครง้ั ท่ี ๑๒/๒๕๖๓ วนั ท่ี ๒๓ ธนั วาคม ๒๕๖๓ และจะน�ำไปเปน็ กรอบแนวทางในการด�ำเนนิ งานเพอื่ พฒั นามหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธริ าชใหบ้ รรลเุ ป้าหมายตามที่ก�ำหนดไว้ และเพื่อให้บรรลวุ ิสัยทัศน์ “ผู้น�ำด้านศาสตรเ์ ขตเมือง”

สารบัญ

ส่ว่ นที่่� ๑ ข้อ้ มูลู มหาวิิทยาลัยั นวมิินทราธิริ าช หนา้ ๑.๑ ประวัตั ิิความเป็น็ มาของมหาวิทิ ยาลัยั ๑.๒ ภาระหน้้าที่�่ของมหาวิทิ ยาลัยั ๑ ๑.๓ โครงสร้้างของมหาวิทิ ยาลัยั นวมินิ ทราธิริ าช ๓ ๑.๔ สััญลัักษณ์์ของมหาวิิทยาลัยั ๔ ๗ ส่่วนที่่� ๒ การจัดั ทำ�ำ แผนพัฒั นามหาวิทิ ยาลััยนวมินิ ทราธิริ าช ๔ ปีี (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗) ๒.๑ ความเป็็นมา ๑๑ ๒.๒ กรอบแนวคิิดในการจััดทำำ�แผน ๑๑ ๒.๓ การวิิเคราะห์์ปััจจััยภายในและสิ่ง� แวดล้้อมภายนอก (SWOT Analysis) ๑๖ ๒.๔ ขั้้น� ตอนในการจััดทำ�ำ แผนพััฒนามหาวิิทยาลััย ๒๐

ส่ว่ นที่่� ๓ สาระสำำ�คััญของแผนพััฒนามหาวิิทยาลัยั นวมินิ ทราธิริ าช ๔ ปีี (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗) ๒๓ ๓.๑ ปรัชั ญา ปณิธิ าน วิสิ ััยทัศั น์์ พันั ธกิิจ อััตลัักษณ์์ เอกลักั ษณ์์ ค่่านิิยมองค์์กร ๒๔ ๓.๒ นโยบายและเป้า้ หมายการพัฒั นามหาวิิทยาลัยั ๒๕ ๓.๓ ยุุทธศาสตร์์ในแผนพััฒนามหาวิิทยาลััยนวมินิ ทราธิิราช ๔ ปีี (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗) ๒๖ ๓.๔ แผนพัฒั นามหาวิิทยาลััยนวมิินทราธิิราช ๔ ปีี (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗) ๓๙ ส่ว่ นที่�่ ๔ การนำำ�แผนไปสู่�การปฏิบิ ััติแิ ละการติดิ ตามประเมินิ ผล ๔๐ ๔.๑ การสร้า้ งความรู้�ความเข้า้ ใจสู่่�ระดับั ส่่วนงาน ๔๐ ๔.๒ การสร้า้ งความรู้�ความเข้า้ ใจสู่่�ประชาคมมหาวิิทยาลััย ๔.๓ การเชื่อ่ มโยงจากแผนพััฒนามหาวิทิ ยาลััยนวมินิ ทราธิิราช ๔ ปีี (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗) ๔๑ สู่่�แผนปฏิบิ ััติิการประจำำ�ปีี ๔๑ ๔.๔ การจัดั ทำ�ำ คำำ�รับั รองการปฏิบิ ััติิการ ๔๑ ๔.๕ การติดิ ตามและการประเมินิ ผล ๔.๖ บทบาทของผู้้�มีีส่่วนเกี่่ย� วข้อ้ งต่่อการนำำ�แผนพััฒนามหาวิิทยาลััยไปสู่�การปฏิิบััติิ

แผนพัฒนามหาวิทยาลัยนวมนิ ทราธริ าข ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗)

ส่วนที่ ๑ ขอ้ มูลมหาวิทยาลยั นวมินทราธิราช

๑.๑ ประวตั ิความเปน็ มาของมหาวทิ ยาลยั

กรุงเทพมหานครได้จัดตั้งมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องใน วโรกาสงานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖o ปี ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๓ เมื่อวันที่ ๑๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๓ นับเป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่เป็นหน่วยงานของรัฐในกำ�กับของกรุงเทพมหานคร มีฐานะเป็นนิติบุคคลที่ไม่เป็นส่วนราชการ ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน กฎหมายว่าด้วยระเบียบ บริหารราชการกรุงเทพมหานคร กฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรมและกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ และเพื่อสนองน้ำ�พระราชหฤทัยของบุรพมหากษัตริย์สู่จิตใจแห่งสาธารณะของเมือง อันมีมาก่อนการจัดตั้ง

เรา สมเดจ็ พระปรเมนทรมหาวชิราวธุ พระมงกุฎเกล้าเจ้าแผ่นดินสยาม... ได้คดิ อยเู่ สมอที่จะหาทางส�ำ แดงให้ปรากฏว่า เราปรารถนาที่อันใดอันหน่งึ ขึ้นไว้ เพ่ือสาธารณประโยชนแ์ ห่งพสกนกิ ร จึงได้ตกลงวา่ จะจัดสร้างโรงพยาบาลข้ึน ส�ำ หรับจังหวัดกรุงเทพฯ...และทรัพย์ท่ีเรามีอยู่นี้ เห็นวา่ จะจบั จ่ายใช้สอยในทางใด ก็จะไม่ได้รบั ผลความพอใจเทา่ ทางที่จะท�ำ ใหเ้ พอ่ื นมนุษยผ์ ู้มโี รคภยั เบยี ดเบียน ได้รบั ความบำ�รุงรักษาพยาบาลเพือ่ ทเุ ลาทุกขเวทนา ถา้ ไดก้ ลบั เปน็ ผมู้ กี ำ�ลังรา่ งกายบรบิ ูรณข์ น้ึ อกี

...บัดน้โี รงพยาบาลอันนี้ ก็ไดต้ กแต่งข้นึ พร้อมแล้ว เราขอให้นามวา่ วชริ พยาบาล และขอมอบท่นี ี้ไว้เป็นสาธารณสถาน

เป็นสมบัตสิ ทิ ธเ์ิ ด็ดขาดแก่ประชาชนชาวไทย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงสละพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ซื้อที่ดิน (ที่ดินโฉนดเลขที่ ๑๔๕/๓๓๕๔/อ เลขที่ ๑๙ จำ�นวน ๒๗ ไร่) และสิ่งก่อสร้าง (ตึกแบบฝรั่งขนาดใหญ่ ๒ หลัง เรือนนอนไม้ ๑ หลัง) ในราคา ๓,๐๐๐ ชั่ง (๒๔๐,๐๐๐ บาท) จากแบงค์สยามกัมมาจลทุน จำ�กัด ซึ่งแต่เดิม คือ บ้านเลขที่ ๖๗๗ ถนนสามเสน อำ�เภอดุสิต เป็นของ พระสรรพการหิรัญกิจ (เชย อิสรภักดี) และโปรดเกล้าฯให้เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) เป็นแม่กองคุมงานดัดแปลงให้ เป็นสถานพยาบาล โดยได้ทรงออกค่าปรับปรุงซ่อมแซมสถานที่จัดหาเครื่องมือเครื่องใช้ อุปกรณ์ที่ใช้ในการแพทย์และ การพยาบาล สิ้นพระราชทรัพย์ ๓๗,๕๗๖ บาท และเมื่อวันที่ ๒ มกราคม พ.ศ. ๒๔๕๕ ได้ทรงทำ�พิธีเปิด “วชิรพยาบาล” เป็น สถานพยาบาลมอบให้กรมสุขาภิบาล เป็นผู้ดูแลในนามประชาชน ต่อมากระทรวงนครบาล โดยเจ้าพระยายมราชได้ทูลเกล้าฯ ถวายความเห็นเสนอพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวให้รวมโรงพยาบาลสามเสนและวชิรพยาบาลเข้าด้วยกันเมื่อ วันที่ ๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๕๗ ซึ่งในขณะนั้นมีจำ�นวนเตียง ๔๐ เตียง วชิรพยาบาลได้พัฒนามาโดยลำ�ดับ มีการปรับปรุง โรงพยาบาลให้รองรับจำ�นวนผู้ป่วยนอกปีละ ๑๑,๑๐๕ คน และผู้ป่วยในปีละ ๑,๑๗๐ คน จนถึง พ.ศ. ๒๔๖๖ ทรงมี พระกรุณา โปรดเกล้าฯ ตั้งคณะกรรมการปกครองวชิรพยาบาล ขึ้นตรงต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยมีสมเด็จพระนางเจ้า อนิ ทรศกั ดิศ์ จฯี ทรงเปน็ สภานายกิ า พรอ้ มทงั้ กรรมการอกี ๑๓ คน นอกจากนีย้ งั มกี ารตัง้ คณะกรรมการเพิม่ โดยมสี มเดจ็ เจา้ ฟา้ มหดิ ลอดลุ ยเดชกรมหลวงสงขลานครนิ ทร์ (พระยศในขณะนนั้ ) ซงึ่ คอื สมเดจ็ พระมหติ ลาธเิ บศรอดลุ ยเดชวกิ รม พระบรมราชชนก

หน้า 1

แผนพัฒนามหาวิทยาลัยนวมินทราธริ าข ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗)

“องค์บิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันของไทย” เป็นองค์ประธาน วางระเบียบการโรงพยาบาล เพื่อปฏิบัติให้เป็นไปตามพระราชดำ�ริ หลังจากนั้น ๑ ปี วชิรพยาบาล ได้ย้ายมาอยู่ในความดูแล ของกรมสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย และขยายกิจการ มีการ ก่อสร้างอาคารเพิ่มขึ้นอีกหลายหลัง รวมทั้งมีการเปิดอบรมหมอตำ�แย ขึ้นในปี พ.ศ. ๒๔๗๐ และเมื่อวันที่ ๑๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๐ ได้มี พระราชกฤษฎีกาโอนสิทธิและกิจการของวชิรพยาบาล จากกรม สาธารณสขุ มาอยใู่ นความดแู ลของเทศบาลนครกรงุ เทพ แตข่ า้ ราชการที่ พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ ัวเสดจ็ เปิดวชริ พยาบาล ทำ�งานในวชิรพยาบาลยังคงเป็นข้าราชการกรมสาธารณสุขไปตามเดิม (วนั ท่ี ๒ มกราคม พ.ศ. ๒๔๕๕) จนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๔๙๘ วชิรพยาบาลมีฐานะเป็นกองในส่วน

ราชการเทศบาลนครกรุงเทพ

ด้านการศึกษาเทศบาลนครกรุงเทพได้ก่อตั้งโรงเรียน พยาบาลผดุงครรภ์และอนามัยวชิรพยาบาล ขึ้นเมื่อวันที่ ๒๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๗ โดยมีวัตถุประสงค์ในการผลิตพยาบาล เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนพยาบาล สำ�หรับปฏิบัติงานใน โรงพยาบาลและศูนย์บริการสาธารณสุขของเทศบาลนครกรุงเทพ ใช้หลักสูตรการศึกษา ๔ ปี รับผู้สำ�เร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ ๓ ( ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๙๗ – ๒๕๑๓) ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๑๔ ได้มีการจัดซื้อที่ดินริมแม่น้ำ�เจ้าพระยา เนื่องจากสถานที่ภายใน วชิรพยาบาลไม่เพียงพอ และได้มีการเปลี่ยนแปลงหลักสูตรการ ศึกษาครั้งแรกเป็นหลักสูตร ๓ ปี ๖ เดือน รับผู้สำ�เร็จการศึกษา วิทยาลัยพยาบาลเกอื้ การุณย์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ และเปลี่ยนชื่อเป็น วิทยาลัยพยาบาล (พ.ศ. ๒๕๑๙ - ๒๕๕๓)

อนามัยและผดุงครรภ์วชิรพยาบาล ขณะที่โรงเรียนพยาบาลโรงพยาบาลกลาง เปิดดำ�เนินการที่โรงพยาบาลกลาง เมื่อวันที่ ๑๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๓ เป็นหลักสูตรการศึกษา ๔ ปี รับผู้สำ�เร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และในปี พ.ศ. ๒๕๑๕ ได้เปลี่ยนแปลงหลักสูตรการศึกษาเป็น ๓ ปี ๖ เดือน รับผู้สำ�เร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ เช่นเดียวกัน ดังนั้น ในปี พ.ศ. ๒๕๑๙ คณะผู้บริหารกรุงเทพมหานคร เห็นว่าวิทยาลัยพยาบาลทั้ง ๒ แห่งมีวัตถุประสงค์ในการดำ�เนินการเช่นเดียวกัน ทั้งเป็นสถาบันการศึกษาพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร จึงได้รวมกิจการเข้าด้วยกัน และได้รับพระราชทานนามจากพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ว่า “วิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์” ตั้งแต่วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๙ เป็นต้นมา จดั เปน็ สถาบนั การศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษาแหง่ แรกของกรงุ เทพมหานคร และเข้าเป็นสถาบันสมทบของมหาวิทยาลัยมหิดลในปี พ.ศ. ๒๕๓๗

ส่วนการจัดการศึกษาแพทยศาสตร์ คณะกรรมการข้าราชการ วทิ ยาลัยแพทยศาสตรก์ รงุ เทพมหานครและวชิรพยาบาล กรุงเทพมหานคร ได้มีมติในการประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๓๖ เมื่อวันที่ (พ.ศ. ๒๕๓๖ - ๒๕๕๓) ๒๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๖ ให้จัดตั้งวิทยาลัยแพทยศาสตร์ กรุงเทพมหานคร เป็นส่วนราชการในสังกัดสำ�นักการแพทย์ ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ ๑๑๐ ตอนที่ ๑๐ เมื่อ วันที่ ๒๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๖ และเป็นสถาบันสมทบของ

หน้า 2

แผนพัฒนามหาวิทยาลัยนวมินทราธริ าข ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗)

มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อวันที่ ๑๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ ต่อมา คณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครได้มีมติการประชุมครั้งที่ ๖/๒๕๔๑ ให้มีการปรับโครงสร้างและอัตรากำ�ลัง ตามแผนอัตรา กำ�ลัง ๕ ปี (ปีงบประมาณ ๒๕๔๐ - ๒๕๔๔) ของสำ�นักการแพทย์ โดยกำ�หนดให้วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครรวมกับ วชิรพยาบาล และให้ใช้ชื่อว่า วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานคร และวชิรพยาบาล ด้วยเหตุที่กรุงเทพมหานครเป็นเมืองหลวงของ ประเทศไทย และเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษที่ เป็นศูนย์รวมของความเจริญในทุกด้านของประเทศ ดังนั้นตั้งแต่ คณะแพทยศาสตรว์ ชิรพยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ เป็นต้นมา กรุงเทพมหานครได้มีแนวคิดที่จะ (พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๖๒)

จัดตั้งสถาบันที่ให้การศึกษาเกี่ยวกับการบริหารจัดการเมือง ชุมชน เมือง เพื่อสร้างคนไปตอบสนองความต้องการของเมืองที่มีขนาดใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ ไม่ว่าจะเป็นเมืองหลวงหรือเมืองในภูมิภาค โดยได้มีการผลักดันอย่างจริงจังในการที่จะให้มีมหาวิทยาลัยของเมือง ประกอบกับกรุงเทพมหานครได้เปิดการศึกษาหลายระดับ แล้ว รวมถึงมีสถาบันอุดมศึกษา ๒ แห่ง คือ วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล และวิทยาลัยพยาบาล เกื้อการุณย์ ที่มีความเข้มแข็งด้านวิชาการที่จะเป็นรากฐานของมหาวิทยาลัยในระยะแรก ส่วนแผนการจัดการศึกษาจะต้องไม่ซ้ำ�ซ้อน กับมหาวิทยาลัยที่มีอยู่ในประเทศ โดยเน้นผลิตบุคลากรในสาขาวิชา ที่ขาดแคลนและเป็นที่ต้องการของกรุงเทพมหานครและเมือง

เมอื่ แรกจดั ตงั้ มหาวทิ ยาลยั มชี อื่ วา่ มหาวทิ ยาลยั กรงุ เทพมหานคร ได้มีการโอนงบประมาณและภารกิจของวิทยาลัยแพทยศาสตร์ กรงุ เทพมหานครและวชริ พยาบาล และวทิ ยาลยั พยาบาลเกอื้ การณุ ย์ ที่เป็นส่วนราชการในสังกัดสำ�นักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร พรอ้ มกับเปลีย่ นสถานะมาเปน็ คณะแพทยศาสตรว์ ชิรพยาบาล และ คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ และเมื่อวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน คณะพยาบาลศาสตรเ์ ก้ือการุณย์ (พ.ศ. ๒๕๕๓ – ปัจจุบนั ) พ.ศ. ๒๕๕๓ ได้มีส่วนงานอีกสองส่วนงานได้จัดตั้งขึ้น ได้แก่ สำ�นักงานสภามหาวิทยาลัย และสำ�นักงานอธิการบดี ต่อมาวันที่ ๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๕ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน ชื่อมหาวิทยาลัยว่า มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ซึ่งมีความหมายว่า พระราชาผู้ยิ่งใหญ่ลำ�ดับที่เก้า โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ วันที่ ๒๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นต้นมา

๑.๒ ภาระหนา้ ที่ของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชจัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์และภาระหน้าที่ดังต่อไปนี้ (๑) ทำ�การวิจัย ส่งเสริม สนับสนุนการวิจัย เพื่อสร้างหรือพัฒนาองค์ความรู้และนำ�ความรู้นั้นไปใช้ให้เป็นประโยชน์ ต่อการพัฒนากรุงเทพมหานคร สังคม และประเทศชาติ (๒) ผลิตบัณฑิตให้สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ แผนพัฒนากรุงเทพมหานครและแผนความร่วมมือระหว่าง กรุงเทพมหานครกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น โดยมุ่งเน้นให้บัณฑิตมีความรู้ความสามารถในวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม มีความสำ�นึกต่อสังคมและมีความใฝ่รู้และเรียนรู้ด้วยตนเอง (๓) พัฒนาองค์ความรู้ด้านการแพทย์และการสาธารณสุขทุกสาขา โดยเน้นทางด้านเวชศาสตร์เขตเมือง

หน้า 3

แผนพัฒนามหาวทิ ยาลยั นวมินทราธริ าข ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗)

(๔) พัฒนาองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการเขตเมือง ด้านการปกครองส่วนท้องถิ่นและพัฒนามหานคร (๕) ให้โอกาสทางการศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนเขตเมืองโดยยึดหลักความเสมอภาค (๖) บริการทางวิชาการและร่วมมือกับชุมชนในการฝึกและพัฒนาอาชีพ (๗) ทะนุบำ�รุงศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น สิ่งแวดล้อม และกีฬา (๘) ให้บริการทางการแพทย์ การพยาบาล การสาธารณสุข และการบริการทางวิชาการและวิชาชีพ ให้เป็นที่ยอมรับ ในระดับประเทศและนานาชาติ

๑.๓ โครงสร้างของมหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

มหาวิทยาลัยนวมนิ ทราธิราช

ส�ำ นักงานสภามหาวิทยาลัย สำ�นักงานอธิการบดี

คณะแพทยศาสตร์ คณะพยาบาลศาตร์ คณะวทิ ยาศาสตร์และ วิทยาลัย วิทยาลยั วชิรพยาบาล เกือ้ การณุ ย์ เทคโนโลยสี ขุ ภาพ พฒั นามหานคร พัฒนาชมุ ชนเมอื ง

๑.๓.๑ สำ�นักงานสภามหาวิทยาลัย

จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย นวมินทราธิราช พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยสำ�นักงาน สภามหาวิทยาลัยมีภาระหน้าที่ความรับผิดชอบ ในงานเลขานกุ ารและ สารบรรณรวมทัง้ สนบั สนนุ งานของสภามหาวิทยาลัย และภาระหน้าที่อื่น ตามทีส่ ภามหาวทิ ยาลยั หรอื อธกิ ารบดมี อบหมาย ๑.๓.๒ สำ�นักงานอธิการบดี

มีภาระหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับงาน ด้านทรัพยากรบุคคล งานธุรการ การเงินการคลัง งบประมาณและพัสดุ นโยบายและแผน เทคโนโลยีสารสนเทศ วิเทศสัมพันธ์ นิติการ สำ�นักงานสภามหาวทิ ยาลัยและสำ�นักงานอธกิ ารบดี การติดตามประเมินผล การประกันคุณภาพ

การจดั ทำ�รายงานประจำ�ปขี องมหาวทิ ยาลยั รวมทัง้ สนับสนุนและส่งเสริมการด�ำ เนนิ งานตามพนั ธกจิ ตา่ ง ๆ ของมหาวทิ ยาลยั ทั้งด้านวิชาการ การวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม งานกิจการนักศึกษา และภาระหน้าที่อื่นตามที่สภามหาวิทยาลัยหรือ อธิการบดีมอบหมาย

หน้า 4

แผนพัฒนามหาวิทยาลยั นวมินทราธิราข ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗)

๑.๓.๓ คณะแพทยศาสตรว์ ชิรพยาบาล

วชริ พยาบาล เปน็ โรงพยาบาลแหง่ แรกๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ ในประเทศไทย สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ ทรงสละพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์จัดซื้อที่ดินพร้อมด้วยตึกและ สิ่งปลูกสร้าง มอบไว้เป็นสาธารณสถานแก่ประชาชนโดยให้เป็น ที่พยาบาลผู้ป่วยไข้ ทั้งนี้พระองค์ได้เสด็จพระราชดำ�เนินมาเปิด โรงพยาบาลเมอื่ วนั ที่ ๒ มกราคม พ.ศ. ๒๔๕๕ พรอ้ มทงั้ พระราชทาน นามโรงพยาบาลว่า “วชิรพยาบาล” ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๒๘ วชิรพยาบาลได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ในการ อาคารทปี งั กรรศั มีโชติ คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล จัดตั้งคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยมีการใช้

วชิรพยาบาลเป็นโรงพยาบาลสำ�หรับการเรียนการสอนนักศึกษาแพทย์ในชั้นคลินิก ภายหลังกรุงเทพมหานครได้มีแนวคิดที่จะเปิดโรงเรียนแพทย์เป็นของตนเอง วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานคร จึงได้รับการก่อตั้งขึ้นอยู่ภายใต้สังกัดสำ�นักการแพทย์กรุงเทพมหานคร ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๒๘ มกราคม ๒๕๓๖ โดยเป็นสถาบันสมทบของมหาวิทยาลัยมหิดล จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๕๔๑ ได้รวม “วิทยาลัยแพทยศาสตร์ กรุงเทพมหานคร” และ “วชิรพยาบาล” เป็น “วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล” และเมื่อมีการ จัดตั้งมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช จึงได้เปลี่ยนเป็นคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๕๓ เป็นต้นมา โดยคณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาลมภี าระหนา้ ทีแ่ ละความรบั ผดิ ชอบเกีย่ วกบั การบรหิ ารทางดา้ นการศกึ ษา การควบคมุ การสอน และการจัดการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิตและบุคลากรทางการแพทย์ทุกระดับ ตลอดจนผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางหลาย สาขา พัฒนาหลักสูตร และปรับปรุงการศึกษาทางการแพทย์ให้ได้มาตรฐานสากล ส่งเสริม สนับสนุน ค้นคว้า และวิจัยทาง การแพทย์ การให้บริการทางการแพทย์ที่มีคุณภาพแก่ประชาชน ด้านการบำ�บัด การส่งเสริมสุขภาพอนามัยและป้องกันโรค และให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ตลอดจนการทำ�นุบำ�รุงศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น สิ่งแวดล้อม กีฬา ค่านิยมอันดีงามของไทยและวัฒนธรรมองค์กร รวมทั้งภาระหน้าที่อื่นตามที่สภามหาวิทยาลัยหรืออธิการบดีมอบหมาย

๑.๓.๔ คณะพยาบาลศาสตรเ์ กื้อการณุ ย์ คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์พัฒนามาจากการควบรวม กิจการของวิทยาลัยพยาบาล ในสังกัดกรุงเทพมหานคร ๒ แห่ง ซึ่ง แต่ละแห่งมีประวัติและความเป็นมาโดยย่อ ดังนี้ แห่งแรก คือ โรงเรียนพยาบาลผดุงครรภ์และอนามัย วชิรพยาบาล เริ่มเปิดดำ�เนินการเมื่อวันที่ ๒๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๗ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตพยาบาลช่วยแก้ไขปัญหาการ ขาดแคลนพยาบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลและศูนย์บริการ สาธารณสุขของเทศบาลนครกรุงเทพ ต่อมาได้มีการปรับปรุง อาคารการณุ ยสภา คณะพยาบาลศาสตรเ์ กอ้ื การุณย์ หลักสูตรและเปลี่ยนสถานภาพเป็นวิทยาลัยพยาบาลอนามัยและ ผดุงครรภ์วชิรพยาบาล เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๔ ขณะที่โรงเรียนพยาบาลกลางเปิดดำ�เนินการเมื่อวันที่ ๑๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๓ และในปี พ.ศ. ๒๕๑๙ คณะผู้บริหารกรุงเทพมหานครเห็นว่าวิทยาลัยพยาบาลทั้ง ๒ แห่ง มีวัตถุประสงค์ในการดำ�เนินการ เช่นเดียวกัน จึงได้รวมกิจการเข้าด้วยกัน และได้ขอพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มหาราช ซึ่งทรงพระราชทานนามว่า “วิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์” สังกัดสำ�นักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร จัดเป็นสถาบัน

หน้า 5

แผนพฒั นามหาวิทยาลัยนวมนิ ทราธิราข ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗)

การศึกษาระดับอุดมศึกษาแห่งแรกของกรุงเทพมหานคร และเมื่อมีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช จึงได้เป็นคณะ พยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๕๓ เป็นต้นมา โดยคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มีภาระหน้าที่และความ รับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารทางด้านการศึกษา การควบคุมการสอน การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาคุณภาพการศึกษา และการจัดการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิตสาขาพยาบาลศาสตร์และบุคลากรพยาบาลอื่น ๆ การส่งเสริม สนับสนุนงานวิจัยเพื่อ พัฒนางานด้านการศึกษาและการปฏิบัติการพยาบาล การให้บริการทางวิชาการและวิชาชีพแก่สังคม ตลอดจนการทะนุบำ�รุง ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น สิ่งแวดล้อม กีฬา ค่านิยมอันดีงามของไทยและวัฒนธรรมองค์กร รวมทั้ง ภาระหน้าที่อื่นตามที่สภามหาวิทยาลัยหรืออธิการบดีมอบหมาย

๑.๓.๕ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยสี ุขภาพ สภามหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชในการประชุมครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๐ เมื่อวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ มีมติให้จัดตั้ง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ และมีประกาศมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช เร่อื ง การจัดต้งั ส่วนงานในมหาวิทยาลัย นวมนิ ทราธริ าช (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๐ ซึ่งลงประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๔๗ ง วันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๖๑ โดยคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ มีภาระหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดการศึกษา การพัฒนาหลักสูตร การจดั การศกึ ษาทวั่ ไป การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา เพือ่ ผลติ บณั ฑติ และบคุ ลากรในสาชาวชิ าดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สุขภาพ การวิจัยเพื่อพัฒนางานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพการให้บริการทางวิชาการและวิชาชีพแก่สังคมตลอด จนการทะนุบำ�รุงศิลปวัฒนธรรมจารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น สิ่งแวดล้อม กีฬา ค่านิยมอันดีงามของไทยและวัฒนธรรม องค์กรรวมทั้งภาระหน้าที่อื่นที่สภามหาวิทยาลัยหรืออธิการบดีมอบหมาย

๑.๓.๖ วทิ ยาลัยพัฒนามหานคร

สภามหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชในการประชุมครั้งที่ ๑๑/๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๕๖ มีมติให้จัดตั้งวิทยาลัย พัฒนามหานคร และมีประกาศมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช เรื่อง การจดั ตัง้ สว่ นงานในมหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธริ าช (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖ ซึ่งลงประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๑๙๐ ง วันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๖ โดยวิทยาลัยพัฒนามหานคร มีภาระหน้าที่และความรับผิดชอบในการจัดการศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา เพื่อผลิตบัณฑิตผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชาที่เกี่ยว อาคารนวมนิ ทร์ ๑ วทิ ยาลยั พัฒนามหานคร กับการพัฒนามหานครและเมือง ทำ�วิจัยและสร้างเครือข่ายภาคี

การวิจัยร่วมกับหน่วยงานอื่นเพื่อสร้างเสริมองค์ความรู้เพื่อการพัฒนาเมืองและมหานคร จัดระบบการรวบรวมภูมิปัญญาและ ประสบการณ์ของปราชญ์ท้องถิ่น จัดทำ�เป็นคลังความรมู้ หานครและเมอื ง ใหบ้ รกิ ารการศกึ ษา การวจิ ยั และบรกิ ารสารสนเทศ อนั จะน�ำ ไปสกู่ ารใหค้ �ำ ปรกึ ษา แนะน�ำ รวมทง้ั การใหบ้ ริการฝึกอบรมเพื่อเพิ่มพูนศักยภาพทรัพยากรบุคคลของหน่วยงานอื่น อนั จะน�ำ ไปสูก่ ารปรบั ปรงุ และพฒั นากจิ การสงั คมใหด้ ยี ิง่ ขึน้ รวมทัง้ ภาระหนา้ ทีอ่ ืน่ ทีส่ ภามหาวทิ ยาลยั หรอื อธกิ ารบดมี อบหมาย

๑.๓.๗ วิทยาลยั พัฒนาชุมชนเมือง สภามหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชในการประชุมครั้งที่ ๑๑/๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๕๖ มีมติให้จัดตั้ง วิทยาลัยชมุ ชนเมอื งแหง่ กรงุ เทพมหานคร และมปี ระกาศมหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธริ าช เรอื่ ง การจดั ตง้ั สว่ นงานในมหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธริ าช (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖ ซึ่งลงประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๑๙๐ ง วันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๖

หน้า 6

แผนพฒั นามหาวทิ ยาลัยนวมินทราธิราข ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗)

เดิมชื่อวิทยาลัยชุมชนเมืองแห่งกรุงเทพมหานคร ต่อมามีประกาศ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช เรื่อง การจัดตั้งส่วนงานใน มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธริ าช (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๐ ไดเ้ ปลย่ี นชอ่ื เป็นวิทยาลัยพัฒนาชุมชนเมือง ซ่งึ ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๓๓ วันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๐ มีภาระ หน้าที่และความรับผิดชอบในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา ทั้งสายวิชาการ สายวิชาชีพ และฝึกอบรม ในหลักสูตรและสาขา วิชาที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาคมเมือง เพื่อพัฒนา ทักษะและคุณภาพชีวิตของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร อาคารนวมนิ ทร์ ๒ วทิ ยาลยั พัฒนาชมุ ชนเมือง การสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการ การวิจัย และการบริการ

ทางวิชาการร่วมกับกรุงเทพมหานครหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนทั้งในประเทศและนานาชาติ การทะนุบำ�รุง สง่ เสรมิ ศลิ ปวฒั นธรรมและภมู ิปัญญาของชมุ ชน เปน็ แหล่งเรยี นรูต้ ลอดชีวติ ของประชาคมเมือง รวบรวมองค์ความรู้ สนับสนุน การถ่ายทอดความรู้ทักษะความเชี่ยวชาญด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งภาระหน้าที่อื่นตามที่สภามหาวิทยาลัยหรืออธิการบดี มอบหมาย

๑.๔ สัญลกั ษณข์ องมหาวิทยาลยั ประกอบด้วย

๑.๔.๑ ตราสญั ลกั ษณป์ ระจ�ำ มหาวทิ ยาลัย คอื พระอนิ ทร์ทรงช้างเอราวณั ตามแบบของกรงุ เทพมหานคร ด้านบน เป็นคำ�อักษรภาษาบาลี คำ�ว่า “วิชฺชา อุปฺปตตํ เสฏ̣ฐา” แปลว่า “การเกิดปัญญาประเสริฐกว่าเกิดสิ่งใด ๆ” ด้านล่าง เป็นอักษรไทย คำ�ว่า “มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช” ๑.๔.๒ สปี ระจำ�มหาวิทยาลยั คือ สเี ขยี วเขม้ ๑.๔.๓ ต้นไมป้ ระจ�ำ มหาวิทยาลยั คือ ตน้ โมกหลวง

หน้า 7

แผนพัฒนามหาวิทยาลัยนวมินทราธิราข ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗)

ส่วนที่ ๒ การจัดทำ�แผนพัฒนามหาวิทยาลัย นวมินทราธิราช ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗)

๒.๑ ความเป็น็ มา

เนื่�องด้้วยรองศาสตราจารย์์อนัันต์์ มโนมััยพิิบููลย์์ ได้้ดำำ�รงตำำ�แหน่่งอธิิการบดีีในวาระที่�สอง ตามมติิสภามหาวิิทยาลััย นวมินทราธิราช คร้ังท่ี ๕/๒๕๖๓ เมื่อวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๓ ซึ่งอาศัยอ�ำนาจตาม พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย นวมินทราธิราช พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๓๑ (๔) อธิการบดีเป็นผู้แทนของมหาวิทยาลัยในกิจการท้ังปวงและโดยเฉพาะให้มี อ�ำนาจและหน้าท่ี จัดท�ำแผนพัฒนามหาวิทยาลัยและดูแลให้มีการปฏิบัติตามนโยบายและแผนงาน รวมท้ังติดตามประเมิน การด�ำเนินงานด้านต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย

๒.๒ กรอบแนวคิดิ ในการจัดั ทำ�ำ แผน

ประกอบด้้วย ยุุทธศาสตร์์ชาติิ ๒๐ ปีี (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) แผนแม่่บทภายใต้้ยุุทธศาสตร์์ชาติิและประเด็็นเร่่งด่่วน ๕ ปีแรกของยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) แผนการศึกษา แห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) แผนอุดมศึกษาระยะยาว (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) แผนพัฒนากรุงเทพมหานครระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๗๕) แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕) และการเปลี่ยนแปลงในทุกมิติของโลกรวม ไปถึงสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัส COVID-19 สรุปได้ดังนี้ ๒.๒.๑ ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติและประเด็น เร่งด่วน ๕ ปีแรกของยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ในประเด็น ที่เก่ียวข้องกับการพัฒนามหาวิทยาลัย

๒.๒.๑.๑ ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ในยุทธศาสตร์ท่ี ๓ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนท่ีเน้นการพัฒนา ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะท่ีดีและการสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย ยุทธศาสตร์ ที่ ๔ ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม ในการสร้างโอกาสการเข้าถึงบริการทางสังคมอย่างท่ัวถึง การเสริมสร้างพลังทางสังคม และยุทธศาสตร์ที่ ๖ ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ เน้นการวาง ระบบบริหารงานราชการแบบบูรณาการ การยกระดับงานบริการประชาชน และการอ�ำนวยความสะดวกของภาครัฐ สู่ความเป็นเลิศ การพัฒนาระบบบริหารจัดการก�ำลังคนและพัฒนาให้มีความเป็นมืออาชีพ รวมท้ังการต่อต้านการทุจริต และ ประพฤติมิชอบผ่านการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล โดยมุ่งไปสู่วิสัยทัศน์ประเทศไทย ปี ๒๕๗๕ “ประเทศไทยมีความ ม่ันคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน” เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” เปลี่ยนกระบวนทัศน์จาก “โลกที่พัฒนาสู่ความทันสมัย (Modernism)” เป็น “โลกท่ีพัฒนาสู่ความยั่งยืน (Sustainism)”

๒.๒.๑.๒ แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ และประเดน็ เรง่ ด่วน ๕ ปแี รกของยทุ ธศาสตร์ชาตใิ นดา้ นการพฒั นา ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ท่ีเน้นการพัฒนาการเรียนรู้ การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี การบริการประชาชนและ ประสิทธิภาพภาครัฐ การต่อต้านการทุจริตและประพฤติ การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม และครอบคลุมประเด็นเร่งด่วน ๕ ปี แรกของยุทธศาสตร์ชาติ ในประเด็นสังคมสูงวัย คนและการศึกษา การยกระดับบริการสาธารณสุขที่มุ่งเน้นการพัฒนาระบบ การแพทย์ปฐมภูมิ การพัฒนาระบบแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว เวชศาสตร์ฉุกเฉิน และ การขับเคล่ือนประเทศสู่ Thailand ๔.๐ ท่ีเน้นการพัฒนาเพ่ือสนับสนุนการบรรลุ วัตถุประสงค์หลักในด้านการสร้างสังคมท่ีอยู่ดีมีสุข ยกระดับขีดความสามารถของ คนในสังคมให้เข้มแข็ง โดยลดความเหล่ือมล�้ำในสังคม การยกระดับคุณภาพคนให้สูงข้ึน โดยพัฒนาให้ คนไทยมีสมรรถนะ เทียบเคียงกับการพัฒนาในศตวรรษที่ ๒๑

หน้า 11

แผนพัฒนามหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราข ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗)

๒.๒.๑.๓ ยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ ในยุทธศาสตร์ท่ี ๑ การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ให้มีจิตสาธารณะ พัฒนาศักยภาพคนให้มีทักษะ ความรู้ และความสามารถในการด�ำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ลดปัจจัยเส่ียงด้าน สุขภาพและให้ทุกภาคส่วนค�ำนึงถึงผลกระทบต่อสุขภาพ พัฒนาระบบการดูแลและสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมกับสังคม สูงวัย และผลักดันให้สถาบันทางสังคมมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศอย่างเข้มแข็ง ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การสร้างความเป็นธรรมและ ลดความเหล่ือมล�้ำในสังคม ทั้งด้านการศึกษา การดูแลสุขภาพ การเสริมสร้างศักยภาพชุมชน การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน และการสร้างความเข้มแข็งการเงินฐานรากตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือให้ชุมชนสามารถพ่ึงพาตนเองได้ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การเติบโตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมเพ่ือการพัฒนาท่ีย่ังยืน เน้นการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ส่ิงแวดล้อมและ พลังงานอย่างย่ังยืน รวมทั้งการพัฒนาองค์ความรู้ร่วมกับเครือข่ายท้ังในประเทศและต่างประเทศด้านการบริหารจัดการ ภัยพิบัติต่าง ๆ ของเมือง ยุทธศาสตร์ที่ ๖ การบริหารจัดการในภาครัฐ สนับสนุนการบริหารจัดการอย่างธรรมาภิบาล มีความ โปร่งใส ทันสมัย คล่องตัว และการป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบ ปรับปรุงกระบวนการงบประมาณเพ่ือให้การจัดสรรและ การใช้จ่ายมีประสิทธิภาพ พัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ยุทธศาสตร์ท่ี ๘ การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ประเด็นส่งเสริมการวิจัย พัฒนานวัตกรรม และผลักดัน สู่การน�ำไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์และเชิงสังคม ยุทธศาสตร์ท่ี ๙ การพัฒนาภาคเมือง เน้นการสนับสนุนเครือข่ายในการ พฒั นาองคค์ วามรทู้ สี่ นบั สนนุ การพฒั นาเมอื ง และยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๑๐ ความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศเพอื่ การพฒั นา เนน้ ประเดน็ การส่งเสริมและบูรณาการภารกิจด้านความร่วมมือระหว่างประเทศในการสร้างความมั่นคงในทุกด้านท่ีเก่ียวกับเรื่องความ อยู่ดีมีสุขของประชาชน ๒.๒.๒ นโยบายและแผนด้านการศึกษา

๒.๒.๒.๑ แผนการศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) และแผนการศึกษาแห่งชาติฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ในยุทธศาสตร์ท่ี ๑ การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การผลิต และพัฒนาก�ำลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศยุทธศาสตร์ท่ี ๓ การพัฒนา ศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียม ทางการศึกษา ยุทธศาสตร์ท่ี ๕ การจัดการศึกษาเพ่ือสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และยุทธศาสตร์ที่ ๖ การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการ

๒.๒.๒.๒ แผนอุดมศึกษาระยะยาว ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) เนื่องจากการอุดมศึกษาเป็นหัวใจส�ำคัญของ การผลิตและพัฒนาก�ำลังคน การสร้างงานวิจัยและนวัตกรรมข้ันสูง รวมไปถึงการเป็นแหล่งที่สร้างองค์ความรู้เพื่อการพัฒนา ประเทศ โดยได้มีการก�ำหนดเป้าหมายส�ำคัญ ได้แก่ การเพ่ิมสัดส่วนการผลิตบุคลากรสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สายวิทยาศาสตร์สุขภาพ ที่สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ การพัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษของนักศึกษา โดยมี จุดเน้น ๓ เร่ือง ได้แก่

(ก) ก�ำหนดพันธกิจของอุดมศึกษาท่ีมีลักษณะเฉพาะและเป็นจุดเด่นหรือความเชี่ยวชาญของสถาบันอุดมศึกษา แต่ละแห่ง ทั้งสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชนให้เป็นพลังขับเคลื่อนการพัฒนา

(ข) มุ่งเน้นผลผลิตและผลลัพธ์ของระบบอุดมศึกษา (Higher Education Outcomes) ที่มีคุณภาพและ ประสิทธิภาพตามมาตรฐานท่ียอมรับระดับสากล

(ค) ปฏิรูปอุดมศึกษาอย่างครบถ้วนและสมดุล เพื่อให้กลไกนโยบาย การสนับสนุน การก�ำกับตรวจสอบ และ การประเมินผล กระทบของระบบอุดมศึกษามีประสิทธิภาพสูงสุด (Return on Investment) ภายใต้ ๖ ยุทธศาสตร์ดังนี้

(๑) ยุทธศาสตร์ที่ ๑ อุดมศึกษาเป็นแหล่งพัฒนาก�ำลังคนและสร้างเสริมศักยภาพทั้งทักษะความคิดและการรู้คิด หน้า 12

แผนพฒั นามหาวิทยาลัยนวมนิ ทราธิราข ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗)

เพ่ือสนับสนุนการพัฒนาประเทศตามยุทธศาสตร์ชาติ (๒) ยุทธศาสตร์ท่ี ๒ การพัฒนาศักยภาพและคุณภาพนักศึกษา เสริมสร้างความรู้และทักษะทางอาชีพให้พร้อม

รองรับการเปล่ียนแปลงท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคต (๓) ยุทธศาสตร์ที่ ๓ เสริมสร้างสมรรถนะหลักของอุดมศึกษาไทยให้เป็นแหล่งพัฒนาต่อยอดความสามารถใน

การใช้ความรู้ สร้างผลงานวิจัย ค้นหาค�ำตอบท่ีจะน�ำไปใช้ประโยชน์ในการแก้ปัญหาและพัฒนาเศรษฐกิจทั้งระดับท้องถิ่นและ ระดับประเทศ

(๔) ยุทธศาสตร์ที่ ๔ อุดมศึกษาเป็นแหล่งสนับสนุนการสร้างงานและน�ำความรู้ไปแก้ปัญหาผ่านความร่วมมือ กับภาคเอกชนและท้องถิ่น

(๕) ยุทธศาสตร์ที่ ๕ ปรับปรุงระบบการบริหารจัดการให้เกิดประสิทธิภาพ มีประสิทธิผล และมีระบบการก�ำกับ ดูแลท่ีรับผิดชอบต่อผลการด�ำเนินการของมหาวิทยาลัยในทุกด้าน

(๖) ยุทธศาสตร์ท่ี ๖ ปรับระบบโครงสร้างการตรวจสอบ การจัดสรรงบประมาณและการติดตามรายงานผลที่มี ประสิทธิภาพเป้าหมาย

๒.๒.๒.๓ การจัดกลุ่มสถาบันการศึกษาอยู่ในกลุ่มท่ีมุ่งยุทธศาสตร์ด้านการผลิตและพัฒนาบุคลากรวิชาชีพ และ สาขาจ�ำเพาะท่ีเน้นไปท่ีการพัฒนาความเชี่ยวชาญและนวัตกรรมด้านการจัดการศึกษา เพ่ือพัฒนาศักยภาพบัณฑิต และเพ่ิม ผลิตภาพบุคลากรในสายวิชาชีพและสายปฏิบัติการที่มีความจ�ำเพาะต่างๆ ซ่ึงอยู่ระหว่างการประกาศกฎกระทรวงก�ำหนด หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาและการก�ำหนดมาตรการส่งเสริม สนับสนุน ประเมินคุณภาพ ก�ำกับดูแล และการจัดสรรงบประมาณแก่กลุ่มสถาบันอุดมศึกษา ที่ผ่านการเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีไปในการประชุม วันท่ี ๒ มิถุนายน ๒๕๖๓ ๒.๒.๓ แผนพัฒนากรุงเทพมหานครระยะ ๒๐ ปี แผนพัฒนากรุงเทพมหานครระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๘๐) ได้แบ่งช่วงการพัฒนาออกเป็น ๔ ระยะ ๆ ละ ๕ ปี ดังน้ันแผนพัฒนามหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗) จะตรงกับระยะท่ีสองและระยะท่ีสามของแผน พัฒนากรุงเทพมหานคร ๒๐ ปี โดยในระยะท่ี ๒ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕ การพัฒนาสู่มหานครสีเขียว (Green) และระยะท่ี ๓ พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐ เครือข่ายเพื่อการพัฒนามหานคร (Collaboration) ก่อนจะเข้าสู่ระยะที่ ๔ พ.ศ. ๒๕๗๑ - ๒๕๗๕ เมืองอัจฉริยะ (Smart city) เพื่อบรรลุวิสัยทัศน์ “มหานครแห่งเอเชียในปี ๒๕๗๕” ส่วนประเด็นยุทธศาสตร์ท่ีมหาวิทยาลัย ได้น�ำมาก�ำหนดทิศทางการพัฒนาให้สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ได้แก่ (๑) ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ มหานครปลอดภัย ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัย ได้แก่ การลดจ�ำนวนผู้ป่วยด้วยโรคของ คนเมืองหรือเวชศาสตร์เขตเมืองรวมถึงโรคอุบัติใหม่ในเขตเมือง การจัดการปัญหาฝุ่นละออง ปัญหาขยะท้ังขยะในแหล่งน้�ำ ปัญหาส่ิงแวดล้อมอื่น ๆ ของเมือง ปัญหาอุบัติเหตุจราจร ภัยพิบัติ ภัยจากการก่อสร้าง ภัยจากอาหารเครื่องบริโภค (๒) ยุทธศาสตร์ท่ี ๒ มหานครสีเขียว ในส่วนท่ีเก่ียวข้องกับมหาวิทยาลัย ได้แก่ การปรับปรุงทัศนียภาพ การพัฒนา ย้ายระบบสาธารณูปโภคลงใต้ดิน การเพ่ิมพื้นที่สีเขียว (๓) ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ มหานครส�ำหรับทุกคน ในส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัย ได้แก่ การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาสให้ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร การจัดการศึกษาให้แก่เยาวชนในพ้ีนท่ีกรุงเทพมหานครอย่างท่ัวถึงโดย ไมแ่ บง่ แยกความแตกตา่ งทางสงั คม วฒั นธรรม และศาสนา การจดั การศกึ ษาทมี่ คี ณุ ภาพ การสง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนและเยาวชน เรียนรู้วัฒนธรรมและภูมิปัญญาของชุมชนต่าง ๆ ในกรุงเทพมหานคร

(๔) ยุทธศาสตร์ท่ี ๕ มหานครประชาธิปไตย ในส่วนท่ีเก่ียวข้องกับมหาวิทยาลัย ได้แก่ การบริหารด้วยหลักธรรมาภิบาล การท�ำให้ประชาชนมีความเชื่อมั่นต่อความซ่ือสัตย์สุจริต

(๕) ยุทธศาสตรท์ ี่ ๖ มหานครแหง่ เศรษฐกจิ และการเรยี นรู้ ในสว่ นทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั มหาวทิ ยาลยั ไดแ้ ก่ การเปน็ ศนู ยก์ ลาง หน้า 13

แผนพัฒนามหาวิทยาลัยนวมนิ ทราธริ าข ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗)

ของการท่องเท่ียวและวัฒนธรรมของเอเชีย ๒.๒.๔ การเปล่ียนแปลงในทุกมิติของประเทศและของโลก รวมไปถึงผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ ระบาดของเชื้อไวรัส COVID - 19 ท่ีกระทบต่อการก�ำหนดทิศทางการพัฒนาของมหาวิทยาลัย สรุปได้ดังน้ี

๒.๒.๔.๑ การเปลยี่ นแปลงโครงสรา้ งประชากรทก่ี �ำลงั กา้ วเขา้ สสู่ งั คมของผสู้ งู อายโุ ดยสมบรู ณข์ องประเทศไทยและ ประเทศอื่น ๆ เป็นจ�ำนวนมาก การลดลงของอัตราการเกิดโดยเฉพาะในประเทศไทยและประเทศท่ีพัฒนาแล้วจ�ำนวนมาก ส่งผลให้จ�ำนวนนักเรียนที่จะเข้าสู่ระบบอุดมศึกษาลดลง ส่งผลต่อเนื่องไปสู่การลดลงของประชากรวัยแรงงาน และแนวโน้ม การลดลงของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ

๒.๒.๔.๒ สถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษาท่ีมีจ�ำนวนมากทั้งในประเทศและต่างประเทศต่าง ๆ เร่งรัดใน การพัฒนามหาวทิ ยาลยั เพอื่ ใหน้ กั ศกึ ษาสมคั รเขา้ ศกึ ษาตอ่ รวมไปถงึ ขอ้ จ�ำกดั ในการพฒั นาการศกึ ษารว่ มกบั สถาบนั การศกึ ษา หรอื องคก์ ารตา่ ง ๆ ในต่างประเทศ

๒.๒.๔.๓ สถานการณ์การแพร่ระบาดไปท่ัวโลกของเช้ือ Covid-19 ส่งผลกระทบต่อทุกภาคส่วนท่ัวโลก และ ยังไม่มีแนวโน้มท่ีจะสามารถควบคุมการระบาดได้ ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงทั้งในมิติด้านสุขภาพ ท�ำให้มีประชากรโลก ติดเชื้อและเสียชีวิตเป็นจ�ำนวนมาก รวมไปถึงบุคลากรทางด้านสุขภาพ (healthcare workers) มิติด้านเศรษฐกิจ ท่ีท�ำให้ภาค ธุรกิจจ�ำนวนมากต้องล้มละลาย ปิดกิจการ ส่งผลกระทบต่อเนื่องไปสู่สถาบันครอบครัว และฐานะทางการเงินของประเทศ ฐานะทางการเงินของภาครัฐ มิติด้านการศึกษาและสังคม ที่ต้องปรับเปล่ียนรูปแบบอย่างมากสู่วิถีชีวิตแนวใหม่ (New normal หรือความปกติแบบใหม่) เพ่ือรับมือกับสถานการณ์การแพร่ระบาด ๒.๒.๕ นโยบายของสภามหาวิทยาลัย ตลอดระยะเวลาของการจัดต้ังมหาวิทยาลัย นายกสภามหาวิทยาลัยและ กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ไดใ้ หข้ อ้ เสนอแนะในการด�ำเนนิ การตามพันธกิจของมหาวทิ ยาลยั อย่างตอ่ เน่ืองทงั้ จากการประชุม สภามหาวิทยาลัย การประชุมคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการชุดต่าง ๆ ท่ีสภามหาวิทยาลัยแต่งตั้ง และการประชุมร่วมกับ ผู้บริหารมหาวิทยาลัยเพื่อจัดท�ำแผนพัฒนามหาวิทยาลัย ซึ่งสามารถสรุปในประเด็นส�ำคัญได้ดังนี้

๒.๒.๕.๑ การรับมือกับความเปล่ียนแปลงทางด้านประชากรของประเทศ ที่มีจ�ำนวนประชากรเกิดลดน้อยลง จ�ำนวนผู้สูงอายุท่ีเพ่ิมมากข้ึน ท�ำให้นักเรียนท่ีเข้าเรียนในระดับอุดมศึกษาลดลง ท�ำให้ทุกมหาวิทยาลัยรวมทั้งมหาวิทยาลัย นวมินทราธิราชต้องปรับตัวรองรับปัญหานี้

๒.๒.๕.๒ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี โดยเฉพาะเทคโนโลยีสารสนเทศ และเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ รวมไปถึงนวัตกรรมใหม่ๆ ที่จะก้าวเข้ามาปฏิบัติงานทดแทนคนได้ในหลายส่วน ท�ำให้ส่งผลกระทบต่อการประกอบกิจการ หลายประเภท และบางสาขาวิชาท่ีเคยอยู่ในความนิยม เช่น เศรษฐศาสตร์ บัญชี ศึกษาศาสตร์ สังคมศาสตร์ ปัจจุบันมีผู้เข้า เรียนลดลงมาก เนื่องจากสามารถเรียนรู้ได้จากทางอินเทอร์เน็ต นอกจากนี้ยุทธศาสตร์ชาติและแผนปฏิรูปประเทศยังได้ ก�ำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศเอาไว้ ดังนั้น การสร้างหลักสูตรของมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชมีส่ิงท่ีจะต้องค�ำนึงถึง อย่างมาก และต้องเป็นท่ีต้องการของสังคมและประเทศ นอกจากนี้ เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการสอนระดับอุดมศึกษา เช่น Massive Open Online Courseware สามารถรองรับผู้เรียนได้จ�ำนวนมาก ซ่ึงมีท้ังที่เป็นของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย และต่างประเทศ และในอนาคตการรับเข้าท�ำงานอาจไม่จ�ำเป็นต้องจบปริญญา ผู้จ้างงานจะดูความสามารถการท�ำงานได้เป็นหลัก จะท�ำให้ความส�ำคัญของมหาวิทยาลัยลดน้อยลงไปเรื่อย ๆ

๒.๒.๕.๓ มหาวิทยาลัยต้องก�ำหนดให้ชัดเจนว่าลูกค้าของมหาวิทยาลัยคือใคร การด�ำเนินงานของมหาวิทยาลัย ต้องสอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า ซ่ึงลูกค้าหรือผู้รับบริการจะหมายถึง องค์กรหรือกลุ่มคนท่ีเห็นคุณค่าของบริการและ ยินดีที่จะซ้ือบริการของมหาวิทยาลัย ดังนั้นมหาวิทยาลัยจึงต้องออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการท่ีตรงตามความต้องการของ ลูกค้า สร้างระบบงาน วางแผนก�ำลังคน การสรรหาคู่ค้าและคู่ความร่วมมือ เพื่อให้ได้อยู่ในกลุ่มผู้น�ำของตลาด

๒.๒.๕.๔ ทิศทางในอนาคตของการจัดการศึกษา นอกจากเร่ืองการเปิดหลักสูตรใหม่ จะต้องก�ำหนดคุณสมบัติ หน้า 14

แผนพัฒนามหาวทิ ยาลัยนวมนิ ทราธิราข ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗)

ของอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนท่ีจะรับมาปฏิบัติงาน ก�ำหนดสัดส่วนให้เหมาะสม โดยงานการจัดการศึกษาให้น�ำ เทคโนโลยีสมัยใหม่ และน�ำกระบวนการบริหารงานภาครัฐแนวใหม่มาใช้เพื่อลดจ�ำนวนบุคลากรในด้านนี้

๒.๒.๕.๕ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ควรเป็นมหาวิทยาลัยท่ีเน้นการสร้างบุคลากรสายวิชาชีพหรือสายปฏิบัติการ โดยเฉพาะการเน้นภาคบริการ ไม่ใช่เน้นความเป็นเลิศทางด้านวิจัย ต้องผลิตหลักสูตรให้ตรงกับลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย โดยเพ่ิมเติมในส่วนที่เป็น Urban Engineering Science และ Urban Social Science เน้นการเพ่ิมขีดความสามารถบุคลากร การสรา้ งบณั ฑติ ทม่ี คี วามเชยี่ วชาญทางดา้ นปฏบิ ตั กิ าร ไมใ่ ชเ่ ปน็ ปราชญ์ เพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการของผใู้ ชบ้ ณั ฑติ ประชาชน และกรุงเทพมหานคร ส�ำหรับประชาชนในเขตเมือง มหาวิทยาลัยต้องทราบความต้องการของเขา ท�ำอย่างไรให้เขาอยู่อย่าง มีความสขุ ใหบ้ รกิ ารที่เปน็ นวตั กรรมใหม่ ๆ เช่น การเพ่ิมความเขม้ แข็งของศูนย์บริการสาธารณสขุ ในกรงุ เทพมหานครจ�ำนวน หกสิบกว่าแห่งให้มีศักยภาพมาก มหาวิทยาลัยควรมีบทบาทในการเพิ่มศักยภาพให้กับเจ้าหน้าที่ในส่วนปฏิบัติการของ ผู้บริหารเมือง ด้วยการเข้าร่วมกับสถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานคร โดยสามารถช่วยพัฒนาหลักสูตร การจัดการ ความรู้โดยรวบรวมองค์ความรู้จากผู้เกษียณท่ีมีประสบการณ์ พัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และรวบรวมข้อมูลปัญหา ต่าง ๆ ที่สะสมของกรุงเทพมหานครมาจัดท�ำแนวทางแก้ไข

๒.๒.๕.๖ หลักสูตรต่าง ๆ ของแต่ละส่วนงานต้องแตกต่างจากสถาบันการศึกษาอื่น ๆ และสะท้อนออกมาที่ บณั ฑติ ให้มีความแตกตา่ งจากมหาวิทยาลัยอืน่ ๆ อยา่ งชดั เจน ทง้ั นหี้ ลกั สูตรและบุคลากร จะเป็นประเดน็ ทที่ �ำใหม้ หาวทิ ยาลัย นวมินทราธิราชแตกต่างจากมหาวิทยาลัยอ่ืน ควรท�ำให้บัณฑิตรู้ลึกและรู้กว้าง คือ มีความรู้ในศาสตร์ของตนอย่างลึกซ้ึงและ ยังมีความรู้ในศาสตร์อื่นๆ นอกจากน้ีมหาวิทยาลัยควรพัฒนาหลักสูตรด้าน Family Medicine และ Care Giver ควรดูปัญหา ของเมืองเป็นหลัก เช่น การเปิดหลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุจัดเป็นหลักสูตรสหสาขา หลักสูตรเรื่องการจัดการอาหารใน เขตเมือง หลักสูตรการสร้างทักษะให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน เป็นต้น โดยสรุปมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชควรเป็นมหาวิทยาลัย ปฏิบัติการ ไม่ใช่เป็นเลิศทางด้านวิจัย ต้องผลิตหลักสูตรให้ตรงกับลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย

๒.๒.๕.๗ ความย่ังยืนทางการเงินของมหาวิทยาลัย ในช่วงเวลาท่ีผ่านมาไม่ก่ีปีจนถึงปัจจุบันพบว่ามหาวิทยาลัย หลายแห่งท้ังภาครัฐและภาคเอกชน ต้องประสบปัญหาทางด้านการเงิน เนื่องจากได้รับการสนับสนุนงบประมาณลดลง และ จ�ำนวนนักศึกษาท่ีลดลง มหาวิทยาลัยต่าง ๆ ซึ่งมีรายได้หลักจากค่าธรรมเนียมการศึกษา พยายามหารายได้เพิ่มโดยเปิด หลักสูตรส�ำหรับกลุ่มคนท�ำงานมาศึกษาต่อเพ่ิมเติม ส�ำหรับมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช รายได้หลักอยู่ที่การบริการรักษา พยาบาล และมีรายได้จากการศึกษาเพยี งส่วนนอ้ ยเม่ือเปรียบเทียบกบั รายได้ทงั้ หมด อยา่ งไรก็ตามหลักสูตรของมหาวทิ ยาลัย เป็นหลักสูตรสายวิชาชีพ/ปฏิบัติการ ท่ีสังคมและประเทศมีความต้องการ ประกอบกับการท่ีมีรายได้หลักจากการบริการ ทางการแพทย์และสาธารณสุข ท�ำให้การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอาจมีผลกระทบต่อมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชค่อนข้างน้อย นอกจากน้ีทางมหาวิทยาลัยได้เห็นความส�ำคัญของเรื่องน้ีโดยได้ก�ำหนดยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องความย่ังยืนทางการเงินไว้ใน ยุทธศาสตร์ที่ ๖ ของยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย อย่างไรก็ตามการท�ำให้เกิดความย่ังยืนทางการเงินสามารถท�ำได้สองวิธี ได้แก่ การลดรายจ่ายและการเพ่ิมรายได้ การลดรายจ่ายแม้ว่าจะท�ำได้ล�ำบาก แต่ถ้าสามารถโน้มน้าวท�ำให้บุคลากรมีจิตส�ำนึก รักองค์กรมีวิสัยทัศน์ร่วมกันจะท�ำให้ลดรายจ่ายได้โดยเฉพาะค่าสาธารณูปโภค นอกจากน้ีต้องควบคุมงบบุคลากรไม่ให้สูงข้ึน โดยเพ่ิมประสิทธิภาพของคน และจะสามารถลดจ�ำนวนคนได้ รวมไปถึงการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหาร จัดการซึ่งจะท�ำใหส้ ามารถลดจ�ำนวนบคุ ลากรที่ไมจ่ �ำเปน็ ลงในสว่ นของรายได้ มหาวิทยาลัยมีขอ้ ดที ่ีเป็นมหาวทิ ยาลัยในก�ำกับ ของกรุงเทพมหานคร ท�ำให้สามารถเปิดหลักสูตรที่แตกต่างจากมหาวิทยาลัยอื่น และท่ีผ่านมายังได้รับงบประมาณสนับสนุน จากกรุงเทพมหานคร ประมาณร้อยละ ๔๐ ถึง ๔๖ ของรายจ่ายในแต่ละปี

๒.๒.๕.๘ การบริหารงานของมหาวิทยาลัยจะต้องบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ท�ำให้เกิดความคุ้มค่า ในทุกพันธกิจ รวมท้ังจะต้องสร้างจิตส�ำนึกให้กับบุคลากรในทุกระดับให้มีความรู้สึกรักองค์กร มีความรู้สึกเป็นเจ้าขององค์กร เปรียบเสมือนมหาวิทยาลัยคือบ้านของตนเอง

หน้า 15

แผนพฒั นามหาวทิ ยาลยั นวมินทราธริ าข ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗)

๒.๓ การวิเิ คราะห์์ปัจั จััยภายในและสิ่�งแวดล้้อมภายนอก (SWOT Analysis)

จากการวิิเคราะห์์ปััจจััยภายในและสิ่�งแวดล้้อมภายนอก รวมไปถึึงการเปลี่�ยนแปลงต่่าง ๆ ที่�เกิิดขึ้�นทั้�งภายในประเทศและ ต่างประเทศ ที่อาจจะส่งผลต่อการบริหารและพัฒนามหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชในปัจจุบันและอนาคต สามารถสรุปได้ดังน้ี

ปัจั จััยภายใน

จุุดแข็็ง (Strength) จุดุ อ่่อน (Weakness)

๑. เปน็ มหาวทิ ยาลยั ในก�ำกบั ของกรงุ เทพมหานคร ภายใตก้ าร ๑. อาจารย์และบุคลากรยังขาดความรู้ความเข้าใจในหลักการ ก�ำกบั ดแู ลของสภามหาวทิ ยาลยั ท�ำใหส้ ามารถจดั ระบบบรหิ าร และแนวทางการพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ EdPEx จัดการให้มีคล่องตัว และมีประสิทธิภาพ ๒. ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศด้านบัญชีและการบริหารของ ๒. มเี ครอื ขา่ ยความรว่ มมอื ทใ่ี กลช้ ดิ กบั กรงุ เทพมหานคร และ มหาวทิ ยาลยั ยงั ไมส่ มบรู ณเ์ พยี งพอ ท�ำใหไ้ มส่ ามารถสนบั สนนุ องค์กรภายนอกทั้งในประเทศและต่างประเทศจ�ำนวนมาก สารสนเทศส�ำคัญได้โดยเฉพาะต้นทุนการด�ำเนินการ รวมท้ังเครือข่ายชุมชนที่เข้มแข็ง ๓. การประชาสัมพันธ์และการส่ือสารองค์กรยังไม่ทั่วถึง ๓. มหาวทิ ยาลยั ตง้ั อยใู่ นกรงุ เทพมหานคร ซงึ่ เปน็ ศนู ยก์ ลางความ โดยเฉพาะการสื่อสารถึงนักศึกษาและการสื่อสารเชิง เจริญในด้านต่าง ๆ ของประเทศ และเป็นจุดที่สามารถเดินทาง ยุทธศาสตร์ สู่บุคลากรในทุกระดับ ได้หลากหลายท้ังทางบก และทางน้�ำและในอนาคตจะมีรถไฟฟ้า ๔. ทักษะด้านภาษาอังกฤษ และภาษาท่ี ๓ ของอาจารย์และ สายสีม่วงใต้ โดยมีสถานีวชิรพยาบาล อยู่ใต้ถนนสามเสนบริเวณ สายสนับสนุนยังไม่เข้มแข็ง และยังขาดทักษะในอาชีพท่ี ๒ ด้านหน้าคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล ๔. มผี ลงานวจิ ยั และนวตั กรรมทเ่ี นน้ การพฒั นาศาสตรเ์ ขตเมอื ง และน�ำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเมืองอย่างต่อเน่ือง ๕. อาคารสถานทที่ จ่ี ะมคี วามสมบรู ณม์ ากขน้ึ รองรบั การด�ำเนนิ งานของมหาวิทยาลัยภายในระยะเวลาอีก ๑ - ๓ ปีข้างหน้า

ปััจจััยภายนอก

โอกาส (Opportunity) ภาวะคุกุ คาม (Threat)

๑. กรุงเทพมหานคร มเี ครอื ขา่ ยส่วนราชการจ�ำนวนมาก และ ๑. ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจโลก ภูมิภาค และของประเทศท่ีมี มีเมืองท่ีเป็นเครือข่าย (Sister city) ของกรุงเทพมหานคร ความผนั ผวน และผลกระทบจากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของ ที่เอื้อต่อการพัฒนางานทุกพันธกิจในระดับชาติและสากล เชื้อ COVID - 19 ท�ำให้ผลผลิตรวมของประเทศลดลงส่งผล ๒. ระบบมาตรฐานและเกณฑค์ ณุ ภาพตา่ ง ๆ จากภายนอก ไดแ้ ก่ กระทบต่อการจัดเก็บรายได้ของรัฐบาลและกรุงเทพมหานคร การพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา การพัฒนา การ ส่งผลกระทบต่อเงินอุดหนุนที่กรุงเทพมหานครและรัฐบาล พัฒนาคุณภาพสถานพยาบาล เป็นแหล่งเรียนรู้ให้เกิดการ จะจัดสรรให้กับมหาวิทยาลัย และท�ำให้จ�ำนวนประชากรท่ีมี พัฒนาอย่างต่อเนื่อง รายได้ไม่เพียงพอหรือขาดรายได้เพิ่มมากขึ้น ๓. มที นุ สนบั สนนุ การพฒั นาวชิ าการ วจิ ยั นวตั กรรมในโครงการ ๒. โครงสร้างประชากรของประเทศที่มีการชะลอตัวของอัตรา ที่เกิดจากความร่วมมือสหสถาบันท้ังภาครัฐและเอกชน จ�ำนวน การเพม่ิ ของประชากร มจี �ำนวนผสู้ งู อายเุ พม่ิ ขน้ึ จ�ำนวนนกั เรยี น มากโดยระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นแกนน�ำหลัก ที่จะเข้าสู่ระดับอุดมศึกษาลดลงและประชากรวัยท�ำงานลดลง ที่จะน�ำไปสู่การลดลงของประชากรในอนาคต และผลผลิตรวม ของประเทศลดลง

หน้า 16

แผนพัฒนามหาวิทยาลัยนวมนิ ทราธิราข ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗)

ปจั จัยภายนอก (ตอ่ )

โอกาส (Opportunity) ภาวะคุกุ คาม (Threat)

๔. แผนอุดมศึกษาของชาติ และพันธกิจของกระทรวงอุดม ๓. การแข่งขันทางด้านการบริการการศึกษา การบริการ ศึกษาฯ ท่ีมุ่งเน้นไปท่ีการสร้างและพัฒนาคนให้เป็น Smart วิชาการท่ีสูง จากการท่ีมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นจ�ำนวนมาก Citizen การสร้างและพัฒนาองค์ความรู้ ไปสู่ระบบเศรษฐกิจ ในประเทศไทย และสถาบันอุดม ศึกษาจากต่างประเทศ ทเ่ี นน้ คณุ คา่ (Value-Based Economy) การสรา้ งและพฒั นา ๔. การจัดอันดับมหาวิทยาลัยได้ยกระดับเกณฑ์ในการ นวัตกรรม ไปสู่ประเทศฐานนวัตกรรม (Innovation nation) ประเมินท่ีสูงข้ึนทั้งในด้านคุณภาพและปริมาณ ๕. ความต้องการบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ด้าน ๕. ภาวะภัยพิบัติต่าง ๆ ท้ังในรูปแบบเดิมท่ีทวีความรุนแรง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และบุคลากรสายปฏิบัติการ และภัยพิบัติรูปแบบใหม่ อื่น ๆ ของประเทศ

สมรรถนะหลักั ของมหาวิิทยาลััย

การจดั การศึกษา ๑ ๓ ทางการแพทย พยาบาลทเ่ี ปน หลกั สูตรทางวิชาชีพ (ปฏิบัติการ) ในระดบั ปรญิ ญาตรี (๑๒ หลกั สูตร)

การบริการทางวิชาชีพ ๒ ฝกอบรมหลักสตู ร - แพทยป ระจำบา น (๒๗) - พยาบาลเฉพาะทาง ผูชวยพยาบาล พนักงานชวยเหลือผปู ว ย (๕) การใหบรกิ าร

ทางการแพทย การพยาบาล

วชริ พยาบาล

๔ความสัมพนั ธใ กลชิด

กบั กรงุ เทพมหานคร

หน้า 17

แผนพัฒนามหาวทิ ยาลยั นวมินทราธิราข ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗)

จากกรอบแนวคิดิ และการวิิเคราะห์ส์ ถาบััน สรุปุ ประเด็น็ ที่�่เกี่ย่� วข้้องกับั การจัดั ทำ�ำ แผนพัฒั นามหาวิทิ ยาลัยั นวมินิ ทราธิริ าช ๔ ปีี (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗) ดัังนี้�

๑. ความท้้าทายเชิงิ กลยุทุ ธ์์

การเปน มหาวิทยาลยั ขององคก รปกครองสวนทองถนิ่ แหงแรกของประเทศไทย โดยเปนมหาวิทยาลยั ในกำกบั

กรุงเทพมหานครทเ่ี ปนองคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ ลกั ษณะพเิ ศษท่ีใหญท ่ีสุดของประเทศ

การเปลีย่ นแปลงอยา งฉบั พลนั การสรา งผลงานวิจยั และนวตั กรรม ทสี่ ง ผลกระทบวงกวา งในหลายมิติ ท่ีเนนการพัฒนาศาสตรเ ขตเมอื งและ สามารถนำไปใชป ระโยชนใ นการพัฒนา (Disruptive Change) กรุงเทพมหานครและ องคก ารปกครองสว นทอ งถิ่นไดจริง

การจัดใหมฐี านขอมลู ที่สามารถสนับสนนุ การจดั การเรยี นการสอน สารสนเทศท่ถี กู ตอ งเปน ปจจบุ ัน และบริหารจดั การในสถานการณ การแพรร ะบาดของเชือ้ Covid-19 สามารถนำมาใชประกอบการตัดสนิ ใจ เชงิ นโยบาย และการรบั รองมาตรฐาน

ในระดับชาติ

๒. ความได้เ้ ปรีียบเชิงิ กลยุทุ ธ์์

การเปน มหาวทิ ยาลัยในกำกบั มโี รงพยาบาลวชริ พยาบาลซ่งึ เปน ของกรุงเทพมหานครท่ีไดรบั โรงพยาบาลชน้ั นำทีไ่ ดร ับการรบั รอง งบประมาณจากเงนิ อุดหนุนท่วั ไป มาตรฐานคณุ ภาพชั้นกา วหนา และมี ทก่ี รงุ เทพมหานครจดั สรรให คณะพยาบาลศาสตรเก้อื การุณยท่มี ี ประสบการณใ นการจัดการศึกษา ไมน อ ยกวารอยละ ๗๐ มาเปน เวลานาน ของงบประมาณรายจาย มคี วามรวมมอื กับเครือขาย มคี ณาจารยท ่ีมคี วามรู ท้ังในประเทศและตางประเทศ ทเ่ี ปน ทยี่ อมรบั โดยเฉพาะกบั ความเชย่ี วชาญเฉพาะดาน กรงุ เทพมหานครองคก รปกครอง ที่มีความหลากหลายทางวชิ าการ สวนทองถ่นิ มหาวทิ ยาลัยช้ันนำ ทงั้ ในประเทศ และตา งประเทศ

และภาคเอกชน

หน้า 18

แผนพฒั นามหาวิทยาลยั นวมนิ ทราธิราข ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗)

๓. การประเมิณิ โอกาสเพื่่อการพััฒนามหาวิทิ ยาลััย

การสนบั สนุนการพัฒนา ยุทธศาสตรช าติ แผนปฏิรูปประเทศ ตามสมรรถนะหลกั แผนอุดมศกึ ษา และแผนพัฒนา ของสถาบันอดุ มศกึ ษา กรงุ เทพมหานคร

การพัฒนาสงิ่ แวดลอ ม การมแี หลงงบประมาณหรือทนุ สนบั สนนุ อยา งยงั่ ยืน ทีห่ ลากหลาย และสามารถสนับสนนุ

การดำเนนิ งานตามพนั ธกิจของมหาวทิ ยาลัย

การขับเคลอ่ื นระดบั ประเทศ การกา วเขา สสู ังคมผสู ูงอายุ ในประเดน็ Smart City ๔. โอกาสเชิิงกลยุทุ ธ์์

ความตอ งการแรงงาน สายวิทยาศาสตรส ุขภาพ วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

ความขาดแคลนแรงงาน สายวิชาชพี /สายปฏิบตั ิการ

อีกหลายสาขา

สถาบันอดุ มศกึ ษาสว นใหญ มุงจดั การเรียนการสอนในหลกั สูตร ท่ีมีการจัดการเรียนการสอนอยูแลว

กรงุ เทพมหานครยังตอ งการ แหลง สนบั สนนุ องคค วามรใู น การพฒั นาการใหบริการสาธารณะ

การโอนกลับภูมลิ ำเนา ของขาราชการกรงุ เทพมหานคร

หน้า 19

แผนพฒั นามหาวิทยาลัยนวมนิ ทราธิราข ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗)

๒.๔ ข้ันตอนในการจัดทำ�แผนพฒั นามหาวทิ ยาลยั

กิจกรรมประชุม เป้าหมาย นโยบายและแนวทางการ กรอบแนวคิด เชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำ�แผน พัฒนามหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช - ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) พัฒนามหาวิทยาลัย ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗) - นโยบายและแผนการศึกษา (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗) โดยอธิการบดี - แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร - การระดมสมองกำ�หนด ระยะ ๒๐ ปี ประเด็นสำ�คัญแต่ละยุทธศาสตร์ “ร่าง” แผนพัฒนามหาวิทยาลัย - การเปลี่ยนแปลงในทุกมิติ - กำ�หนด KPI ค่าเป้าหมาย นวมินทราธิราช ๔ ปี ของประเทศและของโลก โครงการ/กิจกรรม โดยผู้บริหาร - นโยบายของสมาหาวิทยาลัย และกรรมการจากทุกส่วนงาน (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗) - ผลการดำ�เนินงานตามแผน ตามยุทธศาสตร์ต่างๆ (วันที่ ๓ – ๔ ตุลาคม ๒๕๖๓) ประชาพิจารณ์ “ร่าง” แผนพัฒนา มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ๔ ปี

(พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗) โดยพนักงานมหาวิทยาลัย ผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย (ชุมชนเมือง ข้าราชการ

กรุงเทพมหานคร นักศึกษา) (วันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๖๓)

ประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย เพื่อพิจารณาและให้ความเห็นชอบและ

ให้นำ�เสนอสภามหาวิทยาลัย (วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๖๓)

สภามหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ให้ความเห็นชอบแผนมหาวิทยาลัยฯ

ในการประชุมครั้งที่ ๑๒/๒๕๖๓ (วันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๓) หน้า 20

แผนพฒั นามหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธริ าข ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗)

๓.๒ นโยบายและเป้้าหมายการพัฒั นามหาวิทิ ยาลัยั

ในระยะ ๔ ปที ี่ผ่านมา (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓) ได้ก�ำหนดนโยบายและเป้าหมายไวว้ า่ “คลอ่ งตัว – มัน่ คง – เปน็ ทร่ี ู้จกั ”

ส�ำหรับในระยะ ๔ ปตี อ่ ไป (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗) ได้ก�ำหนดนโยบายและเปา้ หมายไว้วา่ “ยอมรบั – ยัง่ ยนื – ยกย่อง”

Acknowledgement – Sustainability - Admiration (ASA)

(Sustยai่งั nยaนืbility) (Adยmกiยraอ tงion)

ยอมรบั มหาวิทยาลยั มีการบรู ณาการ การบรหิ าร ผลงานของนกั ศกึ ษา บัณฑติ จดั การทรัพยากรองคก รท่กี อใหเกิด บุคลากร สวนงานหรอื มหาวิทยาลยั (Acknowledgement) ประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ลสงู สดุ มีความยืดหยนุ พรอ มรับมอื กบั เปนประโยชนตอ สงั คมและ พันธกจิ ในทุกดา นของมหาวิทยาลัย สถานการณทีม่ ีการเปลยี่ นแปลง สรา งช่อื เสยี งเปนทย่ี กยอ ง ไดรับการยอมรบั จาก ในระดับชาติหรือนานาชาติ กรุงเทพมหานคร มีการบริหารจดั การดา นอาคารสถานท่ี สงั คม และประเทศ และสิง่ แวดลอม ตามเกณฑ

มหาวิทยาลัยสเี ขยี ว บคุ ลากรมีคุณภาพ มคี วามรัก และผูกพนั กับองคกร

หน้า 24

แผนพฒั นามหาวิทยาลยั นวมนิ ทราธริ าข ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗)

๓.๓ ยุทุ ธศาสตร์์ในแผนพััฒนามหาวิิทยาลััยนวมิินทราธิริ าช ๔ ปีี (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗)

ยทุ ธศาสตรท่ี ๑

การจัดการศกึ ษาท่ีมีคุณภาพ เพ่ือสรางบัณฑิตทีส่ อดคลอ งกับความตองการของกรงุ เทพมหานคร สงั คม และประเทศ

ยทุ ธศาสตรท ี่ ๒

พฒั นาเครือขาย และสรา งสรรคด า นวจิ ยั ดา นศาสตรเ ขตเมอื ง

ยทุ ธศาสตรท่ี ๓

พัฒนาการบรกิ ารวิชาการแกสงั คม และการบรกิ ารดานสุขภาพใหเ ปน ทย่ี อมรับของกรงุ เทพมหานคร สงั คม และประเทศชาติ

ยุทธศาสตรท ่ี ๔

การทะนบุ ำรงุ ศาสนา ศิลปะ วฒั นธรรม และการอนรุ กั ษภ ูมปิ ญ ญาทอ งถ่นิ ของมหาวทิ ยาลยั เปนทย่ี อมรบั ของสงั คม

ยุทธศาสตรท ี่ ๕

การบูรณาการระบบบรหิ ารจัดการทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ และประสิทธผิ ลเพ่ือรองรับการพัฒนา มหาวิทยาลยั อยางย่ังยืน

หน้า 25

๓.๔ แผนพัฒั นามหาวิทิ ยาลััยนวมินิ ทราธิริ าช ๔ ปีี (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗) แผนพัฒนามหาวิทยาลัยนวมินทราธิราข ๔ ปี (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๗) หน้า 26 ยุทุ ธศาสตร์ท์ี่� ๑ การจััดการศึกึ ษาที่่�มีคี ุณุ ภาพเพื่่�อสร้า้ งบัณั ฑิิตที่�สอดคล้อ้ งกัับความต้้องการของกรุุงเทพมหานคร สัังคม และประเทศ วัตั ถุปุ ระสงค์์เชิิงกลยุุทธ์์ ๑.๑ สร้า้ งบัณั ฑิิตที่่�มีคี ุณุ ภาพและเป็็นที่่�ต้้องการของกรุุงเทพมหานคร สัังคม และประเทศ กลยุทุ ธ์ท์ี่� ๑.๑.๑ การบริหิ ารจัดั การหลักั สูตู รที่่�มีปี ระสิทิ ธิภิ าพ

แผนงาน/กิิจกรรม Leading KPI หน่ว่ ยนัับ ค่่าเป้า้ หมาย (ปีีการศึึกษา) Lagging KPI ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖

๑. จััดกิจิ กรรมพััฒนาทัักษะ ๑. คะแนนเฉลี่�ยผลการประเมิินคุุณภาพ คะแนน ≥ ๓.๐๐ ≥ ๓.๒๐ ≥ ๓.๔๐ ≥ ๓.๖๐ ๑. หลักั สูตู รระดับั ปริิญญาตรีีทางวิชิ าชีีพทุกุ พหุุศัักยภาพ เช่่น ความรู้�เรื่�อง ระดับั หลักั สููตรตามเกณฑ์์ สกอ. ร้้อยละ หลัักสููตรได้ร้ ัับการรัับรองจากองค์ก์ รวิชิ าชีีพ ประกัันคุุณภาพ/ภาษาที่่� ๓ ที่�เกี่�ยวข้อ้ งตามกรอบระยะเวลาที่่�องค์์กร ๒. พัฒั นาระบบปฏิบิ ััติกิ าร ๒. อััตราการสอบผ่า่ นเพื่�อขอรับั ใบประกอบ ร้อ้ ยละ ≥ ๘๐ ≥ ๘๐ ≥ ๘๐ ≥ ๘๐ วิชิ าชีพี กำ�ำ หนด วิชิ าชีพี ตามเกณฑ์ท์ี่�องค์์กรทางวิิชาชีพี ร้้อยละ งานกิิจการนักั ศึึกษาให้ม้ ีี กำำ�หนด (คิิดเฉพาะหลักั สููตรที่่�มีขี ้อ้ กำ�ำ หนด ร้อ้ ยละ ๒. ทัักษะด้า้ นภาษาอัังกฤษของบััณฑิติ ระดัับ ความเชื่ �อมโยงในทุุกระบบ ทางวิิชาชีีพ) ปริิญญาตรีตี ามเกณฑ์์ CEFR อยู่�ในระดับั ๓. กิิจกรรมพััฒนาศักั ยภาพ B ๑ ≥ ร้้อยละ ๕๐ นักั ศึกึ ษาที่่�เพิ่�มพูนู ทัักษะ ๓. ร้้อยละของบััณฑิิตระดัับปริิญญาตรีที ี่่�มีี ๒๐ ๓๐ ๔๐ ๕๐ ๓. คะแนนเฉลี่�ยสมรรถนะของบััณฑิิตรายด้้าน ในการดำำ�รงชีวี ิติ ทักั ษะด้า้ นภาษาอังั กฤษตามเกณฑ์์ CEFR ประเมิินโดยผู้�ใช้้บััณฑิติ /นายจ้า้ ง ≥ ๔.๐ ๔. การสนัับสนุนุ ทุนุ การศึึกษา อยู่�ในระดับั B ๑ ๔. ร้้อยละของบัณั ฑิติ ที่�ประกอบอาชีีพสอดคล้้อง สำำ�หรัับนักั เรียี นในชุมุ ชน กัับสาขาวิชิ าที่่�สำำ�เร็็จภายในระยะเวลา ๑ ปีี เขตเมืืองที่่�ด้้อยโอกาสทางการ ๔. อัตั ราการสำ�ำ เร็จ็ การศึึกษาของนักั ศึึกษา ≥ ๙๐ ≥ ๙๐ ≥ ๙๐ ≥ ๙๐ หลัังสำำ�เร็จ็ การศึึกษา (≥ ร้้อยละ ๙๕) ศึึกษาให้้มีโี อกาสได้้ศึกึ ษาใน ภายในระยะเวลาที่่�กำ�ำ หนด

มหาวิิทยาลัยั นวมิินทราธิิราช ๕. อััตราการลาออกของนักั ศึกึ ษาเพื่�อไป ≤๓ ≤๓ ≤๓ ≤๓ ศึกึ ษาในสถาบัันการศึึกษาอื่่�น

๖. ค่า่ คะแนนเฉลี่�ยความพึึงพอใจของ คะแนน ≥ ๓.๕๐ ≥ ๓.๖๐ ≥ ๓.๗๐ ≥ ๓.๘๐ นัักศึกึ ษาต่อ่ ระบบปฏิิบัตั ิกิ ารด้้านกิิจการ คะแนน ≥ ๓.๕๐ ≥ ๓.๖๐ ≥ ๓.๘๐ ≥ ๔.๐๐ นักั ศึกึ ษา

๗. ค่า่ คะแนนเฉลี่�ยความผูกู พัันของนักั ศึกึ ษา ต่่อมหาวิิทยาลัยั

๘. ร้อ้ ยละของงบประมาณที่�มหาวิทิ ยาลััย ร้้อยละ ๒ ๒ ๒ ๒ จัดั สรรสำำ�หรับั เป็็นทุนุ การศึกึ ษาที่่�เพิ่�มขึ้�น ในแต่ล่ ะปีี

ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ การจดั การศกึ ษาท่ีมคี ณุ ภาพเพอ่ื สรา้ งบัณฑิตท่ีสอดคล้องกบั ความตอ้ งการของกรุงเทพมหานคร สังคม และประเทศ (ตอ่ ) วัตถุประสงคเ์ ชงิ กลยุทธ์ ๑.๒ อาจารยแ์ ละบคุ ลากรท่เี ก่ียวข้องกับการจัดการศึกษา มศี กั ยภาพเหมาะสม กลยทุ ธ์ที่ ๑.๒.๑ การพัฒนาศักยภาพอาจารย์และบุคลากรท่สี นับสนนุ การจดั การศกึ ษา

แผนงาน/กิจกรรม Leading KPI หนว่ ยนับ ค่าเปา้ หมาย (ปีการศึกษา) Lagging KPI ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖

๑. การจัดั อบรมหลักั สููตรเกี่�ยวกับั ๙. ร้อ้ ยละของอาจารย์ท์ ี่่�มีีวุุฒิปิ ริญิ ญาเอก/ ร้อยละ ๗๐ ๗๑ ๗๒ ๗๕ ๕. ร้อ้ ยละของอาจารย์ท์ ี่่�มีวี ุฒุ ิิปริญิ ญาเอก/ การพััฒนาด้า้ นการเรียี น เทีียบเท่่า ร้อยละ เทีียบเท่่า ≥ ร้อ้ ยละ ๗๕ การสอน ๖. ร้้อยละของอาจารย์ท์ั้�งหมดที่่�มีตี ำ�ำ แหน่ง่ ทาง ๑.๑ อาจารย์ ๑๐. ร้อ้ ยละของอาจารย์ท์ี่�ได้้รับั การพััฒนา คะแนน ๖๐ ๖๕ ๗๐ ๘๐ วิิชาการ ≥ ร้อ้ ยละ ๕๐ ๑.๒ บุคลากรกลมุ่ สนับสนุน แผนพฒั นามหาวิทยาลยั นวมินทราธริ าข ๔ ปี (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๗)ด้้านการจััดการเรีียนการสอน ไม่่น้อ้ ยกว่่าร้อยละ หน้า 27 ๑๐ ชม./คน/ปีี ร้อยละ ๗. บุุคลากรที่�สนับั สนุนุ ด้า้ นการศึึกษามีีวุฒุ ิิ ๒. การจััดทำ�ำ แผนพัฒั นาอาจารย์์ ปริญิ ญาโทหรืือเทีียบเท่่า ≥ ร้้อยละ ๕๐ รายบุคุ คล (Individual ๑๐. ค่่าคะแนนเฉลี่�ยความพึึงพอใจของ ๘. ร้อ้ ยละของอาจารย์ท์ ี่่�ผ่่านมาตรฐาน PSF Development Plan) นักั ศึึกษาที่่�มีตี ่่อการสอนของอาจารย์์ ≥ ๓.๕๐ ≥ ๓.๖๐ ≥ ๓.๗๐ ≥ ๓.๘๐ ในระดับั ที่� ๒ ≥ ร้อ้ ยละ ๕๐

๓. การประเมินิ ความพึงึ พอใจ ๑๒. ร้้อยละของอาจารย์ท์ ี่่�ผ่า่ นมาตรฐาน PSF - ๓๐ ๔๐ ๕๐ การสอนของอาจารย์์ ในระดับั ที่� ๒ ๓๘ ๔๐ ๔๕ ๕๐ ๔. การพััฒนาศัักยภาพอาจารย์์ ๑๓. ร้อ้ ยละของอาจารย์ท์ ี่่�มีีตำำ�แหน่่ง ตามเกณฑ์์ NMU - PSF ทางวิชิ าการ (Professional Standards Framework)

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๑ การจดั การศึกษาทมี่ คี ุณภาพเพอ่ื สร้างบัณฑติ ที่สอดคล้องกับความต้องการของกรุงเทพมหานคร สังคม และประเทศ (ต่อ) วตั ถุประสงคเ์ ชิงกลยุทธ์ ๑.๓ ทรพั ยากรสนบั สนุนการจดั การศกึ ษามีความเหมาะสม เพยี งพอและพรอ้ มใช้ กลยุทธท์ ี่ ๑.๓.๑ การพฒั นาระบบบรหิ ารจัดการทรพั ยากรสนับสนุนการจัดการศกึ ษา แผนพัฒนามหาวิทยาลัยนวมินทราธิราข ๔ ปี (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๗) หน้า 28แผนงาน/กิจกรรม Leading KPI หน่วยนับ คา่ เปา้ หมาย (ปกี ารศกึ ษา) Lagging KPI ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖

๑. การจััดตั้�งหน่่วยเทคโนโลยีี ๑๔. ร้้อยละของรายวิชิ าที่่�สามารถจััดการสอน รอ้ ยละ ๑๐ ๒๐ ๓๐ ๕๐ ๙. การจัดั ตั้�งศูนู ย์์การเรีียนรู้�เชิงิ ปฏิิบัตั ิิการของ ทางการศึึกษา และประเมินิ ผลแบบ online ได้ท้ั้�งรายวิชิ า คะแนน มหาวิทิ ยาลัยั เป็็นผลสำ�ำ เร็็จในปีี ๒๕๖๗ ๒. การจััดตั้�งศูนู ย์ก์ ารเรียี นรู้� ในแต่ล่ ะหลัักสููตร เชิงิ ปฏิบิ ัตั ิิการของมหาวิทิ ยาลัยั ๑๐. ร้้อยละของรายวิิชาที่่�สามารถจััดการสอนและ (NMU Learning Facilitator ๑๕. ค่า่ คะแนนเฉลี่�ยความพึงึ พอใจต่่อ ประเมิินผลแบบ online ได้ท้ั้�งรายวิชิ าใน Center: NMU-LFC) ทรััพยากรสนัับสนุนุ การจััดการศึกึ ษา ของนักั ศึึกษาและอาจารย์์ ≥ ๓.๕๐ ≥ ๓.๖๐ ≥ ๓.๗๐ ≥ ๓.๘๐ แต่่ละหลัักสููตร ≥ ร้้อยละ ๕๐ ๓. การพััฒนาระบบบัญั ชีี พัสั ดุุ ๑๑. คะแนนเฉลี่�ยความพึึงพอใจต่่อทรััพยากร ครุุภััณฑ์์ทางการศึกึ ษา สนัับสนุุนการจััดการศึกึ ษาของนัักศึึกษาและ อาจารย์์ ≥ ๓.๘๐

วัตถปุ ระสงคเ์ ชิงกลยทุ ธ์ ๑.๔ ศิษย์เก่าไดร้ บั การสนับสนนุ และพัฒนาอย่างตอ่ เนือ่ ง กลยทุ ธ์ ๑.๔.๑ การพฒั นาระบบสนับสนุนศิษยเ์ ก่า

๑. พัฒั นาระบบฐานข้อ้ มููล และ ๑๖. จำำ�นวนศิษิ ย์์เก่า่ ที่่�เข้้ารับั การศึกึ ษา รอ้ ยละ ปีฐาน ๕ ๗.๕ ๑๐ ๑๒. จำำ�นวนศิษิ ย์์เก่า่ ที่่�เข้้ารับั การศึกึ ษาฝึึกอบรม ช่่องทางการสื่ �อสารศิิษย์์เก่า่ ฝึกึ อบรมหรืือใช้้บริิการของมหาวิิทยาลััย หรืือใช้บ้ ริิการของมหาวิทิ ยาลััยที่�เพิ่�มขึ้�นต่อ่ ปีี ให้ม้ ีปี ระสิิทธิิภาพ ที่ �เพิ่ �มขึ้ �นต่่อปีี จากปีีฐาน ≥ ร้้อยละ ๑๐

๒. การพััฒนาศัักยภาพของ ๑๗. ค่่าคะแนนเฉลี่�ยความพึึงพอใจต่่อ คะแนน ≥ ๓.๕๐ ≥ ๓.๖๐ ≥ ๓.๗๐ ≥ ๓.๘๐ ศิษิ ย์์เก่่าทั้้�ง UpSkill, ReSkill ช่อ่ งทางการสนัับสนุนุ อย่า่ งต่อ่ เนื่�อง

๓. การพััฒนาช่อ่ งทางการ สนัับสนุุนและพัฒั นาสำ�ำ หรัับ ศิษิ ย์์เก่า่

ยุุทธศาสตร์์ที่� ๒ พัฒั นาเครืือข่่ายและสร้้างสรรค์์งานวิิจััยด้้านศาสตร์์เขตเมืือง วัตั ถุุประสงค์เ์ ชิิงกลยุทุ ธ์์ ๒.๑ ผลงานวิจิ ััยและนวััตกรรมสามารถนำำ�ไปใช้ใ้ ห้เ้ กิดิ ประโยชน์ต์ ่่อกรุงุ เทพมหานคร สังั คม และประเทศชาติิ กลยุทุ ธ์์ที่� ๒.๑.๑ การพััฒนาศักั ยภาพอาจารย์์ นัักวิิจััย และบุุคลากรที่�เกี่�ยวข้้อง

แผนงาน/กิิจกรรม Leading KPI หน่ว่ ยนับั ค่่าเป้้าหมาย (ปีปี ฎิิทิิน) Lagging KPI ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖

๑. การจััดตั้�ง target research ๑๘. ร้้อยละของอาจารย์ท์ ี่่�มีีผลงานวิิจัยั ร้้อยละ ๑๐ ๑๕ ๒๐ ๒๕ ๑๓. จำ�ำ นวนผลงานวิิจัยั /นวัตั กรรมสะสมที่� interested group (TRIG) ≥ ๐.๕ เรื่�องต่อ่ ปีี สามารถนำำ�ไปใช้้ในการแก้้ไขปััญหาของเมือื ง ที่�เน้น้ ด้้านการพัฒั นาศาสตร์์ หรือื นำำ�ไปใช้เ้ ป็น็ ประโยชน์์ทั้�งในระดับั ชาติิ เขตเมือื ง ๑๙. ร้้อยละของอาจารย์ท์ี่�เป็น็ ผู้�วิจัยั หลัักของ ร้อ้ ยละ ๑๐ ๒๐ ๓๐ ๕๐ และนานาชาติิ ≥ ๕๐ เรื่�องหรือื ๕๐ ชิ้�นงาน โครงการวิจิ ัยั และนวัตั กรรมในแต่ล่ ะปีี ๒. การพััฒนาศัักยภาพอาจารย์์ ๑๔. จำ�ำ นวนทรัพั ย์์สินิ ทางปััญญาที่่�ได้้รัับการ และนักั วิจิ ััยด้า้ นการวิิจัยั และ แผนพฒั นามหาวิทยาลยั นวมินทราธริ าข ๔ ปี (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๗)จดสิิทธิบิ ััตรสะสม ≥ ๑๐ ชิ้�นงาน นวััตกรรมหน้า 29 ๒๐. จำำ�นวนผลงานวิจิ ััย/นวัตั กรรมที่่�พัฒั นา เรื่�อง ๕ ๑๐ ๑๕ ๒๐ ๑๕. จำำ�นวนบทความวิชิ าการ/ผลงานวิิจัยั ที่� ร่ว่ มกับั เครืือข่า่ ยถููกนำำ�ไปใช้้ประโยชน์์ใน การแก้ป้ ัญั หาของเมืืองหรือื นำำ�ไปใช้้เป็็น ตีีพิมิ พ์ใ์ นวารสารวิิชาการระดับั นานาชาติิ ประโยชน์์ทั้�งในระดัับชาติแิ ละนานาชาติิ สะสมใน ๔ ปีี ≥ ๓๒๐ เรื่�อง ในแต่่ละปีี ๑๖. คณะกรรมการจริยิ ธรรมการวิิจัยั ในคน ได้ร้ ัับการรัับรองในระดับั นานาชาติิ

กลยุทุ ธ์์ที่� ๒.๑.๒ การพััฒนาระบบส่่งเสริมิ และสนัับสนุุนการวิจิ ััยและนวัตั กรรม

๑. พัฒั นาระบบปฏิิบััติกิ ารด้้าน ๒๑. จำำ�นวนโครงการที่�ได้้รับั การสนัับสนุุน โครงการ ๘ ๑๐ ๑๒ ๑๕ วิิจััยและนวัตั กรรม ทุุนวิจิ ัยั จากภายนอกภาครััฐและเอกชน ๒. พััฒนาระบบ URMS ของ มหาวิิทยาลััยเพื่�อให้้เชื่�อมโยง ๒๒. จำ�ำ นวนบทความวิชิ าการ/ผลงานวิจิ ัยั ที่� เรื่�อง ๕๐ ๕๕ ๖๐ ๗๐ ได้อ้ ย่่างมีปี ระสิทิ ธิภิ าพ ตีพี ิมิ พ์์ในวารสารวิชิ าการระดัับนานาชาติิ

เป็น็ ช่อ่ งทางการประชาสัมั พัันธ์์ ๒๓. จำำ�นวนทรัพั ย์์สิินทางปััญญาชิ้้�นงานใหม่่ เรื่�อง ๒ ๓ ๔ ๕ กิิจกรรมต่า่ ง ๆ ของด้า้ น ที่�เข้า้ สู่่�กระบวนการจดสิทิ ธิบิ ัตั รหรืือ งานวิิจััย อนุสุ ิิทธิิบัตั ร

ยุุทธศาสตร์์ที่� ๓ พัฒั นาการบริิการวิชิ าการแก่ส่ ังั คมและการบริกิ ารด้้านสุุขภาพให้เ้ ป็็นที่�ยอมรับั ของกรุงุ เทพมหานคร สังั คม และประเทศชาติิ วัตั ถุปุ ระสงค์เ์ ชิิงกลยุทุ ธ์์ ๓.๑ การบริิการวิชิ าการแก่ส่ ัังคมเป็็นที่�ยอมรับั ของกรุงุ เทพมหานคร ชุุมชน สังั คม และองค์ก์ รภายนอก กลยุทุ ธ์์ ๓.๑.๑ การพัฒั นาระบบการให้้บริิการวิชิ าการแก่ส่ ังั คม แผนพัฒนามหาวิทยาลัยนวมินทราธิราข ๔ ปี (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๗) หน้า 30แผนงาน/กิจิ กรรม Leading KPI หน่่วยนัับ ค่า่ เป้้าหมาย (ปีีงบประมาณ) Lagging KPI ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗

๑. การจัดั ทำ�ำ โครงการบริิการ ๒๔. จำ�ำ นวนโครงการบริิการวิิชาการแก่ส่ ัังคม โครงการ ๑๐ ๑๕ ๒๐ ๒๕ ๑๗. ร้้อยละรายรัับจากการให้บ้ ริกิ ารแก่ส่ ัังคม วิิชาการแก่ส่ ังั คมที่่�มีปี ระโยชน์์ ที่่�มีีส่่วนสนับั สนุุนการสร้้างความยั่�งยืนื ต่อ่ ที่�เพิ่�มขึ้�น ≥ ร้อ้ ยละ ๓.๐ และมีีส่ว่ นสนับั สนุนุ ในการ ชุุมชน/สัังคม/องค์ก์ รภายนอก ๑๘. จำำ�นวนหลักั สููตรการฝึกึ อบรมที่�ได้ร้ ัับการ สร้า้ งความยั่�งยืนื ต่่อชุุมชน/ รับั รอง ≥ ๔๐ หลัักสูตู ร สัังคม/องค์ก์ ร ๒๕. ร้อ้ ยละของรายรับั จากการให้้บริิการแก่่ ร้้อยละ ๒.๕ ๒.๕ ๓.๐ ๓.๐ ๑๙. หลัักสูตู รการฝึึกอบรมแพทย์์ประจำำ�บ้้านผ่า่ น ๒. การพััฒนาหลัักสูตู รฝึึกอบรม สัังคมที่�เพิ่�มขึ้�นในแต่ล่ ะปีี การรับั รองตามเกณฑ์์ WFME ≥ ร้้อยละ ๙๐ ให้เ้ ป็น็ ไปตามมาตรฐาน ๒๖. จำำ�นวนหลัักสููตรฝึึกอบรมที่�ได้ร้ ับั การ หลักั สูตู ร ๓๒ ๓๔ ๓๖ ๔๐ ๒๐. มีหี ้อ้ งปฏิิบััติกิ าร/ห้อ้ งทดสอบที่�ได้้ ในระดัับชาติิ/นานาชาติิ มาตรฐาน ISO ๑๗๐๒๕ อย่่างน้อ้ ย ๑ ๓. การประชาสัมั พัันธ์์โครงการ รัับรองจากองค์์กรกำ�ำ กับั ดููแลที่�เกี่�ยวข้อ้ ง ห้อ้ งปฏิิบััติิการ/ห้้องทดสอบ ร้อ้ ยละ ๒๕ ๕๐ ๗๕ ๑๐๐ ๒๑. ค่า่ คะแนนเฉลี่�ยความพึึงพอใจของประชาชน บริกิ ารวิิชาการให้ส้ อดคล้้องกับั ๒๗. ร้้อยละของความก้า้ วหน้้าในการขอ กลุ่�มเป้า้ หมาย รับั รองห้้องปฏิบิ ััติกิ ารตามมาตรฐาน ในชุมุ ชนเป้า้ หมายต่่อการสนับั สนุุนชุุมชน ๔. โครงการพัฒั นาห้อ้ งปฏิบิ ัตั ิกิ าร ISO ๑๗๐๒๕ ของมหาวิิทยาลัยั ≥ ๔.๐๐ ห้อ้ งทดสอบตามมาตรฐาน ๒๘. ค่่าคะแนนเฉลี่�ยความความพึงึ พอใจของ คะแนน ≥ ๓.๕๑ ๓.๗๕ ๔.๐๐ ๔.๐๐ ISO ๑๗๐๒๕ ประชาชนในชุมุ ชนเป้า้ หมายต่อ่ การ ๕. การขึ้�นทะเบีียนประชาชน ในชุมุ ชนเป้้าหมายให้้มีสี ิทิ ธิิ สนับั สนุุนชุุมชนของมหาวิิทยาลัยั

ในการรัักษาที่่�โรงพยาบาล ๒๙. จำ�ำ นวนกิิจกรรมที่�เป็น็ ต้้นแบบของ จำำ�นวน ๑ ๑ ๒ ๒ การนำำ�หลัักปรัชั ญาเศรษฐกิิจพอเพีียง กิจิ กรรม วชิิรพยาบาล ไปใช้ใ้ นเขตเมือื ง (สะสม) ๖. การบููรณาการแก้้ไขปััญหา ชุมุ ชนเป้า้ หมายที่่�มีี มหาวิทิ ยาลัยั เป็็นผู้้�นำ�ำ ตามหลััก ปรััชญาเศรษฐกิจิ พอเพีียง ๗. โครงการพััฒนาผลิิตภัณั ฑ์์ ชุุมชนที่�เกิดิ รายได้้แก่่ชุมุ ชน

ยุทุ ธศาสตร์ท์ี่� ๓ พััฒนาการบริกิ ารวิชิ าการแก่ส่ ังั คมและการบริกิ ารด้า้ นสุุขภาพให้เ้ ป็็นที่�ยอมรับั ของกรุงุ เทพมหานคร สังั คม และประเทศชาติิ (ต่อ่ ) วัตั ถุุประสงค์เ์ ชิิงกลยุทุ ธ์์ ๓.๒ การให้้บริิการของโรงพยาบาลวชิริ พยาบาลได้ม้ าตรฐานและอยู่�ในระดับั ชั้�นนำำ�ของประเทศ กลยุุทธ์ท์ี่� ๓.๒.๑ การพััฒนาระบบการให้บ้ ริกิ ารของโรงพยาบาลวชิิรพยาบาลตามมาตรฐาน Advanced HA

แผนงาน/กิิจกรรม Leading KPI หน่ว่ ยนับั ค่่าเป้้าหมาย (ปีงี บประมาณ) Lagging KPI ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗

๑. โครงการ Advanced Care ๓๐. CMI (case mixed index) ของผู้้�ป่่วย หน่ว่ ย ๐.๐๕ ๐.๐๕ ๐.๐๕ ๐.๐๕ ๒๒. CMI (case mixed index) ของผู้้�ป่ว่ ย ในของโรงพยาบาลวชิริ พยาบาลที่� ในโรงพยาบาลวชิริ พยาบาล ≥ ๒.๘๐ เพิ่ �มขึ้ �นต่่อปีี แผนพฒั นามหาวิทยาลยั นวมินทราธริ าข ๔ ปี (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๗) หน้า 31 ๒. โครงการพัฒั นาและรับั รอง ๓๑. จำ�ำ นวนโรคหรืือกลุ่�มโรคที่่�ผ่่านการ จำำ�นวนโรค ๒ ๒ ๒ ๒ ๒๓. จำำ�นวนโรคหรือื กลุ่�มโรคที่่�ผ่่านการรัับรอง รายโรคด้า้ นเวชศาสตร์์เขตเมืือง รับั รองกระบวนการคุุณภาพ DSC กระบวนการคุุณภาพ DSC (disease-specific certification) (disease-specific certification) สะสม ≥ ๘ โรค/กลุ่�มโรค

๓. โครงการพัฒั นาและรัับรอง ๓๒. โรงพยาบาลได้ร้ ับั การต่่ออายุกุ ารรับั รอง ผ่า่ น ผ่่าน - - ผ่า่ น ๒๔. โรงพยาบาลวชิริ พยาบาล ได้้รับั การรัับรอง คุณุ ภาพโรงพยาบาล ตาม กระบวนการ พัฒั นาคุณุ ภาพตาม กระบวนการพัฒั นาคุณุ ภาพตามมาตรฐาน มาตรฐาน Advanced HA มาตรฐาน Advanced HA Advanced HA อย่า่ งต่่อเนื่�อง

แผนพัฒนามหาวิทยาลัยนวมินทราธิราข ๔ ปี (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๗) หน้า 32 ยุุทธศาสตร์์ที่� ๔ การทะนุบุ ำำ�รุงุ ศาสนา ศิิลปะ วััฒนธรรมและการอนุรุ ักั ษ์์ภูมู ิปิ ััญญาท้้องถิ่�นของมหาวิทิ ยาลัยั เป็น็ ที่�ยอมรัับของสัังคม วััตถุปุ ระสงค์์เชิงิ กลยุทุ ธ์์ ๔.๑ การทะนุุบำ�ำ รุุง ศาสนา ศิลิ ปะ วััฒนธรรมและการอนุรุ ักั ษ์์ภููมิิปัญั ญาท้้องถิ่�นของมหาวิิทยาลััยเป็น็ ที่�ยอมรัับของสัังคม กลยุทุ ธ์์ที่� ๔.๑.๑ การพัฒั นาระบบทะนุุบำ�ำ รุุง ศาสนา ศิลิ ปะ วััฒนธรรมและการอนุรุ ัักษ์์ภูมู ิปิ ััญญาท้้องถิ่�น

แผนงาน/กิจิ กรรม Leading KPI หน่ว่ ยนัับ ค่่าเป้า้ หมาย (ปีีงบประมาณ) Lagging KPI ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗

๑. โครงการจััดตั้�งพิพิ ิิธภัณั ฑ์์ ๓๓. ความก้้าวหน้้าของการจััดตั้�งพิพิ ิิธภัณั ฑ์์ ร้อ้ ยละ ๙๐ ๑๐๐ - - ๒๕. จำ�ำ นวนผู้�เข้้าเยี่�ยมชมพิพิ ิธิ ภัณั ฑ์ข์ อง เทิดิ พระเกีียรติิพระบาทสมเด็็จ เทิดิ พระเกีียรติิพระบาทสมเด็จ็ ร้อ้ ยละ ๕๐ ๗๐ ๘๐ มหาวิทิ ยาลััยเพิ่�มขึ้�น (เปิิดให้บ้ ริกิ ารในปีี พระมงกุุฎเกล้า้ เจ้า้ อยู่่�หััว และ พระมงกุุฎเกล้า้ เจ้า้ อยู่่�หััว และ พ.ศ. ๒๕๖๕) ไม่่น้อ้ ยกว่า่ ร้้อยละ ๑๐ ประวััติิโรงพยาบาล ประวััติวิ ชิริ พยาบาล ในแต่ล่ ะปีี (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗) วชิริ พยาบาล คณะพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์เ์ กื้�อการุุณย์์ ๒๖. จำ�ำ นวนผู้�เข้้าเยี่�ยมชมแหล่่งประวัตั ิิศาสตร์์ ศาสตร์์เกื้�อการุุณย์์ และ และมหาวิิทยาลัยั นวมินิ ทราธิริ าช ที่่�มีีลัักษณะของความเป็็นพหุุวัฒั นธรรม มหาวิทิ ยาลััย โดยรอบมหาวิทิ ยาลััยเพิ่�มขึ้�น ๒. โครงการจััดพิพิ ิิธภัณั ฑ์์วััง (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗) ไม่่น้อ้ ยกว่า่ สามเสนและประวัตั ิิทุ่�งสามเสน ๓๔. ความก้า้ วหน้้าของการจัดั ตั้�งพิพิ ิธิ ภััณฑ์์ ๑๐๐ ร้อ้ ยละ ๑๐ ในแต่่ละปีี พร้้อมแหล่ง่ พหุุวัฒั นธรรม วังั สามเสน

โดยรอบมหาวิทิ ยาลัยั ๓. กิจิ กรรมรวบรวมและจััดทำำ� สารสนเทศข้อ้ มููลประวััติศิ าสตร์์ ทุ่ �งสามเสนแหล่่งพหุุวััฒนธรรม รอบมหาวิิทยาลัยั โดยการ บููรณาการกับั การ จััดการศึึกษา/การบริิการ วิชิ าการแก่ส่ ัังคม/วิจิ ัยั / กิิจกรรมพััฒนานัักศึึกษา

ยุุทธศาสตร์ท์ี่� ๕ การบูรู ณาการระบบบริิหารจัดั การที่่�มีปี ระสิิทธิิภาพและประสิทิ ธิผิ ลเพื่่�อรองรับั การพัฒั นามหาวิทิ ยาลัยั อย่่างยั่�งยืนื วัตั ถุุประสงค์์เชิิงกลยุทุ ธ์์ ๕.๑ การบริิหารจัดั การในทุกุ ระดับั เป็น็ ไปตามหลัักธรรมาภิบิ าล กลยุทุ ธ์์ที่� ๕.๑.๑ การพััฒนาระบบบริิหารจััดการโดยยึดึ หลักั ธรรมาภิบิ าล

แผนงาน/กิจิ กรรม Leading KPI หน่ว่ ยนัับ ค่่าเป้า้ หมาย (ปีงี บประมาณ) Lagging KPI ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗

๑. โครงการพัฒั นาระบบบริิหาร ๓๕. ร้้อยละของความก้้าวหน้้าในการดำำ�เนินิ ร้้อยละ ๒๕ ๕๐ ๗๕ ๑๐๐ ๒๗. การเข้้าร่ว่ มการจััดลำ�ำ ดัับด้้านการประเมินิ จัดั การตามเกณฑ์์การประเมิิน งานตามเกณฑ์์รางวัลั ด้า้ นคุณุ ธรรมและ คุุณธรรมและความโปร่ง่ ใสในการดำ�ำ เนินิ งาน คุุณธรรมความโปร่ง่ ใส ความโปร่ง่ ใส ของมหาวิิทยาลััยจากองค์์กรระดับั ชาติิ ๑

๓๖. คะแนนเฉลี่�ยของการประเมินิ ธรรมาภิบิ าล คะแนน ≥ ๓.๕๑ ≥ ๓.๖๑ ≥ ๓.๗๑ ≥ ๓.๘๑ ผู้�บริหิ ารทุุกระดัับ (อธิิการบดี/ี หััวหน้า้ ส่ว่ นงาน/หััวหน้้าหน่ว่ ยงาน) แผนพฒั นามหาวิทยาลยั นวมินทราธริ าข ๔ ปี (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๗) หน้า 33 วััตถุุประสงค์์เชิงิ กลยุทุ ธ์์ ๕.๒ การบริิหารทรัพั ยากรบุคุ คลมีีประสิทิ ธิภิ าพและประสิทิ ธิผิ ล กลยุุทธ์์ที่� ๕.๒.๑ การพัฒั นาระบบบริิหารทรัพั ยากรบุุคคลให้ม้ ีปี ระสิิทธิภิ าพและประสิิทธิิผล

๑. การพััฒนาระบบบริิหาร ๓๗. ค่่าคะแนนเฉลี่�ยความพึึงพอใจของผู้�รับ คะแนน ≥ ๓.๕๑ ≥ ๓.๖๑ ≥ ๓.๗๑ ≥ ๓.๘๑ ๒๘. อัตั ราการลาออก/โอนของบุุคลากร ทรัพั ยากรบุุคคลให้้มีี บริิการ/ผู้�รับผลงานในแต่่ละหน่ว่ ยงาน คะแนน ในภาพรวม ≤ ร้อ้ ยละ ๓ ต่่อปีี ประสิิทธิิภาพ ๒๙. อัตั ราการลาออก/โอนของบุคุ ลากรเฉพาะ ๒. โครงการออกแบบระบบบริิหาร ตำ�ำ แหน่ง่ อาจารย์์ และตำำ�แหน่ง่ พยาบาลชีีพ งานบุุคคลอย่า่ งครบวงจร ๓๘. ค่า่ คะแนนเฉลี่�ยความผููกพัันองค์ก์ ร ≥ ๓.๕๑ ≥ ๓.๖๑ ≥ ๓.๗๑ ≥ ๓.๘๑ (critical turnover) ≤ ร้อ้ ยละ ๓ ต่่อปีี ของบุคุ ลากร ๓๐. ค่า่ คะแนนเฉลี่�ยความพึงึ พอใจของ ผู้�รับบริิการ/ผู้�รับผลงานในแต่ล่ ะหน่ว่ ยงาน ≥ ๓.๘๑

แผนพัฒนามหาวิทยาลัยนวมินทราธิราข ๔ ปี (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๗) หน้า 34 ยุทุ ธศาสตร์์ที่� ๕ การบูรู ณาการระบบบริิหารจััดการที่่�มีีประสิทิ ธิิภาพและประสิทิ ธิิผลเพื่่�อรองรับั การพััฒนามหาวิทิ ยาลััยอย่า่ งยั่�งยืืน (ต่อ่ ) วัตั ถุุประสงค์์เชิงิ กลยุุทธ์์ ๕.๓ อาคารสถานที่่�มีีความเพีียงพอมีีความปลอดภัยั ได้ม้ าตรฐานและพร้้อมรองรับั ในทุกุ พันั ธกิจิ กลยุุทธ์ท์ี่� ๕.๓.๑ การพััฒนาระบบบริิหารจััดการด้า้ นอาคารสถานที่�และสิ่�งแวดล้้อมที่่�มีปี ระสิิทธิภิ าพ

แผนงาน/กิจิ กรรม Leading KPI หน่ว่ ยนับั ค่่าเป้า้ หมาย (ปีีงบประมาณ) Lagging KPI ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗

๑. การดำำ�เนิินงานตามแผนแม่่บท ๓๙. ร้อ้ ยละความก้้าวหน้้าของโครงการ ร้อ้ ยละ ๗๐ ๗๕ ๘๐ ๙๐ ๓๑. ร้อ้ ยละของโครงการก่่อสร้า้ งที่่�ดำ�ำ เนิินการ ด้า้ นอาคารสถานที่� ก่่อสร้้างเป็็นไปตามแผน สำำ�เร็็จตามแผน ≥ ร้อ้ ยละ ๙๐ ๒. การตรวจสอบและซ่อ่ มบำำ�รุงุ เชิิงป้้องกันั (Preventive ๓๒. ร้้อยละของอาคารที่่�มีคี วามปลอดภััยเป็็นไป Maintenance) ตามมาตรฐานที่่�กำ�ำ หนด ร้อ้ ยละ ๑๐๐

๓. การพััฒนาระบบควบคุมุ และ จัดั การความปลอดภัยั ของ ห้อ้ งปฏิิบัตั ิกิ าร

๔๐. ร้้อยละของอาคาร/ห้้องปฏิบิ ัตั ิิการที่�ได้้รับั ร้อ้ ยละ ๕๕ ๗๐ ๘๕ ๑๐๐ การตรวจสอบ ความปลอดภัยั ตาม มาตรฐานที่่�กำำ�หนด

วัตั ถุุประสงค์์เชิงิ กลยุทุ ธ์์ ๕.๔ การก้า้ วสู่�ความเป็็นมหาวิทิ ยาลัยั สีเี ขียี ว กลยุุทธ์ท์ี่� ๕.๔.๑ การพัฒั นามหาวิทิ ยาลััยตามเกณฑ์์มหาวิิทยาลััยสีเี ขีียว

๑. โครงการพััฒนาตามแผน ๔๑. ร้อ้ ยละของการดำ�ำ เนิินงานตามแผน ร้อ้ ยละ ๒๐ ๓๐ ๔๐ ๕๐ ๓๓. ร้อ้ ยละของการดำำ�เนิินงานตามแผนแม่บ่ ท แม่บ่ ทมหาวิิทยาลััยสีเี ขียี ว แม่บ่ ทมหาวิทิ ยาลััยสีเี ขียี ว มหาวิิทยาลััยสีเี ขียี ว ≥ ร้้อยละ ๕๐

ยุทุ ธศาสตร์ท์ี่� ๕ การบูรู ณาการระบบบริหิ ารจัดั การที่่�มีปี ระสิิทธิิภาพและประสิทิ ธิผิ ลเพื่่�อรองรับั การพัฒั นามหาวิทิ ยาลัยั อย่า่ งยั่�งยืนื (ต่่อ) วัตั ถุปุ ระสงค์เ์ ชิิงกลยุุทธ์์ ๕.๕ ระบบงบประมาณ การเงิิน บััญชีี และพััสดุุได้ม้ าตรฐานและเป็็นไปตามที่�กฎหมายกำำ�หนด กลยุทุ ธ์์ที่� ๕.๕.๑ การพััฒนาระบบการเงิิน บัญั ชีี และพััสดุุให้้เป็็นไปตามมาตรฐานและกฎหมายที่�เกี่�ยวข้อ้ ง

แผนงาน/กิิจกรรม Leading KPI หน่ว่ ยนับั ค่่าเป้า้ หมาย (ปีงี บประมาณ) Lagging KPI ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗

๑. พััฒนา ต่่อยอดระบบ MIS ๔๒. ร้อ้ ยละของความสมบููรณ์์ ระบบบััญชีฐี าน ร้้อยละ ๑๐๐ - - - ๓๔. ระบบการเงิิน บััญชีี และพััสดุขุ อง และ ERP ให้ส้ มบููรณ์แ์ ละ ข้อ้ มููลทรัพั ย์์สินิ มหาวิิทยาลัยั มหาวิทิ ยาลัยั มีคี วามถููกต้้องและได้ร้ ัับ ต่่อเนื่ �อง การรับั รองจากผู้�ตรวจสอบบัญั ชีี ๒. ลดระยะเวลาการดำำ�เนิินการ ที่�สภามหาวิิทยาลััยแต่ง่ ตั้�งโดยไม่ม่ ีีเงื่�อนไข ในแต่ล่ ะขั้�นตอน (กำำ�หนด ๔๓. อัตั ราการเบิิกจ่า่ ยเงินิ ให้้กัับผู้้�ส่่งมอบ ๓๕. อัตั ราการเบิกิ จ่่ายงบประมาณประจำ�ำ ปีี มาตรฐานระยะเวลาดำ�ำ เนิินงาน ภายในระยะเวลาไม่่เกิิน ๓๐ วันั ร้อ้ ยละ ≥ ๘๐ ≥ ๘๐ ≥ ๘๕ ≥ ๙๐ ประจำำ�ปีีจากกรุุงเทพมหานคร ≥ ร้อ้ ยละ ๙๐ ขั้�นต่ำ��ำ ) แผนพฒั นามหาวิทยาลยั นวมินทราธริ าข ๔ ปี (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๗)๓๖. ระบบบััญชีฐี านข้้อมููลทรััพย์ส์ ิินของ ๓. การพัฒั นาบริิหารจััดการหน้า 35 มหาวิทิ ยาลััย มีคี วามถููกต้้องสมบูรู ณ์์ ทรัพั ยากรแบบรวมศูนู ย์์ ให้้มีี อำ�ำ นาจต่่อรองเพื่�อประหยััด ๔๔. อัตั ราการเบิกิ จ่า่ ยงบประมาณรายจ่า่ ย ร้้อยละ ≥ ๙๐ ≥ ๙๐ ≥ ๙๐ ≥ ๙๐ งบประมาณ และบริหิ ารจััดการ ประจำ�ำ ปีจี ากกรุงุ เทพมหานคร (เทียี บกับั คลังั วัสั ดุุโดยระบบเทคโนโลยีี หน่ว่ ยงานอื่�นของ กทม.)

สารสนเทศ ๔๕. ร้อ้ ยละของรายได้ม้ หาวิทิ ยาลัยั ที่�เพิ่�มขึ้�น ร้อ้ ยละ ๒ ๒ ๒ ๒ ๔. จััดทำ�ำ แผนพััฒนาการจััดหา ในแต่ล่ ะปีี

รายได้้ของส่่วนงานและ มหาวิทิ ยาลัยั

๔๖. ค่า่ คะแนนเฉลี่�ยความพึงึ พอใจของผู้�ใช้้ คะแนน ≥ ๓.๕๐ ≥ ๓.๖๐ ≥ ๓.๗๐ ≥ ๓.๘๐ งานระบบเทคโนโลยีสี ารสนเทศ

๔๗. จำ�ำ นวนครั้�งของภััยคุกุ คามทางไซเบอร์์ ครั้�ง ๐ ๐ ๐ ๐ ที่่�ทำ�ำ ให้้ระบบเทคโนโลยีีสารสนเทศ ขััดข้้องไม่ส่ ามารถใช้ง้ านได้้

แผนพัฒนามหาวิทยาลัยนวมินทราธิราข ๔ ปี (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๗) หน้า 36 ยุุทธศาสตร์ท์ี่� ๕ การบูรู ณาการระบบบริหิ ารจัดั การที่่�มีปี ระสิทิ ธิภิ าพและประสิทิ ธิผิ ลเพื่่�อรองรับั การพัฒั นามหาวิทิ ยาลััยอย่า่ งยั่�งยืืน (ต่่อ) วัตั ถุปุ ระสงค์์เชิิงกลยุุทธ์์ ๕.๖ ระบบเทคโนโลยีสี ารสนเทศมีีความทันั สมัยั ปลอดภัยั และรองรัับในทุุกพันั ธกิจิ กลยุทุ ธ์ท์ี่� ๕.๖.๑ การพัฒั นาระบบเทคโนโลยีีสารสนเทศที่่�มีคี ุุณภาพได้้มาตรฐาน สามารถสนัับสนุุนและเชื่�อมโยงการดำ�ำ เนินิ งานในทุุกพัันธกิิจ

แผนงาน/กิจิ กรรม Leading KPI หน่ว่ ยนัับ ค่่าเป้้าหมาย (ปีงี บประมาณ) Lagging KPI ๑. การพััฒนาตามแผนแม่่บท ๔๘. ความก้า้ วหน้้าของการพััฒนาตาม ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗

เทคโนโลยีสี ารสนเทศ แผนแม่่บทเทคโนโลยีีสารสนเทศ ร้้อยละ ๒๕ ๕๐ ๗๕ ๑๐๐ ๓๗. ค่่าคะแนนเฉลี่�ยความพึงึ พอใจของผู้�ใช้้งาน ระบบเทคโนโลยีีสารสนเทศ ≥ ๓.๘๐ ๒. การจัดั เตรีียมสารสนเทศ ๔๙. ความก้้าวหน้า้ ของการจัดั เตรียี ม ๓๘. จำำ�นวนครั้�งของภัยั คุกุ คามทางไซเบอร์์ที่� รองรับั การประเมิิน สารสนเทศรองรับั การประเมิิน ทำำ�ให้้ระบบเทคโนโลยีสี ารสนเทศขััดข้้อง การจัดั ลำำ�ดัับมหาวิิทยาลััย การจัดั ลำำ�ดับั มหาวิทิ ยาลััย ร้อ้ ยละ ๒๕ ๕๐ ๗๕ ๑๐๐ ไม่ส่ ามารถใช้ง้ านได้้เท่า่ กัับ ๐

๓. การพัฒั นาระบบสารสนเทศ ๕๐. อััตราการเข้า้ เยี่�ยมชมสื่�อประชาสััมพันั ธ์์ ๓๙. มหาวิทิ ยาลัยั ได้ร้ ับั การจััดลำ�ำ ดัับตามเกณฑ์์ เพื่ �อการประชาสััมพัันธ์์ ในระบบเทคโนโลยีีสารสนเทศของ ที่ �เป็็นสากล มหาวิิทยาลัยั มหาวิิทยาลัยั จากภายนอกที่�เพิ่�มขึ้�น ร้อ้ ยละ ๑๐ ๑๕ ๒๐ ๒๕

แผนพัฒนามหาวิทยาลัยนวมนิ ทราธิราข ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗)

ส่วนที่ ๔ การนำ�แผนไปสู่การปฏิบัติและการติดตาม ประเมนิ ผล

๔.๑ การสรา้ งความร้คู วามเขา้ ใจส่รู ะดบั ส่วนงาน

มหาวิทยาลัยเน้นการสร้างความรู้ความเข้าใจในสาระส�ำคัญของแผนฯ สู่ส่วนงานต่าง ๆ เพื่อให้การน�ำกลยุทธ์ และ ตัวบ่งช้ี กระจายไปสู่ผู้ท่ีรับผิดชอบในการปฏิบัติงาน ตามสัดส่วนที่เก่ียวข้องกับภาระหน้าท่ีที่ได้รับมอบหมาย รวมท้ังก�ำหนด ให้มีผู้รับผิดชอบรายยุทธศาสตร์ที่พร้อมให้ข้อเสนอแนะหรือค�ำปรึกษาแก่ส่วนงานอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้เพ่ือให้เกิดความ รู้ความเข้าใจและสามารถน�ำแผนไปสู่การปฏิบัติได้ตรงตามวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ มหาวิทยาลัยจึงก�ำหนดให้มีระบบปฏิบัติ การหลักข้ึน รายละเอียดในตารางท่ี ๔.๑ ซึ่งแต่ละระบบจะมีกระบวนการที่สนับสนุนการด�ำเนินงานเพ่ือให้บรรลุเป้าหมาย ของแผน ฯ ท้ังนี้ค่าเป้าหมายผลการด�ำเนินงานของแต่ละระบบปฏิบัติการหลัก จะครอบคลุมตัวบ่งช้ีตามแผนพัฒนา มหาวิทยาลัย และตัวบ่งช้ีท่ีแสดงถึงความก้าวหน้าของการพัฒนามหาวิทยาลัยด้านต่าง ๆ โดยระบบปฏิบัติหลักนี้จะมีผู้รับผิดชอบ ที่ประกอบด้วยผู้บริหารมหาวิทยาลัย ผู้บริหารส่วนงาน และผู้ปฏิบัติงานท่ีเกี่ยวข้องในงานน้ัน ๆ มีการถ่ายความรู้ความเข้าใจ และแนวทางการด�ำเนินงาน การติดตาม การรายงานผลการด�ำเนินงาน ตลอดจนการทบทวนกระบวนการของระบบปฏิบัติการหลัก ผา่ นคณะกรรมการบรหิ ารระบบปฏบิ ตั กิ ารหลกั และคณะด�ำเนนิ งานตามล�ำดบั จากระดบั มหาวทิ ยาลยั สผู่ ปู้ ฏบิ ตั งิ านทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ของแต่ละส่วนงาน ซ่ึงจะช่วยสนับสนุนการด�ำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายของแผนฯ และเป้าหมายของการพัฒนามหาวิทยาลัย

บริการวิชาการแกส งั คมระบบทะนบุ ำรงุ ศาสนา ศลิ ปะ วฒั นธรรม ปฏบิ ัตกิ าร ๔ ๕วิจัย งบประมาณ การเงิน บัญชี ๒๓ ๑ ๖กจิ การนกั ศึกษาหลัก พัสดแุ ละทรัพยส ิน

บริหารจดั การ กฎหมาย

เทคโนโลยีสารสนเทศ อาคารสถานที่และสิ่งแวดลอม

แผนพัฒนา และความเสี่ยง

ผลิตบณั ฑติ การบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล

หน้า 39

แผนพัฒนามหาวิทยาลัยนวมนิ ทราธริ าข ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗)

ลำ�ำ ดัับ ระบบปฏิบิ ััติิการหลััก ผู้้�รับั ผิิดชอบ

๑. ระบบปฏิบัติการหลักด้านการผลิตบัณฑิต รองอธิการบดีท่ีรับผิดชอบงานวิชาการ

๒. ระบบปฏิบัติการหลักด้านกิจการนักศึกษา รองอธิการบดีที่รับผิดชอบงานกิจการนักศึกษา

๓. ระบบปฏิบัติการหลักด้านวิจัย รองอธิการบดีท่ีรับผิดชอบงานวิจัย

๔. ระบบปฏิบัติการหลักด้านการบริการวิชาการ รองอธิการบดีที่รับผิดชอบงานวิชาการ

๕. ระบบปฏิบัติการหลักด้านทะนุบ�ำรุง ศาสนา ศิลปะ รองอธิการบดีท่ีรับผิดชอบงานทะนุบ�ำรุง ศาสนา วัฒนธรรม ศิลปะ วัฒนธรรม

๖. ระบบปฏิบัติการด้านการบริหารจัดการ ที่จ�ำแนกออกเป็น (๑) ด้านบริหารทรัพยากรบุคคล ๑) รองอธิการบดีท่ีรับผิดชอบงานทรัพยากรบุคคล (๒) ด้านงบประมาณ การเงิน บัญชี ความเส่ียง (๑) (๖) (๓) ด้านพัสดุและทรัพย์สิน ๒) รองอธิการบดีท่ีรับผิดชอบงานการเงิน บัญชี พัสดุ (๔) ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ อาคารสถานท่ีและส่ิงแวดล้อม (๕) ด้านอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม และกฎหมาย (๒) (๓) (๔) (๕) (๗) (๖) ด้านแผนพัฒนา และความเส่ียง ๓) รองอธิการบดีท่ีรับผิดชอบงานยุทธศาสตร์และ (๗) ด้านกฎหมาย แผนฯ (๖)

๔.๒ การสร้้างความรู้�ความเข้า้ ใจสู่่�ประชาคมมหาวิทิ ยาลััย

จััดให้้มีีกิิจกรรมสร้้างความรู้�ความเข้้าใจให้้แก่่บุุคลากรของมหาวิิทยาลััย ฯ ที่�เกี่�ยวข้้องทุุกระดัับ และนัักศึึกษาได้้ ตระหนักและรับรู้ถึงยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย รวมทั้งการประชาสัมพันธ์แผนพัฒนามหาวิทยาลัย ฯ ทางเว็บไซต์ของ มหาวิทยาลัยและส่วนงาน ผลการด�ำเนินงานจะประเมินได้จากการเชื่อมโยงจากแผนพัฒนามหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗) สู่แผนปฏิบัติการประจ�ำปีมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช แผนพัฒนาส่วนงาน ตลอดจนแผน ของสภานักศึกษาในแต่ละปี

๔.๓ การเชื่อ่ มโยงจากแผนพััฒนามหาวิทิ ยาลััยนวมินิ ทราธิริ าช ๔ ปีี (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗) สู่�แผนปฏิิบัตั ิิการประจำ�ำ ปีี

๔.๓.๑ ส่่วนงานนำำ�แผนพััฒนามหาวิิทยาลััย ๔ ปีี (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗) ไปเป็็นกรอบในการทบทวนและจััดทำำ� แผนพัฒนาส่วนงานให้สอดคล้องกับแผนพัฒนามหาวิทยาลัย ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗) โดยเน้นให้ครอบคลุมภารกิจที่ ส่วนงานรับผิดชอบทั้งโดยตรงและโดยอ้อม รวมท้ังการน�ำไปประกอบการจัดท�ำข้อตกลงการปฏิบัติงานของหัวหน้าส่วนงาน กับอธิการบดี ๔.๓.๒ จากวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ กลยุทธ์ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมายรายปี ในแต่ละยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนา มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗) ได้ถูกน�ำมาเป็นกรอบในการจัดท�ำแผนปฏิบัติการประจ�ำปีของ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช โดยรองอธิการบดีที่รับผิดชอบงานในแต่ละยุทธศาสตร์ร่วมกับผู้ท่ีเก่ียวข้องจากทุกส่วนงาน รว่ มกนั ก�ำหนดโครงการหรอื กจิ กรรมทจ่ี ะด�ำเนนิ งาน และงบประมาณเปน็ รายปี พรอ้ มทง้ั ก�ำหนดผรู้ บั ผดิ ชอบตวั บง่ ชี้ โครงการ/ กิจกรรมไว้อย่างชัดเจน เพ่ือให้สามารถตรวจสอบและติดตามผลการด�ำเนินงานของโครงการต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลมาก รวมทั้งการติดตามผลการด�ำเนินรายตัวบ่งช้ีจากระบบปฏิบัติการหลักต่าง ๆ

หน้า 40