Sdlc ค ออะไร ม ก ข นตอน จงอธ บาย

ผลิต เพื่อให้ได้ผลผลิตออกมา โดยองค์ประกอบของธุรกิจที่มีระบบงานที่ดี ผู้บริหารดี พนักงานดี และมีการประสานงานที่ดี

โดยเป้าหมายส่วนใหญ่ขององค์กรทางธุรกิจ คือ ผลกำไรหรือผลตอบแทนจากการดำเนินงานทางธุรกิจ โดยสามารถแบ่ง

ผลตอบแทนออกไดเ้ ปน็ 2 รูปแบบ คือ

ผลตอบแทน ความหมาย ตวั อยา่ ง

  1. ผลตอบแทนที่สามารถ ผลตอบแทนที่สามารถประเมินค่าได้ คือ - การเพิ่มยอดขายที่ทำให้รายได้

ประเมนิ คา่ ได้ ผลตอบแทนที่สามารถประเมินค่าออกมาใน เพิม่ ข้ึน

ลักษณะตัวเงินได้ - การลดค่าล่วงเวลาทำงานเพื่อให้

คา่ ใช้จ่ายลดลง

  1. ผลตอบแทนที่ไม่สามารถ ผลตอบแทนที่ไม่สามารถประเมินค่าได้ คือ - ระบบใหม่มีรูปแบบการใช้งานที่ง่าย

ประเมินคา่ ได้ ผลตอบแทนที่ไม่สามารถประเมินค่าออกมาใน ขึ้น ทำให้พนกั งานมีความพึงพอใจมาก

รูปลักษณะตัวเงินได้โดยตรง ซึ่งยากต่อการ ยง่ิ ขน้ึ เกิดทัศนคติทีด่ ใี นการทำงาน ทำ

ประเมินมลู ค่า ให้งานออกมามปี ระสิทธิภาพ

- ผลติ ภณั ฑ์ทผ่ี ลิตมา มีคุณภาพสงู ข้นึ

1.4 ความหมายของขอ้ มูลและสารสนเทศ ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อมูลที่ยังไม่ผ่านการประมวลผล หรือ เหตุการณ์จริงที่เกิดขึ้นประจำวันในการดำเนิน

ธุรกิจขององค์กร เชน่ รายการสัง่ ซอื้ สนิ ค้าจากลกู ค้า รายการสง่ สนิ ค้า ช่อื ที่อยูล่ กู ค้า ยอดขายในแต่ละวนั เป็นต้น ข้อมูลอาจ เป็นไดห้ ลายชนดิ เช่น ตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ รปู ถ่าย หรือแม้กระทัง่ เสียง

สารสนเทศ (Information) หมายถึง ขอ้ มูลทผี่ า่ นการประมวลผลแลว้ หรือ ขอ้ มูลที่ผา่ นกระบวนการเก็บรวบรวม และเรียบเรียง เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ เช่นการนำเสนอยอดขายรายเดือนต่อผู้บริหาร ซึ่งยอดขายราย เดือนนั้นได้มาจากการรวบรวมยอดขายของตัวแทนขายในแต่ละวัน สารสนเทศที่ดี จะช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจได้

3

ถูกต้องแม่นยำข้ึน และช่วยให้การประมาณการในดา้ นต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการลงทุนหรือยอดขาย ใกล้เคียงกับความเป็นจริงท่ี จะเกดิ ขึ้นได้มากทสี่ ดุ

รูปการนำขอ้ มลู มาผา่ นการประมวลผล เพ่ือใหไ้ ดส้ ารสนเทศ

1.5 ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ เปน็ กลไกท่ีนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยกุ ต์ใช้ โดยเฉพาะการนำเทคโนโลยคี อมพิวเตอร์มาใช้

จัดการข้อมลู ต่าง ๆ โดยระบบสารสนเทศมสี ว่ นประกอบใหญ่ 5 สว่ น คือ

  1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
  2. ซอฟต์แวร์ (Software)
  3. ข้อมูล (Data)
  4. บคุ ลากรทางคอมพวิ เตอร์ (Peopleware)
  5. กระบวนการทำงาน (Procedures) ปัจจุบัน ระบบสารสนเทศได้รับการพัฒนาขึน้ ให้เปน็ เครื่องมือท่ีช่วยในการทำงานทางด้านตา่ งๆ มากมาย ไม่ว่าจะ

เป็นด้านการตัดสินใจเพื่อแกป้ ัญหาทางธุรกิจ ช่วยในการทำรายงานต่างๆ เพื่อนำเสนอข้อมูล ช่วยประมวลผลข้อมลู ทีเ่ กดิ ข้นึ ประจำวันในธุรกิจ ชว่ ยวเิ คราะหห์ าทางออกของปญั หา เป็นตน้ ระบบสารสนเทศแต่ละชนิด มดี งั นี้

  1. ระบบการประมวลผลขอ้ มลู (Transaction Processing Systems: TPS) เปน็ ระบบทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับการดำเนินงานประจำทีต่ ้องทำในองค์การ เช่น การบันทกึ ยอดขายแต่ละวนั การบันทึกการ ทำงานของพนักงานประจำที่ต้องทำในองค์การ เช่น การบันทึกยอดขายแต่ละวัน การบันทึกการทำงานของพนักงานในแตล่ ะ วัน การบันทึกการสั่งสินค้าในแต่ละวัน ซึ่งรายงานต่างๆ ที่บันทึกในแต่ละวันนั้น จะเป็นการปฏิบัติงานที่ซ้ำๆ กันทุกวัน โดย ข้อมูลประจำวันเหลา่ น้ี จะทำการรวบรวมเพ่ือนำไปจดั ทำรายงานทต่ี อ้ งการต่อไป คณุ ลกั ษณะของระบบการประมวลผลข้อมลู 1.1 สามารถจัดเก็บข้อมูลที่เกิดขึ้นประจำวันของการดำเนินธุรกิจได้ เช่น ประวัติลูกค้า รายการสั่งซื้อสินค้าจาก ลกู คา้

4

1.2 สามารถสร้างขอ้ มูลเพือ่ ดำเนินธุรกิจได้ เช่น ออกใบกำกับภาษี ออกใบแจง้ หนี้ ออกใบรายการสนิ ค้า 1.3 บำรงุ รกั ษาขอ้ มูล (Data Maintenance) โดยการปรบั ปรุงข้อมูล(เพมิ่ ลบ แกไ้ ข) ให้เปน็ ปัจจุบันมากท่ีสุดไม่ว่า จะเปน็ การเปล่ยี นแปลงของราคาสนิ คา้ ชอื่ ท่ีอยู่ของลกู ค้า รหัสสินคา้ เป็นต้น สำหรับนักวเิ คราะห์ระบบทที่ ำการวิเคราะห์และออกแบบการประมวลผลข้อมูลนี้ สิง่ ทตี่ อ้ งคำนงึ ถงึ ไดแ้ ก่ 1.1 เวลาท่ีใชใ้ นการตอบสนองการทำงาน (Response time) ต้องมีความรวดเร็ว 1.2 ความสามารถในการประมวลผลขอ้ มูลจำนวนมาก 1.3 ความถกู ต้อง (Accuracy) 1.4 ความสอดคลอ้ งของข้อมลู (Consistency) กรณที ่มี กี ารประมวลผลพร้อมกนั จากผ้ใู ชห้ ลายคน

  1. ระบบสารสนเทศเพอ่ื การจัดการ (Management Information Systems: MIS) เป็นระบบสารสนเทศที่ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานดว้ ยการจัดทำรายงานที่ช่วยในการตัดสนิ ใจที่เกี่ยวข้อง กับการบริหาร ซ่ึงข้อมูลในรายงานจะเปน็ ในลกั ษณะของการสรุปผลท่ีได้จากข้อมูลตา่ งๆ ทถี่ ูกจัดเกบ็ ใน TPS รายงานประเภท นีอ้ าจจะแสดงผลทง้ั ในรูปแบบของรายงานผลสรปุ หรอื รายงานรายละเอยี ดเพอ่ื ไวพ้ จิ ารณาประกอบได้ โดยสว่ นใหญแ่ ลว้ MIS มักมีการจดั ทำเพอื่ สง่ ไปยังแผนกตา่ งๆ ตามระยะเวลา เช่น ทกุ วัน ทกุ สัปดาห์ หรือทกุ ๆ เดือน เป็นต้น คุณลักษณะของระบบสารสนเทศเพ่อื การจดั การ 1.1 สามารถสรา้ งสารสนเทศท่อี า้ งอิงได้ตามหลกั การด้านการจดั การ ดา้ นคณติ ศาสตร์ หรอื สถติ ิ ที่เป็นทย่ี อมรบั ได้ 1.2 โดยปกติแล้วสารสนเทศเพื่อการจัดการนี้ได้มาจากฐานข้อมูลที่มีการเก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูลมากมาย ซึ่ง แหล่งข้อมลู น้ันหมายรวมถึงระบบการประมวลผลขอ้ มูลด้วย 1.3 มกี ารเตรียมสารสนเทศในรปู แบบต่างๆ ได้ 4 ประการดังนี้

1.3.1 สารสนเทศส่วนทเ่ี ป็นรายละเอียด (Detailed Information) สารสนเทศลกั ษณะนี้ใชเ้ พอื่ การจัดการ การปฏิบตั งิ านและเพ่อื ความต้องการการควบคมุ การปฏบิ ตั งิ าน

1.3.2 สารสนเทศส่วนที่เป็นผลสรุป (Summary Information) เป็นสารสนเทศที่เกิดจากการรวบรวม ข้อมลู ดบิ เพอ่ื นำไปใช้ในการวเิ คราะหแ์ นวโนม้ และความเป็นไปไดท้ จ่ี ะเกิดปัญหาในด้านตา่ งๆ

1.3.3 สารสนเทศกรณีเฉพาะ (Exception Information) เป็นสารสนเทศที่เกิดจากการกรองข้อมูลตาม เงื่อนไขที่ผู้ใช้ตอ้ งการแลว้ เพื่อนำไปสรา้ งเปน็ รายงานกรณเี ฉพาะ(Exception Report) ตอ่ ไป

1.3.4 สารสนเทศเพ่ือการพยากรณ์ (Prediction Information) เป็นสารสนเทศที่มีการคำนวณเพ่ือ นำไปใช้ในการสร้างรายงานในการคาดคะเนผลประกอบการขององคก์ รหรอื การคาดคะเนปรมิ าณการผลิตท่ีแท้จริง ของปีถัดไป รายงานทีร่ ะบบสารสนเทศเพ่อื การจัดการสามารถจัดเตรยี ม ไวไ้ ดน้ ้ันแบ่งออกได้ดังน้ี 1. รายงานตามกำหนดการ (Scheduled Reports) เป็นรายงานที่มีการกำหนดไว้แลว้ ตามแผนการดำเนินงานของ ธุรกิจว่าจะต้องมีการนำเสนอเป็นในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง เช่น รายงานรายสัปดาห์ (Weekly Report) รายงานรายเดือน (Monthly Report) รายงานรายปี (Annual Report) 2. รายงานตามความต้องการ (Demand Reports) เป็นรายงานทถ่ี ูกสรา้ งข้ึนเมือ่ ต้องการใช้งาน เชน่ การจัดเตรียม สารสนเทศที่เป็นยอดคงเหลอื ของวตั ถุดิบคงคลงั เพื่อนำมาจัดทำรายงานวัตถุดบิ คงคลัง สำหรบั ใช้ในการสั่งซื้อวัตถุดบิ ในการ ผลิตคร้ังตอ่ ไป 3. รายงานกรณีเฉพาะ (Exception Report) เป็นรายงานที่จดั ทำขนึ้ ในกรณพี เิ ศษ ที่ไมม่ ปี รากฎในแผนงาน เช่น ใน กรณีมกี ารหยุดงานของพนักงานมากผดิ ปกติจนทำให้กำลังการผลติ ลดลง ผู้บรหิ ารอาจจะต้องการดูรายงานการลาหยุดเฉพาะ พนกั งานทมี่ ีจำนวนวนั ลาหยุดมากเกินไป และสามารถดูรายงานกำลงั การผลิตทล่ี ดลงด้วย จะเห็นว่ารายงานประเภทน้ีมักจะมี เงื่อนไขในการจดั ทำรายงานท่นี อกเหนือจากทีม่ อี ยู่แลว้

5

4. รายงานพยากรณ์ (Prediction Report) เป็นรายงานที่เกิดจากการประมาณ คาดคะเน หรือพยากรณ์เหตุการณ์ ล่วงหนา้ เชน่ รายงานการประมาณยอดขายที่เพิม่ ข้ึนในปถี ัดไป รายงานการประมาณกำลงั การผลติ เป็นต้น

  1. ระบบสำนกั งานอตั โนมตั ิ (Office Automation System) เป็นระบบที่เพิ่มประสิทธิภาพทางด้านการจัดการสำนักงานและการสื่อสาร พนักงานในองค์กรสามารถใช้ คอมพวิ เตอรใ์ นการจดั การกับเอกสารและขอ้ มลู ตา่ ง ๆ โดยมผี ลิตภัณฑซ์ อฟท์แวรต์ ่าง ๆ มากมายท่สี นบั สนนุ ในลกั ษณะน้ี คณุ ลกั ษณะของระบบสารสนเทศเพอื่ สำนักงาน 1. มีการเก็บรวบรวมสารสนเทศตา่ งๆ ท่ีเกยี่ วข้องกบั กลุ่มบคุ คลทุกกล่มุ ไว้เพือ่ การใช้งาน 2. ช่วยการทำงานอตั โนมตั ิดา้ นตา่ งๆ ได้แก่

- การประมวลผลคำ (Word Processing) - สง่ ข้อความอเิ ล็กทรอนิกส์ หรอื จดหมายอเิ ล็กทรอนกิ ส์ - การทำงานร่วมกนั เป็นเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ (Work Group Computing) - การกำหนดการทำงานรว่ มกัน (Work Group Scheduling) - เอกสารอิเล็กทรอนกิ ส์หรอื รปู ภาพ - การจดั การกระแสการทำงาน (Work Flow Management) 3. มกี ารประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยรี ่วมกนั ระหว่าง OIS กับ TPS อันไดแ้ ก่ - เทคโนโลยีการสร้างแบบฟอร์มอิเล็คทรอนิกส์ (Electronic Form Technology) เป็นการช่วยสร้าง แบบฟอร์มอิเลค็ ทรอนกิ สเ์ พือ่ ให้สามารถใช้งานร่วมกับฐานข้อมูลของระบบประมวลผลขอ้ มลู - เทคโนโลยีการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม (Work Group Technology) เช่น โปรแกรม Lotus Notes เพ่ือ เตรียมวิธีการสำหรับการทำงานที่มีการใช้งานของผู้ใช้หลายคนเพื่อเข้าถึง และการปรับปรุงข้อมูลร่วมกันจากการ ทำงานทีเ่ กิดขึ้นประจำวัน - เทคโนโลยีข้อความอิเล็คทรอนิกส์ (Electronic Messing Technology) พนักงานสามารถติดต่อส่ือสาร กันได้ด้วยการสง่ ขอ้ ความอเิ ล็คทรอนิกส์ - เทคโนโลยีชุดโปรแกรมสำนักงานอตั โนมัติ (Office Automation Suite Technology) นำโปรแกรมทใ่ี ช้ ในสำนักงานมาประยกุ ตใ์ ช้ร่วมกัน - เทคโนโลยีรูปภาพ (Imaging Technology) เป็นการผสมผสานกันระหว่างรูปภาพและแบบฟอร์ม อิเล็คทรอนิกส์เพ่อื ใช้ในการทำงาน หรอื เปน็ การสแกนรปู ภาพนัน่ เอง

  1. ระบบสนับสนนุ การตัดสินใจ (Decision Support Systems :DSS) เป็นระบบที่ช่วยสนับสนุนการตัดสินใจที่ตอบสนองความต้องการของผู้บริหาร ด้วยการจัดทำรายงานเพื่อใช้ ประโยชน์ต่อการตัดสินใจของผู้บริหารในระดับต่างๆ ด้วยการสามารถนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ผล เพ่ือช่วยในการตัดสินใจ แก้ปัญหา ระบบสนับสนุนการตัดสินใจนี้ยังสามารถทำการปรับเปลี่ยนตัวแปรต่างๆ และวิเคราะห์ผลใหม่ เพื่อนำมาประกอบ เป็นทางเลือกการตัดสินใจได้หลายๆ ทาง จุดนี้ทำให้ DSS มีความแตกต่างจาก TPS และ MIS คือ TPS และ MIS จะแสดง รายละเอยี ดหรอื ผลสรปุ ของขอ้ มูลทเ่ี กิดข้ึนจรงิ จากเหตุการณใ์ นประจำวัน คุณลักษณะของระบบสนบั สนนุ การตัดสนิ ใจ 1. จัดเตรียมสารสนเทศซ่งึ ไดท้ ำการประมวลผลแลว้ จากระบบประมวลผลขอ้ มลู (TPS) เพอื่ ช่วยในการตัดสนิ ใจ 2. สนับสนุนการตัดสินใจแบบไม่มีโครงสร้าง (Unstructured Decisions) หรือแบบกึ่งโครงสร้าง (Semi- Structured Decisions) 3. สนับสนนุ การตดั สินใจของผ้ใู ชใ้ นด้านต่างๆ ดงั น้ี 3.1 ระบุถึงปัญหาหรอื โอกาสในการทำการตดั สนิ ใจ

6

3.2 ระบถุ ึงความเป็นไปไดใ้ นการแก้ปัญหาหรอื การตัดสนิ ใจน้ันๆ 3.3 เตรียมสารสนเทศทจ่ี ำเปน็ ต่อการแก้ปัญหานนั้ หรือทจ่ี ำเปน็ ต่อการกระทำการตัดสนิ ใจ 3.4 ทำการวเิ คราะหท์ างเลอื กในการตดั สินใจท่ีเปน็ ไปได้ 3.5 เลียนแบบทางเลือกและผลลัพธ์ของการตดั สินในท่เี ป็นไปได้ นอกจากคุณลักษณะดังกล่าวข้างต้นแล้ว จะเห็นว่าการทำงานของ DSS นั้นต้องอาศัยสารสนเทศจากฐานข้อมูล (Database) ซึ่งมกี ารเตรยี มสารสนเทศท่ีเหมาะสำหรบั การตดั สนิ ใจไว้โดยเฉพาะ เพอ่ื เพิ่มความรวดเรว็ ในการดงึ สารสนเทศนนั้ มาใชง้ าน จงึ ไดม้ ีการแยกฐานข้อมลู ของสารสนเทศท่เี ตรียมไวส้ ำหรบั DSS และระบบอ่นื ท่เี ก่ียวขอ้ งโดยเฉพาะ เรยี กฐานขอ้ มลู นน้ั ว่า “คลงั ขอ้ มูล (Data Warehouse)” คลังข้อมูล (Data Warehouse) คือ ฐานข้อมูลที่ได้มีการเตรียมสานสนเทศเพื่อระบบสนับสนุนการตัดสินใจไว้ โดยเฉพาะมลี ักษณะดงั นี้ - DSS สามารถอ่านสารสนเทศจากคลังข้อมูลได้อย่างเดียว (Read-only) ไม่สามารถแก้ไขสารสนเทศภายใน คลังข้อมูลได้ - เก็บสารสนเทศไว้ 3 ประเภท ได้แก่ สารสนเทศที่เป็นส่วนรายละเอียด(Details) ส่วนที่เป็นผลสรุป (Summary) และสว่ นทีเ่ ปน็ สารสนเทศกรณีเฉพาะ(Exception) - สามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ได้ทง้ั ผู้ใชล้ ำดบั สดุ ท้าย (End-Users) และผ้บู ริหาร(Managers) เตรียมเครื่องมือ (Tools) ที่สนับสนุนการตัดสินใจ เช่น โปรแกรมทางด้าน Spreadsheet (Excel) โปรแกรมทางด้านการ จัดการฐานข้อมลู (Access) เครื่องมือในการสร้างรายงาน (Focus) และโปรแกรมวิเคราะหง์ านทางสถติ ิ(SAS,SPSS)

  1. ระบบผเู้ ชย่ี วชาญ (Expert System :ES) เป็นระบบที่รวบรวมความรู้ความเช่ียวชาญเฉพาะด้านต่างๆ เข้าด้วยกัน รวมทั้งปจั จัยต่างๆ ที่เกี่ยวขอ้ ง สามารถนำเหตุการณ์ ต่างๆ มาประมวลเปน็ ภาพรวมเพื่อให้คำตอบแก่ผู้ใช้ ซึ่งจะแตกต่างกับระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ที่เสนอเพียงทางเลือกที่ดี และใหผ้ ูใ้ ชต้ ดั สินใจเอง คุณสมบตั ิของระบบผเู้ ชย่ี วชาญ 1. ES จะทำการเลยี นแบบวิธกี ารคิดและเหตุผลของผู้เช่ียวชาญจากประสบการณ์ในการแกป้ ญั หาจรงิ ในดา้ นต่างๆ 2. อาจนำ ES มาใช้ร่วมงานกับเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์(Artificial Intelligence :AI) เรียกการทำงานร่วมกันว่า “Expert System Shells” มีการดึงสารสนเทศจากคลังข้อมูลเชน่ เดียวกบั ระบบสนับสนุนการตดั สินใจ (DSS) จะเห็นได้ว่าระบบสนับสนุนการ ตัดสินใจ(DSS) กับระบบผู้เชี่ยวชาญ (ES) จะมีลักษณะคล้ายกัน แตกต่างกันตรงที่ DSS เป็นระบบที่เสนอทางเลือกในการ แก้ปัญหาหรือตัดสินใจเพื่อให้ผูใ้ ช้ได้ตัดสนิ ใจเอง ส่วน ES นั้นเป็นระบบท่ีตัดสินใจแทนผู้ใช้โดยอาศัยสารสนเทศที่รวบรวมมา จากเหตผุ ลและประสบการณ์จริง

1.6 ระบบสารสนเทศสำหรับผ้บู รหิ าร นับตั้งแต่การพัฒนาและนำระบบคอมพวิ เตอร์มาประยุกต์ในการดำเนินงานทางธุรกจิ การจัดการระบบสารสนเทศ

ได้รบั การยอมรบั ว่ามีความสำคัญตอ่ ความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจในปจั จุบนั เทคโนโลยสี ารสนเทศช่วยสร้างความแข็งแกร่ง เชิงกลยุทธ์ โดยพัฒนาความสามารถในการแข่งขันให้กับองค์การ เทคโนโลยีสารสนเทศถูกนำมาประยุกต์ให้การปฏิบัติงานใน ระดับต่างๆ ขององค์การมีประสทิ ธภิ าพสูงขึ้น เช่า การผลิต การขาย การตลาด การจัดการทางการเงิน และทรัพยากรบคุ คล ประการสำคัญหลายองค์การไดใ้ ห้ความสนใจในการพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับผบู้ รหิ าร เพื่อใหก้ ารตัดสนิ ใจในปัญหาหรือ โอกาสทางธรุ กจิ มปี ระสิทธิภาพสงู ข้ึน ซ่งึ จะช่วยสร้างความได้เปรยี บในการแข่งขนั ใหก้ บั องค์การ

7

เราสามารถกล่าวได้ว่า ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร ( Executive Information Systems ) หรือที่เรียกว่า EISหมายถึง

ระบบสารสนเทศที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยเฉพาะ เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการ ทักษะ และความสามารถในการเข้าถึง

สารสนเทศสำหรับ ผู้บริหารเนือ่ งจากผู้บริหารเปน็ กลุม่ บุคคลทีต่ ้องการขอ้ มูลที่มีลักษณะเฉพาะ โดยเฉพาะดา้ นระยะเวลาใน

การเขา้ ถงึ และทำความเข้าใจกับข้อมลู โดยเฉพาะการเปล่ียนแปลงและการแข่งขนั ทางธรุ กจิ ท่ีเกิดขนึ้ และปรับตัวอย่างรวดเร็ว

ในปจั จุบนั ได้สรา้ งแรงกดดันให้ ผู้บรหิ ารต้องตดั สนิ ใจภายใต้ขอ้ จำกัดของทรัพยากรทางการจดั การระยะเวลา ข้อมูล และการ

ดำเนินงานของคู่แข่งขัน นอกจากนี้ผู้บริหารหลายคนยังมีความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศที่จำกัด โดยเฉพาะผู้บริหาร

ระดบั สงู ท่ีมอี ายุมากและไมม่ โี อกาสได้พัฒนาความรู้ ความเข้าใจ และทกั ษะดา้ นการใช้งานสารสนเทศ ดังนนั้ จงึ มีความจำเป็น

ท่จี ะต้องพัฒนาและออกแบบระบบสารสนเทศท่ีสามารถชว่ ยให้ผบู้ รหิ ารปฏบิ ัติงานอย่างมปี ระสิทธภิ าพ

โดยผบู้ รหิ าร ถกู จัดแบง่ ออกเป็น 3 ระดบั

ระดับ ความหมาย หนา้ ท่ี

ระดับ 1 ผู้บริหารระดับต้น หวั หนา้ แผนกหรือหัวหนา้ คนงาน 1. ทำตามนโยบายที่ผู้บริหาร ระดับสงู

(หรอื ผู้บรหิ ารระดบั ลา่ ง) และผู้บริหารระดับกลางวางแผน และ

กำหนดไว้

2. ทำการตัดสินใจระยะสั้นในการ

ดำเนนิ งาน

3. ช่วยเหลือ แก้ไขปัญหาให้กับทีม

สร้างแรงจูงใจและสามารถรับผิดชอบผู้

ท่ีอยู่ในแผนกของตนได้

4. เป็นผนู้ ำข้อมูลเข้าสู่ระบบ

ระดบั 2 ผูบ้ ริหารระดับกลาง ผ้อู ำนวยการ หวั หนา้ ศนู ย์ ผ้จู ัดการแผนก หรอื 1. ดำเนินงานตามนโยบายและ

หัวหน้าสายงาน แผนงานทีไ่ ดก้ ำหนดไว้

2. ประสานงานระหว่างผู้บริหาร

ระดับสูง และผู้บริหารระดับล่าง เพื่อ

กำหนดนโยบายให้ผู้บริหารระดับล่าง

นำไปปฏบิ ตั ิได้

ระดับ 3 ผูบ้ รหิ ารระดับสูง ประธานกรรมการจนไปถึงกรรมการผู้จัดการ 1. เป็นผ้ตู ดั สินใจวางแผนการระยะยาว

หรืออาจเรียกวา่ ผรู้ เิ ริ่มก่อต้งั องค์กร ที่เก่ียวกบั ทศิ ทางโดยรวมขององค์กร

2. กำหนดวตั ถปุ ระสงค์ นโยบาย และ

กลยุทธ์

3. แนะนำทางจัดการในสิ่งต่าง ๆ

ท้ังหมดทไ่ี ด้กำหนดไว้

8

1.7 ระบบสารสนเทศกบั ผบู้ รหิ าร ผูบ้ ริหารท้ัง 3 ระดับ มีรูปแบบการใช้สารสนเทศทแ่ี ตกตา่ งกนั ระดบั ความหมาย

การใช้สารสนเทศกับผบู้ ริหารระดับต้น จะเนน้ ในเรือ่ งของการนำสารสนเทศเขา้ สู่ระบบ โดยเนน้ เก่ียวกบั การปฏิบัตงิ าน หรือ ควบคมุ การปฏบิ ัติงานเป็นสำคัญ

การใช้สารสนเทศกับผบู้ รหิ ารระดับกลาง จะเน้นในเรื่องของการนำสารสนเทศมาใช้ประกอบการพิจารณาในการวางแผนระยะ สั้นให้กับระบบ โดยปฏิบัติตามข้อกำหนดเพื่อความสำเร็จตามเป้าหมายที่ผู้บริหาร ระดับสูงวางไว้

การใชส้ ารสนเทศกบั ผู้บรหิ ารระดบั สูง จะนำสารสนเทศมาใช้ประกอบการพิจารณาวางแผนการดำเนินงานของระบบ โดย เน้นการวางแผนระยะยาว การวางแผนเชิงกลยุทธ์ รวมถึงการควบคุมนโยบายเพ่ือ ไปสเู่ ป้าหมาย

1.8 ผู้บรหิ ารกับการตดั สินใจ เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าผู้บริหาร (Executive) เป็นบุคคลหรือคณะบุคคลที่มีความสำคัญต่อการดำรงอยู่และ

อนาคตขององค์การ เนื่องจากผู้บริหารมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อการกำหนดทิศทางในอนาคตขององค์การผ่านการ ตัดสนิ ใจในปญั หาหรือโอกาสสำคญั ทางธุรกิจซง่ึ การตดั สินใจของผูบ้ ริหารโดยเฉพาะผู้บรหิ ารระดับสงู (Top Executive)จะมผี ล ไม่เพียงต่อการดำเนนิ งานในระยะส้นั แตค้ รอบคลุมถงึ ความอยรู่ อด ความม่ันคง และความเจรญิ เตบิ โตขององคก์ าร นอกจากน้ี การตัดสินใจของผู้บริหารจะมีคุณลักษณะที่แตกต่างจากการตัดสินใจของบุคลากรอื่นขององค์การ ไม่ว่าผู้จัดการระดับกลาง หัวหน้างาน ตลอดจนพนักงานระดับปฏบิ ัติการ เพราะผู้บริหารระดับสูงจะต้องปฏิบัติงานเกี่ยวขอ้ งกับปัญหาหรอื โอกาสทาง ธุรกิจที่มีความซับซ้อน หลากหลายและท้าทาย โดยเราสามารถจำแนกการตัดสินใจในการทำงานของผู้บริหารออกเป็น 4 ลักษณะต่อไปนี้

1. การตดั สินใจแบบมโี ครงสร้าง หรอื การตัดสนิ ใจเชิงกลยทุ ธ์ (Strategic Decision) เป็นการตัดสินใจที่เกี่ยวกบั อนาคตขององค์การ ตั้งแต่การกำหนดวสิ ัยทัศน์ ทิศทาง และภารกิจในการดำเนินธุรกจิ เพื่อให้องค์การมีตำแหน่งเชิงกลยุทธ์และความได้เปรียบในการแข่งขัน ซึ่งจะเป็นผลต่อความม่ันคงและการเจริญเติบโตของ องค์การ โดยการกำหนดแผนกลยุทธ์จะเป็นแนวทางสำหรับการตัดสินใจในด้านสำคัญและแนวทางปฏิบัติสำหรับบุคลากร ระดบั ตา่ งๆภายในองคก์ าร 2. การตัดสินใจแบบกง่ึ โครงสร้าง หรือ การตัดสนิ ใจทางยทุ ธวธิ ี (Tactical Decision) เป็นการตัดสินใจว่าองค์การจะทำอะไรที่ไหน เมื่อไร อย่างไร เพื่อให้สามารถบรรลุถึงภารกิจและวัตถุประสงค์ท่ี กำหนดไว้ในแผนกลยุทธ์ แผนยุทธวิธีจะกำหนดยุทธวิธีการดำเนินงานเฉพาะเรื่อง เพื่อสร้างเอกลักษณ์การดำเนินงานและ ความไดเ้ ปรียบต่อคู่แขง่ ขัน อยา่ งไรก็ตามผบู้ รหิ ารจะไมเ่ จาะลึกถึงรายละเอยี ดในการปฏิบตั ิงานเพียงแต่มุ่งถึงการกำหนดแนว ทางการดำเนินงาน เพอื่ ให้บุคลากรในระดบั ตอ่ ไปรับมาปฏบิ ัติใหบ้ รรลคุ วามสำเร็จตามทผ่ี ้บู ริหารกำหนดเอาไว้ 3. การตดั สนิ ใจแบบไม่มีโครงสร้าง หรือ การแกป้ ญั หาเฉพาะหนา้ (Fire-fighting) เป็นการตัดสินใจแก้ปัญหาหรือวิกฤตที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้า ปัญหาลักษณะนี้เกิดขึ้นกระทันหันโดยผู้บริหารมิได้ คาดการณ์ไว้ บางครั้งผู้ผู้บริหารต้องตัดสินใจที่จะดำเนินกิจกรรมทางธุรกิจตอ่ ไป หรือยุติการดำเนินธุรกิจในส่วนใดส่วนหนง่ึ หรือทัง้ หมด เช่น บริษัทได้ถูกฟ้องรอ้ งทางกฏหมายในระดับท่ีอาจต้องปิด กิจการ ผลิตภัณฑ์หรือบริการเกดิ ปัญหาในมุมกวา้ ง เป็นต้น หรือผู้บริหารต้องตัดสินใจแก้ปัญหาในกรณีที่ปัจจัยที่สำคัญที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจได้รับความเสียหายอย่างหนัก หรอื เปลยี่ นแปลงอยา่ งรุนแรง เช่น การนดั หยดุ งาน ภัยธรรมชาติอยา่ งรุนแรง หรือความผันผวนของระบบเศรษฐกจิ

9

4. การควบคุม (Control) เป็นหนา้ ท่ีสำคญั ทางการจดั การ (Management Functions) ท่ผี ู้บริหารต้องตรวจสอบและควบคมุ การปฏบิ ตั งิ านของผใู้ ต้บังคับบัญชาใหเ้ ปน็ ตามความเหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั แผนงานและสถานการณ์ เนื่องจากการปฏบิ ัตงิ านอาจเบ่ียงเบนจากแผนงานทกี่ ำหนด ซ่ึงผลมาจากการวางแผนที่คลาดเคล่ือน ข้อจำกัดของทรัพยากรบุคคลหรือทรัพยากร การดำเนินงานอื่น ตลอดจนความผันผวนของสถานการณ์ ผู้บริหารต้องทำการ ตัดสินใจเกี่ยวกับผลการดำเนินงานของธุรกิจ หลังจากที่องค์การได้เริ่มปฏิบัติงานตามแผนที่วางไว้ไประยะหนึ่งแล้ว ผู้บริหาร ยอ่ มมีความสนใจต้องการจะทราบว่าผลการดำเนนิ งานน้นั เป็นอยา่ งไร มีแนวโน้มวา่ จะบรรลคุ วามสำเร็จตามที่ต้องการหรือไม่ หรือต้องปรบั ปรุงอย่างไรให้สอดคล้องกับสถานการณ์จริง ดังนั้นผูบ้ ริหารจะต้องมกี ารตรวจสอบข้อมูลที่ได้จากการปฏิบัติงาน เป็นระยะๆ แล้วนำมาทำการเปรียบเทียบกับแผนที่วางเอาไว้ เพื่อจะได้แก้ไข ปรับปรุงหรือพัฒนาให้เหมาะสมกับเหตุการณ์ ตอ่ ไป

1.9 คณุ สมบตั ิของสารสนเทศทดี่ ี

  1. ตรงกบั ความต้องการ
  2. ทันเวลาตอ่ การนำไปใชป้ ระโยชน์
  3. มีความเทีย่ งตรง
  4. มคี วามสมบรู ณ์
  5. มคี วามปลอดภยั

1.10 นกั วเิ คราะห์ระบบ

นักวิเคราะห์ระบบ คือ ผู้ที่เป็นตัวกลางในการติดต่อระหว่างระบบสารสนเทศกับกลุ่มผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ เจ้าของ

ระบบ (System Owners) ผใู้ ชร้ ะบบ (System Users) และผสู้ รา้ งระบบ(System Builders) เพื่อพฒั นาระบบสารสนเทศของ

องคก์ รขึ้นมา ทง้ั นห้ี นา้ ทห่ี ลักของนกั วิเคราะหร์ ะบบจะแบง่ เปน็ 3 ส่วน ดงั นี้

ลักษณะงาน คำเรยี กตำแหน่งงาน

  1. วเิ คราะห์ระบบเทา่ นน้ั Information Analysis
  1. วิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบ System Designers หรอื Applications Developers
  1. วเิ คราะห์ ออกแบบ และเขียนโปรแกรม Programmer Analysis

10

โดยนักวิเคราะหร์ ะบบจะมีหน้าท่ีท่ีต้องปฏบิ ัติดังนี้

  1. รวบรวมข้อมูล เป็นการรวบรวมข้อมลู ของระบบเดิมเพื่อใหท้ ราบถงึ ปญั หาท่เี กิดข้ึน และนำไปใช้เป็นข้อมูลส่วน หนึ่งในการพฒั นาระบบใหม่ทั้งนีอ้ าจจะทำแบบสอบถามหรอื การสัมภาษณ์เพื่อเก็บรายละเอียดต่างๆ จากผู้ใช้ระบบ จากผู้ใช้ ระบบ เพราะผใู้ ช้ระบบเป็นผู้ทีเ่ ข้าใจถงึ ปัญหาที่เกดิ ข้ึนไดด้ ที ส่ี ดุ
  2. จัดทำเอกสาร ในระหว่างการทำพัฒนาระบบนั้น นักวิเคราะห์ระบบจะต้องจัดทำเอกสารประกอบในแต่ละ ขน้ั ตอนของการวเิ คราะห์ระบบโดยละเอยี ด และปรบั ปรุงใหเ้ ป็นปจั จุบันอยเู่ สมอ เพื่อความคล่องตัวหากมีการเปล่ียนทมี งานใน ระหวา่ งการพฒั นาระบบ
  3. จัดทำพจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) เป็นการรวบรวมเอกสารทั้งหมด และอธิบายถึงเอกสารตา่ งๆ ท่ี ต้องมีการใช้งานในระบบ พจนานุกรมข้อมูลจัดเป็นสิ่งหนึ่งที่นักวิเคราะห์ระบบจำเป็นต้องใช้ในการติดต่อประสานงานกับ โปรแกรมเมอร์และเจา้ ของระบบ
  4. ออกแบบระบบ นักวิเคราะหร์ ะบบจะต้องทำการออกแบบการทำงานของระบบใหมใ่ ห้ตรงตามความต้องการของ ผู้ใช้ระบบ และมีความเหมาะสมมากที่สุด รวมทั้งออกแบบลักษณะการติดต่อของโปรแกรมกับผู้ใช้งาน ฮาร์ดแวร์และ เทคโนโลยีสารสนเทศที่จะนำมาใช้ในระบบ กำหนดลักษณะของเครือข่ายท่ีใช้ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ กำหนดมาตรการ รักษาความปลอดภัยของระบบ รวมไปถึงการประมาณการค่าใช้จา่ ยต่างๆ ในสว่ นท่ีจะเกิดข้นึ
  5. สร้างแบบจำลอง ทำการสร้างแบบจำลองของโปรแกรมทพี่ ฒั นาขน้ึ เพอื่ นำเสนอแก่เจ้าของระบบและผูใ้ ช้งาน ใน บางองค์กรหน้าทก่ี ารสรา้ งแบบจำลองจะเป็นของโปรแกรมเมอร์
  6. ทดสอบโปรแกรมทพ่ี ฒั นาข้นึ ในบางคร้ังนกั วเิ คราะหร์ ะบบและโปรแกรมเมอรจ์ ะเป็นผทู้ ดสอบโปรแกรมเอง แต่ หากมอบหมายให้ผใู้ ชร้ ะบบเป็นผู้ทดสอบจะมผี ลการทดสอบทม่ี ปี ระสิทธภิ าพมากกว่า เน่อื งจากผ้ใู ช้ระบบเป็นผู้ที่รู้และเข้าใจ ระบบงานอย่างแท้จริง จึงสามารถบอกได้ว่าโปรแกรมที่พัฒนาข้นึ มานั้นทำงานไดส้ อดคล้องกบั การทำงานจรงิ มากนอ้ ยเพียงใด
  7. ติดต้งั และทำการปรับเปลยี่ นระบบ ทำการตดิ ตั้งและปรบั เปลย่ี นระบบเดมิ เปน็ ระบบใหม่ ซงึ่ สามารถทำไดห้ ลาย ลกั ษณะ เช่น ตดิ ตง้ั ท้งั หมดทันที ตดิ ต้ังเป็นบางส่วนกอ่ น หรอื ติดต้ังระบบใหมค่ วบคู่ไปกับการทำงานของระบบเกา่ เป็นตน้
  8. จัดทำคู่มือ จัดทำคู่มือและจัดเตรียมหลักสูตรฝึกอบรมให้แกผ่ ูใ้ ชร้ ะบบ เนื่องจากเปน็ การเปลีย่ นแปลงของระบบ ซ่ึง หมายรวมถึงการเปลีย่ นแปลงวธิ ีการดำเนนิ งาน ลกั ษณะของโปรแกรมที่ใชง้ านกเ็ ปล่ียนแปลงไป การที่ผู้ใช้ระบบจะสามารถ เขา้ ใจและรบั รกู้ ารเปลีย่ นแปลงทเ่ี กิดขนึ้ ได้อยา่ งรวดเร็ว คอื การไดร้ บั การฝึกอบรมอย่างถูกต้อง
  9. จัดทำแบบสอบถาม จัดทำแบบสอบถามถึงผลการดำเนินงานของระบบใหม่ที่ได้ติดตั้งไปแล้วในรูปแบบของ รายงานผลการใช้ งาน (Feedback)เพราะจะทำให้นักวิเคราะห์ระบบทราบว่าผลของการติดตั้งระบบใหม่เป็นอย่างไร และมี ปัญหาอะไรเกิดขึ้นตามมาบา้ งเพื่อจะได้นำปัญหาเหล่านั้นมาทำการปรับปรุงแก้ไขเพื่อใหไ้ ด้เป็นระบบที่ตรงตามความต้องการ ของผ้ใู ชไ้ ดใ้ นท่สี ดุ
  10. บำรุงรักษาและประเมนิ ผลการปฏิบัติงานของระบบ เป็นการดูแลระบบเมื่อมีข้อผดิ พลาดเกิดขึ้น รวมทั้งเป็น การปรับปรุง ดัดแปลง หรือแก้ไขทั้งโปรแกรมและขั้นตอนการทำงานของระบบ เพื่อให้ระบบมีการทำงานที่ถูกต้องมากที่สุด นอกจากน้ันยงั ทำใหส้ ามารถประเมินผลการปฏิบัตงิ านของระบบใหม่ได้อกี ด้วย
  11. เป็นผู้ให้คำปรึกษา คอยให้คำปรึกษาแก่ผู้ใช้ระบบและทุกคนในระบบ (Consulting) ภายหลังจากการติดต้งั ระบบแล้ว การใช้งานอาจเกิดข้อสงสัยหรอื ขอ้ ผดิ พลาดขึ้นได้ตลอดเวลา ดังนั้นนักวิเคราะห์ระบบจะต้องคอยให้คำปรกึ ษา ไม่ ว่าจะเปน็ ทางด้านการใช้โปรแกรมหรอื ทางดา้ นเทคนิคกต็ าม
  12. เปน็ ผ้ปู ระสานงาน ทำหนา้ ทปี่ ระสานงานระหว่างทกุ ฝ่ายที่เก่ียวข้องกับการพฒั นาระบบ (Coordinator)เพอื่ ให้ เขา้ ใจในเหตุการณห์ รอื ข้อมลู ทเี่ กิดข้ึนภายในองคก์ รได้ถูกต้องตรงกันทส่ี ดุ
  13. เป็นผ้แู ก้ไขปัญหา ในที่นจ้ี ะเปน็ ผู้ท่ีนำแนวคดิ ของคำว่า “ระบบ” มาใชใ้ นการแก้ปัญหาทั้งการดำเนินงานทาง ธุรกิจขององค์กร และแก้ปัญหาด้านระบบสารสนเทศด้วย โดยการเปรียบเทียบในลักษณะของงานทางธุรกิจคือระบบ ซึ่ง

11

จะต้องกำหนดขอบเขตของระบบผู้ที่เกีย่ วข้องกับการทำงานของระบบพิจารณาว่าข้อมูลที่เข้าและออกจากระบบนั้นเกิดจาก บุคคลฝ่ายใดหรือเกิดจากขั้นตอนการทำงานขั้นตอนใด เพื่อให้การแก้ไขปัญหานั้นสามารถดำเนินการได้อย่างชัดเจนภายใน ขอบเขตของระบบน้ัน

  1. เป็นตัวแทนการเปลี่ยนแปลง นักวิเคราะห์ระบบเป็นผู้ที่สามารถแสดงให้ทุกคนเล็งเห็นถึงผลประโยชน์ที่จะ เกิดขนึ้ หลงั จากการเปลย่ี นแปลงจากระบบเก่าเป็นระบบใหมไ่ ด้
  1. เป็นผู้เตรียมข้อมูลให้กับองค์กร เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงระบบแล้ว นักวิเคราะห์ระบบจะเป็นผู้ที่ทราบ รายละเอยี ดของการเปลย่ี นแปลงดที ่ีสดุ ซง่ึ สามารถเตรียมข้อมูลเพอ่ื นำไปใช้ในการแข่งขัน หรอื การหาตลาดใหม่ขององค์กรได้ อยา่ งรวดเร็วและทนั เหตุการณ์

1.11 ความรู้และทกั ษะของนกั วเิ คราะหร์ ะบบ นักวิเคราะห์ระบบ ไม่ใช่มีหน้าที่เพียงทำการวิเคราะห์ระบบ หรือเขียนโปรแกรมเพียงอย่างเดียวเท่านั้น โดยแค่มี

ความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์เพยี งอย่างเดียวยังอาจไม่เพียงพอ ดังนั้น นักวิเคราะหร์ ะบบจึงจำเป็นจะต้องมีทักษะและความรู้ ทางด้านต่าง ๆ ดังน้ี

1. มีความชำนาญหลากหลายในศาสตร์คอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ โปรแกรมภาษา ฮาร์ดแวร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ เปน็ ตน้

2. มคี วามเขา้ ใจในระบบธรุ กจิ ระบบการเงิน และระบบการตลาด เปน็ อย่างดี 3. มคี วามเขา้ ใจในความตอ้ งการของผใู้ ช้ระบบเปน็ อยา่ งดี 4. ต้องเป็นนักสำรวจ ท่ีช่างสังเกตในรายละเอียดต่างๆ ของระบบ รวมไปถึงองค์ประกอบภายนอกที่เกี่ยวข้องกับ ระบบ เพ่อื นำมาเป็นขอ้ มูลประกอบการพัฒนาระบบ 5. มีจรรยาบรรณต่อองค์กรที่พัฒนาระบบให้ ไม่นำข้อมูลที่ได้ซึ่งเป็นความลับขององค์กรไปเผยแพร่ภายนอกอัน อาจจะก่อให้เกิดผลเสียแก่องคก์ รนนั้ ได้ 6. ตอ้ งทำงานเปน็ ทีมไดเ้ ปน็ อยา่ งดี เชน่ ทีมพัฒนาระบบ ทมี นักวิเคราะห์ระบบ เปน็ ตน้ 7. มีมนุษยส์ ัมพันธท์ ด่ี ี เนอื่ งจากนกั วเิ คราะห์ระบบจะต้องมีการติดต่อประสานงานระหวา่ งบคุ คลหลายกลุ่มเพื่อคอย อำนวยความสะดวกและเก็บรวบรวมข้อมลู ต่างๆ เพอ่ื การพฒั นาระบบ 8. สามารถเรียนรู้สง่ิ ใหมๆ่ ได้ดว้ ยตนเอง 9. มีความสามารถสูงในการนำเสนอข้อมูลให้ท้ังผู้บริหารระดับสูงรวมไปถึงผู้ใช้ระบบ ให้สามารถเข้าใจได้โดยง่าย และตรงกนั 10. มีความสามารถในการตดิ ตอ่ สอ่ื สารเป็นภาษาอังกฤษไดด้ ี หากองคก์ รน้ันสอื่ สารภายในเป็นภาษาองั กฤษ 11. สามารถทำงานภายใต้ภาวะกดดันได้ เนื่องจากต้องทำงานกับบุคคลหลายฝ่าย ซึ่งแน่นอนว่าจะต้องมีปัญหา เกิดขนึ้ จากบุคคลตา่ งๆ มากมาย 12. เป็นนักจิตวิทยา ในการที่จะพูดคุยหรือติดต่อกับกลุ่มบุคคลหลายกลุ่มเพื่อให้ได้ข้อมูลมาอย่างละเอียดถูกต้อง และสามารถโนม้ นา้ วจติ ใจผ้ใู ชร้ ะบบได้

12

บทที่ 2 การพัฒนาระบบสารสนเทศ

การที่มีนักวิเคราะห์ระบบในองค์กรนั้นเป็นการได้เปรียบเพราะจะรู้โดยละเอียดว่า การทำงานในระบบนั้นๆ เป็น อย่างไร และอะไรคือความต้องการของระบบ ในกรณีที่นักวิเคราะห์ระบบไม่ได้อยู่ในองค์กรนั้น ก็สามารถวิเคราะห์ระบบได้ เช่นกันโดยการศึกษาสอบถามผู้ใช้และวิธีการอื่นๆ ซ่ึงจะกล่าวในภายหลัง ผู้ใช้ในที่นี้ก็คือ เจ้าของ และผู้ที่เกี่ยวข้องในระบบ สารสนเทศนั่นเอง ผู้ใช้อาจจะมีคนเดียว หรือหลายคนก็ได้ เพื่อให้นักวิเคราะห์ระบบทำงานได้อย่างคลอ่ งตัวมีลำดับขั้น และ เป้าหมายที่แน่นอน นักวิเคราะห์ระบบควรจะทราบถึงว่า ระบบสารสนเทศนั้นพัฒนาขึ้นมาอย่างไร มีขั้นตอนอย่างไร ซ่ึง ขน้ั ตอนดงั กล่าว เรยี กว่า “วงจรการพฒั นาระบบ”

2.1 วงจรการพัฒนาระบบ เนื่องจากในสภาพเศรษฐกิจปัจจุบันมีสภาวะแข่งขันของธุรกิจค่อนข้างสูง จึงทำให้องค์กรจำเป็นต้องหากลยุทธ์

ทางการแขง่ ขนั เพ่ือเพ่ิมความไดเ้ ปรียบต่อคู่แข่งขัน และแยง่ สว่ นแบ่งในตลาดใหไ้ ดม้ ากขน้ึ อนั จะนำไปสูผ่ ลกำไรทีม่ ากขึ้น ซงึ่ กล ยุทธ์การแข่งขันดังกล่าวอาจจะเป็นการพัฒนาระบบงานที่ดำเนินการอยู่ในปัจจุบันหรือพัฒนาระบบใหม่ แต่จะมีระบบงาน ใดบ้างนั้น จะต้องค้นหาจากผู้ที่ปฏิบัติงานกับระบบงานจริง โครงการที่รวบรวมมาได้อาจมีหลายโครงการ แต่อาจดำเนินการ พร้อมกันหมดไม่ได้ เนื่องจากมีข้อจำกัดเรื่องของต้นทุนและเวลาที่ใช้ในการดำเนินการ ดังนั้นจำเป็นต้องมีการเลือกสรร โครงการที่เหมาะสมและให้ผลประโยชน์แก่องค์กรมากที่สุดในสภาวะการณ์ปัจจุบัน โดยที่บุคคลากรในองค์กร อาจต้องการ พัฒนาระบบภายในองค์กรขึ้นมาหลากหลายโครงการท่ีล้วนแต่เป็นการพัฒนาประสิทธิภาพในการดำเนินงานขององค์กร แต่ การดำเนินการพัฒนาระบบในทุกๆ โครงการพร้อมกันอาจเป็นไปไม่ได้เนื่องจากมีข้อจำกัดเรื่องของต้นทุนที่ใช้ในการพัฒนา การพัฒนาระบบงานสารสนเทศในข้ันตอนแรกของวงจรการพัฒนาระบบ (SDLC) เป็นขั้นตอนท่ีอธิบายถึงการค้นหาโครงการ ของระบบงานที่ตอ้ งการพฒั นา และพจิ ารณาเลอื กโครงการท่ีจะทำใหอ้ งคก์ รได้รับผลตอบแทนมากท่ีสุด เริ่มจากการที่ผู้บริหารขององค์กรหรือบุคลากรมีความต้องการที่จะพัฒนาระบบงาน จึงได้มีการแต่งต้ัง กลุ่มบุคคลเพ่ือค้นหา โครงการที่เห็นสมควรว่าควรได้รับการพัฒนา จากกิจกรรมการค้นหาโครงการนี้ ส่งผลให้เกิดโครงการพัฒนาขึ้นมาหลาย โครงการ ผู้บริหารและนักวิเคราะห์ระบบจะต้องทำการจำแนกกลุ่มของโครงการให้เป็นหมวดหมู่อย่างมีหลักเกณฑ์ เช่น จำแนกตามความสำคัญ หรือจำแนกตามผลตอบแทนที่จะได้รับ กิจกรรมสุดท้ายของขั้นตอนนี้จะทำการเลือกโครงการที่ เหมาะสมทสี่ ดุ และตรงกับวตั ถุประสงค์ (Objective) ขององคก์ รในสถานการณป์ ัจจบุ ันมากท่สี ุด

วงจรการพัฒนาระบบ คือ กระบวนการทางความคิด (Logical Process)ในการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อ แก้ปัญหาทางธุรกจิ และตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้ โดยระบบทีจ่ ะพฒั นานัน้ อาจเริ่มดว้ ยการพฒั นาระบบใหม่เลยหรือ นำระบบเดิมทมี่ ีอยู่แล้วมาปรับเปลยี่ นใหด้ ยี งิ่ ข้นึ ขนั้ ตอนในวงจรการพฒั นาระบบ ช่วยให้นกั วิเคราะหร์ ะบบสามารถดำเนินการ ได้อย่างมีแนวทางและเป็นขั้นตอน ทำให้สามารถควบคุมระยะเวลาและงบประมาณในการปฏิบัติงานของโครงการพัฒนา ระบบได้

ระบบสารสนเทศทั้งหลายมีวงจรชีวิตที่เหมือนกันตั้งแต่เกิดจนตาย วงจรนี้จะเป็นขั้นตอนที่เป็นลำดับตั้งแต่ต้นจน เสร็จเรียบร้อย เป็นระบบที่ใช้งานได้ ซึ่งนักวิเคราะห์ระบบตอ้ งทำความเข้าใจให้ดีว่าในแต่ละขั้นตอนจะต้องทำอะไร และทำ อยา่ งไร ขนั้ ตอนการพัฒนาระบบมอี ยูด่ ้วยกนั 5 ระยะ คอื

13

ระยะที่ 1 การวางแผนโครงการ (Project Planning Phase) เป็นการรวบรวมข้อมูลเพ่มิ เตมิ เพ่อื เริ่มต้นจดั ทำโครงการที่ได้รบั อนมุ ตั ิ โดยเรม่ิ จากการจัดต้งั ทมี งาน เพ่ือเตรียมการ

ดำเนินงานจากนั้นทีมงานดังกล่าวร่วมกันค้นหา สร้างแนวทาง และเลือกทางที่ดีที่สุดในการนำระบบใหม่มาใช้งาน เมื่อได้ ทางเลือกที่ดีและเหมาะสมที่สุดแล้ว ทีมงานจึงเริ่มวางแผนดำเนินงานโครงการ โดยศึกษาความเป็นไปได้ กำหนดระยะเวลา ดำเนินงานแตล่ ะขัน้ ตอนและกิจกรรม เพอื่ นำเสนอตอ่ ผบู้ ริหารพิจารณาอนุมัติให้ดำเนินการในขน้ั ตอนตอ่ ไป

ระยะของการวางแผนโครงการ จะประกอบด้วยกจิ กรรมต่าง ๆ ดังนี้ ▪ กำหนดปัญหา ▪ ศกึ ษาความเป็นไปไดข้ องโครงการ ▪ จดั ทำตารางกำหนดเวลาโครงการ ▪ จดั ตง้ั ทีมงานโครงการ ▪ ดำเนินการโครงการ

ระยะที่ 2 การวิเคราะห์ (Analysis Phase) เป็นการศึกษาขั้นตอนการดำเนินการของระบบเดิมเพื่อหาปัญหาที่เกิดขึ้น รวบรวมความต้องการในระบบใหม่จาก

ผู้ใช้ระบบแล้วนำความต้องการเหล่าน้ันมาศึกษาและวิเคราะห์เพือ่ แก้ปัญหาดังกล่าว ด้วยการใช้แบบจำลองตา่ งๆ ช่วยในการ วิเคราะห์ เร่ิมจากทำการศึกษาถึงขั้นตอนการดำเนนิ งานของระบบเดิมหรอื ระบบปัจจุบนั ว่าเปน็ ไปอยา่ งไรบา้ ง ปัญหาทเี่ กิดข้ึน คอื อะไร หลงั จากนน้ั จงึ รวบรวมความต้องการในระบบใหม่จากผู้ใชร้ ะบบ โดยอาจจะมีการใชเ้ ทคนิคในการเก็บรวบรวมข้อมูล เช่น การออกแบบสอบถาม การสัมภาษณ์ จากน้ันนำข้อมลู ท่รี วบรวมไดม้ าทำการวิเคราะหด์ ้วยการจำลองแบบขอ้ มูลเหลา่ นน้ั ไดแ้ ก่ แบบจำลองขัน้ ตอนการทำงานของระบบ (Process Model) แบบจำลองขอ้ มูล (Data Model) โดยมีการใช้เคร่ืองมือใน การจำลองแบบชนิดต่างๆ เช่น แผนภาพกระแสข้อมูล(Data Flow Diagram) แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล (Entity Relationship Diagram) เป็นต้น

ระยะของการวิเคราะห์ จะประกอบไปดว้ ยกจิ กรรมตา่ ง ๆ ดังนี้ ▪ วิเคราะหร์ ะบบงานปัจจบุ นั ▪ รวบรวมความตอ้ งการในดา้ นต่าง ๆ และนำมาสรุปเป็นขอ้ กำหนดท่ีชดั เจน ▪ นำขอ้ กำหนดมาพัฒนาออกแบบเปน็ ระบบงานใหม่ ▪ สรา้ งแบบจำลองกระบวนการ ด้วยการวาดแผนภาพกระแสข้อมูล ▪ สรา้ งแบบจำลองข้อมูล ด้วยการวาดอีอาร์ไดอะแกรม

14

ระยะที่ 3 การออกแบบ (Design Phase) ระยะการออกแบบ เป็นการพิจารณาว่า ระบบดำเนนิ การไปไดอ้ ย่างไร ซึง่ เกี่ยวกบั ยทุ ธวธิ ีการออกแบบท่ีว่าด้วยการ

ตัดสินใจว่าจะพัฒนาระบบใหม่ด้วยแนวทางใด นอกจากนี้ยังเกี่ยวข้องกับการออกแบบสถาปัตยกรรมของระบบฮาร์ดแวร์ ซอฟตแ์ วร์ และเครือขา่ ย , การออกแบบรายงาน หรือการออกแบบหน้า การออกแบบยูสเซอรอ์ ินเตอรเ์ ฟส (ส่วนประสานงาน กับผู้ใช้งาน) แต่ระยะนี้จะมุ่งเน้นถึงการดำเนินการแก้ปัญหาอย่างไรด้วยการนำผลลัพธ์ของแบบจำลองทางลอจิคัลที่ได้จาก ระยะการวิเคราะห์มาพฒั นาเป็นแบบจำลองทางฟสิ ิคลั

1. ออกแบบเชิงตรรกะ (Logical Design) เปน็ ขั้นตอนในการออกแบบลกั ษณะการทำงานของระบบตามทางเลือกท่ไี ด้ทำการเลอื กไว้จากข้ันตอนการวิเคราะห์ ระบบ โดยการออกแบบในเชิงตรรกะนี้ยังไมไ่ ด้มีการระบุถึงคุณลักษณะของอุปกรณท์ ี่จะนำมาใช้ เพียงแต่กำหนดถึงลักษณะ ของรปู แบบรายงานทเ่ี กดิ จากการทำงานของระบบ ลักษณะของการนำข้อมูลเข้าสูร่ ะบบและผลลัพธท์ ีไ่ ด้จากระบบ ขั้นตอนการออกแบบเชิงตรรกะจะสัมพันธ์และเชื่อมโยงกับขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบเป็นอย่างมาก เนื่องจาก อาจจะมีการนำแผนภาพที่แสดงถึงความต้องการของผูใ้ ช้ระบบที่ได้จากขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบมาทำการแปลงเพื่อให้ได้ ข้อมูลเฉพาะของการออกแบบ (System Desing Specification) ที่สามารถนำไปเขียนโปรแกรมได้สะดวกขึ้น เช่น การ ออกแบบส่วนนำเข้าข้อมลู และผลลัพธ์นัน้ ต้องอาศัยข้อมลู ที่เป็นData Flow ที่ปรากฏอยู่บนแผนภาพกระแสข้อมูลในขั้นตอน การวิเคราะห์ระบบ 2. ออกแบบเชิงกายภาพ (Physical Design) ระบุถึงลักษณะการทำงานของระบบทางกายภาพหรือทางเทคนิค โดยระบุถึงคุณลักษณะของอุปกรณ์ที่จะนำมาใช้ เทคโนโลยี โปรแกรมภาษาที่จะนำมาใช้เขียนโปรแกรม ฐานข้อมูล ระบบปฏิบัติการ และระบบเครือข่ายที่เหมาะสม สิ่งที่ได้ จากขั้นตอนการออกแบบทางกายภาพน้ีจะเป็นขอ้ มูลเฉพาะของการออกแบบ (System Design Specification) เพื่อส่งมอบ ให้กบั โปรแกรมเมอร์เพือ่ ใช้เขียนโปรแกรมตามลักษณะการทำงานของระบบทไ่ี ด้ออกแบบและกำหนดไว้ ท้ังนใี้ นการออกแบบทน่ี อกเหนอื จากท่กี ล่าวมาน้ี ข้นึ อยกู่ บั ระบบขององคก์ รว่าจะตอ้ งมีการเพิม่ เตมิ รายละเอียดส่วน ใดบ้างแตค่ วรจะมีการออกแบบระบบความปลอดภยั ในการใชร้ ะบบด้วย โดยการกำหนดสทิ ธใิ นการใช้งานขอ้ มลู ท่ีอยู่ในระบบ ของผู้ใช้ตามลำดับความสำคัญ เพื่อป้องกันการนำข้อมูลไปใช้ในทางที่ไม่ถูกต้อง นอกจากนี้นักวิเคราะห์ระบบอาจจะมีการ ตรวจสอบความพึงพอใจในรูปแบบและลักษณะการทำงานที่ออกแบบไว้ โดยอาจจะมีการสร้างตัวต้นแบบ (Prototype) เพอ่ื ใหผ้ ้ใู ชไ้ ดท้ ดลองใช้งาน โดยในระยะท่ี 3 ประกอบดว้ ยกจิ กรรมต่าง ๆ ดังนี้

▪ การพจิ ารณาแนวทางในการพฒั นาระบบ ▪ การออกแบบสถาปัตยกรรมของระบบ ▪ การออกแบบฐานขอ้ มลู ▪ การออกแบบเอาตพ์ ุต ▪ การออกแบบอนิ พตุ ▪ การออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟส ▪ การจัดทำต้นแบบ ▪ การออกแบบโปรแกรม ระยะที่ 4 การนำไปใช้ (Implementation Phase) เป็นการนำระบบที่ออกแบบแล้วมาทำการเขียนโปรแกรมเพื่อให้เป็นไปตามคุณลักษณะและรูปแบบต่างๆ ที่ได้ กำหนดไว้หลังจากเขียนโปรแกรมเรียบร้อยแล้ว นักวิเคราะห์จะต้องทำการทดสอบโปรแกรม ตรวจสอบหาข้อผิดพลาดของ

15

โปรแกรมท่พี ฒั นาข้ึนมา และสดุ ท้ายคือการติดตั้งระบบไมว่ า่ จะเป็นระบบใหม่หรือเปน็ การพฒั นาระบบเดมิ ที่มอี ย่แู ล้ว โดยทำ การติดตงั้ ตัวโปรแกรม ตดิ ตัง้ อุปกรณ์ พร้อมทง้ั จัดทำคู่มือและจัดเตรียมหลักสตู ร อบรมให้แก่ผใู้ ชง้ านทเ่ี กีย่ วข้อง

เริ่มจากการเขียนโปรแกรมซึ่งโปรแกรมเมอร์จะได้รับชุดเอกสารที่เกิดขึ้นตั้งแต่ขั้นตอนการออกแบบ โดยเฉพาะ ข้อมูลส่วนของการออกแบบที่จะช่วยให้การเขียนโปรแกรมง่ายขึ้น หลังจากนั้นจะต้องมีการทดสอบโปรแกรมเพื่อหา ข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นและทำการแก้ไขในเบื้องต้น เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบแล้ว กิจกรรมต่อไปคือการติดตั้งระบบใหม่ พรอ้ มทงั้ จดั ทำคมู่ ือประกอบการใชโ้ ปรแกรม จัดหลกั สตู รฝึกอบรมผ้ใู ชร้ ะบบและคอยชว่ ยเหลอื ในระหวา่ งการทำงาน

สรปุ ระยะของการนำไปใช้ จะประกอบดว้ ยกจิ กรรมตา่ ง ๆ ดังนี้ ▪ สร้างระบบข้ึนมาดว้ ยการเขยี นโปรแกรม ▪ ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ▪ แปลงขอ้ มลู ▪ ตดิ ตั้งระบบ ▪ ฝกึ อบรมผ้ใู ช้ และประเมนิ ผลระบบใหม่ ระยะที่ 5 การบำรงุ รกั ษา (Maintenance Phase) โดยปกติแล้ว ระยะของการบำรุงรักษาจะไม่นำเข้าไปรวมกับในส่วนของ SDLC จนกระทั่งหลังจากที่ระบบมีการ ติดตั้งเพ่ือใช้งานแล้วเท่านั้น ระยะนี้จะใช้เวลายาวนานที่สุดเมื่อเทียบกับระยะที่ผา่ น ๆ มา เนื่องจาก ระบบจะต้องได้รับการ บำรุงรักษาตลอดระยะเวลาที่มีการใช้ระบบ รวมถึงการแก้ไขด้วยการปรับปรุงโปรแกรม หรือ ในกรณีที่เกดิ ขอ้ ผิดพลาดท่ีเพิ่ง ค้นพบ และการเขียนโมดลู การทำงานเพิม่ เป็นตน้ เมื่อเริม่ จากการมีการใช้งานระบบใหมท่ ีไ่ ด้ตดิ ต้ังแล้วในระยะแรก ผู้ใช้อาจจะพบกบั ปัญหาที่เกิดขึน้ ซึ่งอาจจะมกี าร ทำการบันทึกปัญหาเหล่านั้นไว้เพื่อสง่ ให้นักวิเคราะห์ระบบและโปรแกรมเมอร์ทำการแก้ไขต่อไป ซึ่งเป็นเรื่องปกติที่จะมีการ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลง และแก้ไขระบบที่เพิ่มมีการติดตั้งใช้งานในระยะเริ่มต้น โดยนักวิเคราะห์ระบบจะทำการพิจารณาถึง ปัญหาเหลา่ นน้ั เพอื่ หาแนวทางแก้ไขตอ่ ไป สรุประยะของการนำไปใช้ จะประกอบดว้ ยกจิ กรรมต่าง ๆ ดังนี้

▪ การบำรงุ รกั ษาระบบ ▪ การเพม่ิ เติมคณุ สมบตั ใิ หม่ ๆ เข้าไปในระบบ ▪ การสนับสนุนงานของผู้ใช้

2.2 เคร่ืองมอื สนับสนุนการพัฒนาระบบ แม้ว่าในแต่ละขั้นตอนของการพัฒนาระบบ จะมีการนำเทคนิค แบบจำลอง และแผนภาพ ชนิดต่างๆ อธิบายแทน

ข้อมูลจากเอกสารที่เป็นข้อความอธิบายลักษณะการทำงานของระบบ และวิธีแก้ไขปัญหาที่เกดิ ขึ้นก็ตาม หากขั้นตอนในการ ทำงานเหล่านี้สามารถลดระยะเวลาลงได้ จะทำให้สามารถเพิ่มเวลาในขั้นตอนอื่น ที่เห็นว่าควรใส่ใจในรายละเอียดเพิ่มขึน้ ได้ สง่ ผลให้การพัฒนาระบบมีความถกู ตอ้ งมากข้นึ และผิดพลาดนอ้ ยลงได้

ปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ที่ช่วยสร้างแผนภาพ รายงาน โค้ดโปรแกรม ในระหว่างการวิเคราะห์และออกแบบระบบให้ เป็นไปโดยอัตโนมัติ นั่นคือ Computer-Aided Systems Engineering(CASE) ซึ่งเป็นโปรแกรมประยุกต์หรือซอฟต์แวร์ชนดิ หน่ึงของเทคโนโลยี ท่ชี ว่ ยในการพัฒนาระบบ คอยสนับสนนุ การทำงานในแตล่ ะขั้นตอนของการพัฒนา ดว้ ยการเตรียมฟงั ก์ชัน การทำงานตา่ งๆ ท่ีทำใหก้ ารทำงานแต่ละขั้นตอนมีความรวดเรว็ และมคี ุณภาพมากขึ้น

CASEจะช่วยแบ่งเบาภาระของนักวเิ คราะห์ระบบได้มาก ตั้งแต่การช่วยสร้าง Context Diagram, Flowchart, E-R Diagram สร้างรายงานและแบบฟอร์ม ตลอดจนการสร้างโค้ดโปรแกรม (Source Code) ใหอ้ ตั โนมัตอิ ีกด้วย

16

2.2.1 ขอบขา่ ยของเคร่ืองมอื สนับสนุนการพัฒนาระบบ

CASE ที่ใช้ในการพัฒนาระบบถูกแบ่งขอบข่ายการทำงานออกเป็น 2 ช่วง โดยการแบ่งนั้นอ้างอิงจากขั้นตอนการ

พัฒนาระบบในวงจร SDLC ซึ่งมีดงั ตอ่ ไปน้ี

ชว่ งการทำงาน คำอธิบาย ตัวอย่าง

1. Upper-CASE เป็นเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนการทำงานใน ขั้นตอนการวางแผน ขั้นตอนการวิเคราะห์

ขั้นตอนต้นๆ ของการพฒั นาระบบ และขน้ั ตอนการออกแบบระบบ

2. Lower-CASE เป็นเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนการทำงานใน ขั้นตอนการออกแบบ ขั้นตอนการพัฒนาและ

ข้ันตอนสุดท้ายในการพฒั นาระบบ ทดสอบระบบ และขั้นตอนการให้บรกิ ารหลัง

การตดิ ต้ังระบบ

จะเห็นว่า CASE ทั้งสองระดับนี้ มีการทำงานที่ซำ้ ซ้อนกนั อยู่ บางครั้งองค์กรอาจเลือกใช้งาน CASE Tools ทั้งสอง ระดับรว่ มกันได้

2.3 คณุ สมบตั ิและความสามารถของ CASE

ในการทำงานของCASE จะมีการเรยี กใช้ข้อมูลจาก Repository ซง่ึ จะทำให้ CASE มีความสามารถและจัดเตรียมส่ิง

อำนวยความสะดวกใหก้ ับนักวเิ คราะหร์ ะบบในการพัฒนาระบบได้ ดังน้ี

เคร่อื งมือ คำอธบิ าย

1. เครอ่ื งมือช่วยสร้างแผนภาพ (Diagram Tools) ใช้ในการเขียนแผนภาพเพื่อจำลองสิ่งต่างๆ ของระบบ ซึ่ง

สามารถเชื่อมโยงกบั แบบจำลองส่วนอนื่ ได้

2. เครือ่ งมือช่วยเกบ็ รายละเอยี ดตา่ งๆ ของระบบ ใชใ้ นการบันทกึ ลบ และแก้ไข รายละเอียดต่างๆ ของระบบ

(Description Tools) ได้ รวมทั้งยังสามารถแสดงผลลัพธ์ในรูปแบบเอกสารแสดง

รายละเอียดได้

3. เครอ่ื งมอื ช่วยสร้างตัวต้นแบบ (Prototyping Tools) ใช้ในการสร้างโปรแกรมต้นแบบเพื่อจำลองระบบออกมา

ทดลองใช้งานได้ในระดับที่สามารถบอกถงึ ความพอใจของผู้

ใช้ได้

4. เครื่องมือชว่ ยสรา้ งรายงานแสดงรายละเอยี ดของ ใช้ในการสร้างรายงานรายละเอียดตา่ งๆ ของแบบจำลองซึง่

แบบจำลอง (Inquiry and Reporting) ถูกเก็บไวใ้ น Repository ได้

5. เครอ่ื งมอื เพอ่ื คณุ ภาพของแบบจำลอง (Quality ช่วยในการสร้างแบบจำลอง เอกสาร และตัวต้นแบบต่างๆ

Management Tools) ที่ถูกสร้างขึ้นมีคุณภาพ โดยมีการตรวจสอบความถูกต้อง

และความสอดคล้องกันได้ อีกทังหากเกิดข้อผิดพลาดขึ้น

เครือ่ งมอื ชนดิ นสี้ ามารถบ่งบอกถงึ ขอ้ ผิดพลาดน้ันได้

6. เคร่อื งมือสนบั สนุนการตดั สนิ ใจ (Decision Support จัดเตรียมสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจที่จะเกิดขึ้นระหว่าง

Tools) การพัฒนาระบบ เช่น ช่วยนักวิเคราะห์ระบบประมาณการ

และวิเคราะห์ถึงความเป็นไปได้ของแนวทางแก้ไขปัญหา

เป็นตน้

17

เคร่อื งมือ คำอธบิ าย 7. เครื่องมือช่วยจดั การเอกสาร(Documentation ใช้ในการสร้าง จัดการ และแสดงรายงานสารสนเทศต่างๆ Organization tools) ซึ่งถูกเก็บไว้ใน Repository เพื่อนำเสนอต่อผู้บริหารและ ผู้ใชร้ ะบบได้ 8. เคร่ืองมือชว่ ยออกแบบ (Design Generation Tools) ใช้ในการออกแบบระบบคร่าวๆ ในเบื้องต้นได้ ภายใต้ความ ต้องการที่รวบรวมมาแล้ว เช่น CASE สามารถออกแบบ 9. เครื่องมอื ชว่ ยสร้างโคด้ โปรแกรม (Code Generator ฐานข้อมลู ท่ไี ด้สร้างแบบจำลอง ขอ้ มลู มาแลว้ Tools) ใช้ในการสร้างโค้ดของโปรแกรมทั้งหมดหรือสามารถสร้าง 10. เครอ่ื งมอื ชว่ ยทดสอบ (Testing Tools) เพียงบางส่วนได้ ช่วยให้นักวิเคราะห์และโปรแกรมเมอร์สามารถทดสอบ 11. เครอ่ื งมอื ช่วยให้สามารถใช้ขอ้ มูลรว่ มกนั (Data โปรแกรมได้รวดเร็วยงิ่ ข้ึน Sharing Tools) เตรียมการนำเข้า (Import) และนำออก (Export) ของ สารสนเทศระหว่าง CASE Tools ทต่ี า่ งกันได้

คณุ สมบัติและความสามารถของ CASEเปน็ ส่ิงที่คอยอำนวยความสะดวกใหก้ บั นกั วเิ คราะห์ระบบในการพฒั นาระบบ ซ่งึ จะชว่ ยใหก้ ารทำงานมีความสะดวก รวดเรว็ และถกู ต้องมากยิ่งขึ้น

2.4 ประโยชน์ท่ีได้จากการใช้ CASE การเลือกใช้ CASE ช่วยในการพัฒนาระบบน้ันสามารถแบ่งเบาการทำงานของนกั วิเคราะหร์ ะบบ ชว่ ยใหเ้ อกสารหรือ

แผนภาพตา่ งๆ ทีจ่ ดั ทำขนึ้ ดูเปน็ ระเบยี บเรียบร้อยและมคี ุณภาพ ที่สำคญั คอื ชว่ ยลดเวลาในการทำงานได้มาก นอกจากนี้แล้ว ยังส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่างๆ ดังนี้

1. มีการพัฒนาคุณภาพในการทำงาน เนื่องจาก CASE สามารถตรวจสอบความถูกต้อง สมบูรณ์ของแผนภาพและ โปรแกรมได้

2. มีการสร้างเอกสารทีด่ ี 3. ประหยัดเวลาในการบำรุงรักษาให้ข้อมูลนั้นเป็นปัจจุบันมากที่สุด เพียงเข้าไปทำการแก้ไขในฐานข้อมูล Repository เท่าน้ันกส็ ามารถสร้างเอกสารให้เปน็ ปจั จุบนั ได้ โดยไมต่ อ้ งตามไปแกไ้ ขเอกสารที่เกย่ี วขอ้ งทง้ั หมดเอง

2.5 วธิ กี ารพฒั นาระบบ

วิธกี ารพฒั นาระบบ จะประกอบดว้ ย 2 วิธี คอื

วิธกี ารพฒั นาระบบ คำอธิบาย

  1. วธิ ีการพัฒนาระบบแบบด้งั เดิม เป็นการพัฒนาระบบสารสนเทศตามวงจรการพัฒนาระบบที่มีขั้นตอนท่ี

แน่นอน วธิ นี เ้ี ปน็ วิธเี ก่าแกท่ ีส่ ุดและนยิ มเรยี กยอ่ ๆ วา่ SDLC

  1. วิธกี ารพฒั นาระบบเชิงวัตถุ ประกอบดว้ ยกลุ่มของวัตถุ (Class of Objects) ซึ่งทำงานร่วมกัน มีการจดั

กลุ่มของข้อมูลและพฤติกรรมหรือฟังก์ชันที่กระทำกับข้อมูลนั้นเป็นกลุ่มๆ

ในรปู ของออบเจ็กต์ เนื่องจากออบเจก็ ตม์ ีคุณสมบัติในการนำกลับมาใช้ใหม่

ได้ (Reusability) การพัฒนาโปรแกรมแบบออบเจ็กต์จึงใช้เวลาในการ

พัฒนานอ้ ยกว่าวธิ อี น่ื

18

2.6 วศิ วกรรมซอฟต์แวร์

วิศวกรรมซอฟต์แวร์ เป็นการประยุกต์ใช้ระบบ กฎเกณฑ์ การเข้าถึงซึ่งสามารถวัดประเมินได้ในการพัฒนา การ

ปฏิบัติการ และการบำรุงรักษาซอฟต์แวร์ และในการศึกษาส่งิ เหล่าน้ี กค็ อื การประยกุ ต์ใช้งานทางด้านวิศวกรรมมาจัดการกับ

ซอฟตแ์ วร์ โดยไดร้ ะบุกจิ กรรมพ้ืนฐานของกระบวนการทางวิศวกรรมซอฟต์แวรไ์ ว้อยู่ 4 ส่วนหลัก ๆ ดว้ ยกนั คอื

กจิ กรรมพ้ืนฐาน คำอธิบาย

  1. ข้อกำหนดซอฟตแ์ วร์ เป็นการระบุข้อกำหนด ฟังก์ชั่นหน้าที่การทำงานของซอฟต์แวร์ โดย

กิจกรรมนี้อาจะเรียกว่า “วิศวกรรมความต้องการ”

  1. การพัฒนาซอฟตแ์ วร์ การพัฒนา หรือการสร้างผลิตภัณฑ์ (หรือซอฟต์แวร์) ให้ตรงตามต้องการ

ด้วยการนำกรรมวิธีการพัฒนาในรูปแบบต่าง ๆ มาใช้ในการพัฒนา

ซอฟต์แวร์

  1. การตรวจสอบความถกู ตอ้ งของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์จะต้องได้รับการตรวจสอบความถูกต้อง เพื่อให้แน่ใจว่า

ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นนี้เป็นผลิตภัณฑ์ที่ตรงกับความต้องการของลูกค้า

หรือผ้ใู ช้งาน

  1. ววิ ฒั นาการของซอฟตแ์ วร์ โครงการ การพัฒนาซอฟต์แวร์ท่มี ขี นาดใหญ่ จะมีความซับซ้อนสงู มกั จะมี

ระยะเวลาในการพัฒนาระบบทีย่ าวนาน โดยระบบที่พฒั นาจะมีววิ ฒั นาการ

ของการตรวจสอบข้อผิดพลาดตามข้อกำหนดเดิม แต่ก็อาจจะมีข้อกำหนด

หรือ ความต้องการใหม่ ๆ เข้ามาอย่างเร่งด่วน ดังนั้น ซอฟต์แวร์อาจมีการ

เปล่ยี นแปลงไปตามความต้องการผใู้ ช้งาน 1

การพัฒนาซอฟต์แวร์ด้วยการใช้กระบวนการ ย่อมทำให้การพัฒนาซอฟต์แวร์มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อจะให้ ไดม้ าซง่ึ ซอฟตแ์ วรท์ ม่ี คี ณุ ภาพ โดยคุณสมบตั ขิ องซอฟต์แวรท์ ่มี คี ุณภาพ ประกอบดว้ ย 1

1. มคี วามถกู ตอ้ ง 2. มีความนา่ เชื่อถือได้ 3. ใช้งานง่าย 4. บำรงุ รักษางา่ ย 5. สามารถนำกลบั มาใชใ้ หมไ่ ด้ 6. มีความคงทน 7. มปี ระสทิ ธิภาพ 8. มีความสะดวกในการเคลื่อนย้าย 9. มีความปลอดภยั

2.7 การตรวจสอบการทำงานของระบบ การตรวจสอบการทำงานของระบบ มี 2 ระดับ คอื

  1. Verification คือ การตรวจสอบความถูกตอ้ งหลงั จากยอมรับในรายละเอียด
  2. Validation คือ การตรวจสอบความถกู ตอ้ งโดยพิจารณาความตอ้ งการหลกั ของผู้ใชง้ าน

19

2.8 โมเดลการพัฒนาซอฟต์แวร์ เปน็ แบบจำลองที่ใชส้ ำหรบั เป็นตัวชน้ี ำถงึ กิจกรรมหลกั ในการพฒั นาซอฟตแ์ วร์ ปัจจุบนั ได้มกี ารคดิ คน้ โมเดลในการ

พัฒนาซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ให้เลือกใช้งานอยู่หลายโมเดลด้วยกัน โดยโมเดลในการพัฒนาซอฟต์แวร์สมัยใหม่ ตามหลักของ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ มักจะรวมขั้นตอน หรือกระบวนการที่ทำงานในลักษณะ “การทวนซ้ำเป็นรอบ” ,“การพัฒนาแบบ ความก้าวหนา้ ” และการจัดตน้ แบบ ซง่ึ จะช่วยลดความเสีย่ งลงไดม้ าก ในกรณที ี่โครงการนนั้ มีการเปลยี่ นแปลงความต้องการ อยูต่ ลอดเวลา

โดยในที่นจ้ี ะขอยกตวั อย่างโมเดลทีส่ ำคัญ ดงั น้ี

  1. Built – and - Fix Model

เป็นโมเดลที่มีอายุเก่าแก่มากที่สุด แต่ไม่ค่อยได้รับความนิยมมากเท่าที่ควร เนื่องจาก เป็นรูปแบบโมเดลที่เป็น ลักษณะการเขียนโปรแกรม และแก้ไขปรับปรุงโปรแกรมไปเรื่อย ๆ ลองผิดลองถูกไปจนกระทั่งคิดว่าพอใจหรือตรงกับความ ตอ้ งการมากท่ีสุด

  1. Water Fall Model Water Fall Model หรือเรียกว่า โมเดลน้ำตก เป็นโมเดลที่มีมานาน โดยได้เผยแพร่ใช้งานเมื่อปี พ.ศ. 1970 โดย

โมเดลนีย้ งั ไดร้ บั ความนยิ มจนถึงปัจจบุ ัน เน่อื งจากเปน็ โมเดลท่ีงา่ ยตอ่ การนำไปประยุกตใ์ ช้งาน โมเดลนำ้ ตกนี้ มีความคลา้ ยคลงึ กบั วงจรการพฒั นาระบบตามแนวทางของ SDLC โดยเห็นไดว้ า่ กระบวนการพัฒนา

ซอฟต์แวรแ์ บบดั้งเดิมนั้น เม่ือมกี ารเขา้ สขู่ น้ั ตอนใด ๆ แล้ว จะไม่มที างย้อนกลบั มาทำขนั้ ตอนก่อนหนา้ น้นั ได้อีก ดงั รูปท่ี 2.2

จากรูปแบบโมเดลน้ำตกแบบด้ังเดมิ นั้น ในความเป็นจรงิ เหตุการณ์ย้อนกลับไปทำในขั้นตอนก่อนหนา้ นั้น สามารถ ทำได้ เนื่องจาก นักวิเคราะห์ระบบอาจจะยังมองไม่เห็นปัญหา หรือข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น จึงจำเป็นจะต้องกลับไปแก้ไขให้ ระบบสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ซึ่งการกระทำดังกล่าว เป็นการกระทำที่ยืนยันความต้องการของผู้ใช้จริง ๆ ดังนั้น จึงมีการคิดค้น

20

รูปแบบโมเดลน้ำตกสมัยใหม่ โดยรวมคุณสมบัติ แบบทวนซ้ำเป็นรอบเข้าไป โดยเป็นการทวนซ้ำเพื่อเขา้ ไปตรวจสอบอีกรอบ จะทำให้เกิดความแน่ใจว่าระบบในแต่ละสว่ นนนั้ สามารถทำงานร่วมกันไดอ้ ยา่ งไม่มปี ัญหาใด ๆ ท้งั สน้ิ ดังรปู ที่ 2.3

แตก่ ็จะพบข้อเสยี อกี ประการ คอื จะมกี ระบวนการทดสอบอยทู่ ้าย ๆ ดังนัน้ หากมีกระบวนการจดั การท่ไี ม่ดีพอ ก็มี โอกาสท่ีจะต้องวนกลับไปยงั เฟสต้น ๆ ไปเรอ่ื ย ๆ จนกระทัง่ ถงึ ข้ันรวบรวมความตอ้ งการใหมเ่ ลยก็เป็นไปได้ ดังนั้น จึงจำเป็นท่ี จะต้องมีการวัดความคืบหนา้ ของการดำเนนิ งานโครงการอกี ด้วย

  1. Incremental Model เปนโมเดลท่นี ําหลกั การของโมเดลน้ำตกมาปรับปรุง โดยสวนของขั้นตอนการออกแบบจะแบงออกเปนสวนงานย

อยตู่ างๆ ของระบบงาน แตละสวนยอยจะมกี ารทดสอบดงั น้ี 1. ทดสองความถกู ตองในรายละเอยี ด (Verification) 2. ทดสอบสวนงานยอย (Unit Test) 3. ทดสอบรายละเอียดของผลติ ภณั ฑ (Product Verification) 4. ทดสอบระบบ (System Test) 5. ตรวจสอบความถกู ตองตรงความตองการ (Validation)

21

  1. Spiral Model เปน็ โมเดลที่มีลักษณะการทำงานเป็นรอบวงกลม วนเปน็ กน้ หอย ซึง่ จะวนตามเขม็ นาฬกิ า จากวงในไปส่วู งนอก โดย

ในแต่ละวงรอบน้นั จะประกอบดว้ ยขัน้ ตอนยอ่ ยทีส่ ำคญั ดังนี้ คอื 1. การวิเคราะหค์ วามตอ้ งการ 2. การวิเคราะห์ความเสีย่ ง 3. การออกแบบต้นแบบ 4. การพฒั นาตน้ แบบและการนำมาประกอบรวมกนั เมือ่ ไดป้ ฏิบัตติ าม 4 ข้อแลว้ ก็จะได้ตน้ แบบทีส่ มบูรณใ์ นแต่ละวงรอบ จากน้ันก็จะดำเนินการเช่นเดมิ ไปในเฟสต่อ ๆ

ไป ซึ่งแบบจำลองน้ีเหมาะกับระบบงานที่มโี อกาสเปลีย่ นแปลงบอ่ ย โดยความเสี่ยงที่นำมาวิเคราะห์ จะพิจารณาในด้านความ เสยี่ งของโครงการ , ความเสีย่ งของตัวผลิตภัณฑ์ และความเสย่ี งทางธรุ กจิ

  1. RAD RAD หรือ Rapid Application Developmentเป็นการพัฒนาแอพพลิเคชั่นแบบรวดเร็ว ซึ่งมักที่จะใช้เครื่องมือ

สนับสนุนอยา่ ง CASE Toolsมาชว่ ยในการพัฒนา จงึ สง่ ผลใหแ้ อพพลเิ คชนั่ ท่ีพฒั นาดว้ ยเทคนิค RADใชร้ ะยะเวลาสัน้ RAD มุ่งเน้นด้านการลดต้นทุนและระยะเวลาในการพัฒนาระบบ โดยเป็นกรรมวิธีพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ย่นระยะเวลา

ของขั้นตอนการวเิ คราะห์, ออกแบบ , สร้าง และการทดสอบ เพ่ือจะได้ลดเวลาการพฒั นาโดยรวมลง

  1. JAD

JAD หรือJoint Application Development คือ การพัฒนาแอพพลเิ คชั่นร่วมกัน ซึ่งเป็นรากฐานที่สำคัญของการ พัฒนาระบบ โดยประกอบด้วยบุคลากรในองค์กร และผู้เชี่ยวชาญทางเทคโนโลยี เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) โดยเนน้ ถึงคณุ ภาพของงานท่ีแลว้ เสร็จทีพ่ รอ้ มจะส่งมอบต่อไป

22

  1. RUP RUP หรือRation Unified Process เป็นกรรมวิธีการพัฒนาซอฟต์แวร์เชิงวัตถุ (Object Oriented System

Development Methodology)โดย RUP เป็นกระบวนการที่ผลิตขึ้นโดยบริษัท Rational Software ซึ่งเป็นบริษัทที่ผลิต ซอฟตแ์ วร์ในการทำ UML

จุดประสงค์ของ RUPเพื่อต้องการใหท้ ีมงานพฒั นาซอฟต์แวรท์ ีม่ ีคณุ ภาพสูง และตรงตามความตอ้ งการของผู้ใช้งาน ภายใต้งบประมาณและเวลาทไ่ี ด้กำหนดไว้

23

บทที่ 3 การกำหนดปัญหาและการวิเคราะหส์ ภาพปญั หาของระบบ

3.1 การกำหนดปัญหาและการวิเคราะห์สภาพปญั หาของระบบ

ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานของธุรกจิ ถือเป็นเร่ืองราวปกติ ซึ่งอาจจะประกอบด้วยปัญหาที่เลก็ น้อยไปจนถงึ

ปญั หาระดบั ใหญ่ แต่ไมว่ า่ จะเป็นปัญหาในรปู แบบใดกค็ งจะตอ้ งได้รับการแก้ไข เนือ่ งจากปญั หาต่าง ๆ อาจจะสง่ ผลกระทบต่อ

การทำงานของระบบก็เปน็ ไปได้

ดังน้ัน การวางแผนโครงการ ซึ่งจัดเปน็ ส่วนแรกที่นักพฒั นาระบบต้องทำ ซึ่งเป็นส่วนสำคญั ทีส่ ุด โดยระยะเวลาของ

การวางแผนโครงการ จะเป็นระยะเวลาทสี่ น้ั ท่สี ดุ เม่ือเทยี บกบั ส่วนการทำงานระยะอน่ื ๆ

สำหรับปัจจัย หรือแรงผลักดัน ที่ส่งผลต่อความต้องการในการพัฒนาระบบใหม่นั้น มีสาเ หตุจากหลายประการ

ตวั อยา่ งเชน่

1. ผใู้ ชง้ านร้องขอใหม้ ีการพฒั นาระบบใหม่

2. ผ้บู รหิ ารระดบั สงู ตอ้ งการพัฒนาระบบใหม่

3. เกดิ จากสภาพปัญหาและขอ้ ผดิ พลาดจากระบบงานปจั จุบนั เอง

4. เกิดแรงผลกั ดนั จากภายนอก เชน่ คแู่ ขง่ ที่มีการพฒั นาระบบไปในทิศทางทดี่ ีข้นึ จึงทำใหต้ อ้ งมีการปรบั ปรงุ ระบบ

จากคำกล่าวที่ว่า “ที่ใดไม่มีปัญหา ที่นั่นย่อมไม่มีการพัฒนา” ดังนั้นในระบบการทำงาน ไม่ว่าจะเป็นระบบธุรกิจ

หรอื ระบบใดก็ตาม ก็ต้องยอ่ มท่จี ะมีปญั หา โดยมรี ปู แบบการตรวจสอบสภาพปัญหาอยู่ 2 รูปแบบ คอื

รปู แบบ คำอธิบาย ตัวอย่าง

1. การตรวจสอบจากการ เป็นการตรวจสอบสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น จาก - การทำงานเสรจ็ สมบรู ณ์ แตล่ า่ ชา้

ปฏิบัติงานของพนกั งาน การปฏิบัติงานของพนักงานทด่ี ำเนนิ การอยูเ่ ป็น - การทำงานไม่สมบรู ณ์

ประจำ ซึ่งประกอบด้วยรายละเอียดของสภาพ - การทำงานไม่บรรลวุ ตั ถุประสงค์

ปัญหาในดา้ นตา่ ง ๆ มากมาย - การทำงานมขี ้อผดิ พลาดสูง

- การทำงานไมถ่ ูกต้อง

2. การตรวจสอบจากการ เป็นการตรวจสอบจากการสังเกตถึงพฤติกรรม - พนักงานมีความกระตือรือร้นในการ

สังเกตพฤติกรรมของพนกั งาน ของพนักงานระหว่างปฏิบัติงานว่าเป็นอย่างไร ปฏิบตั ิงานตำ่

โดยมตี วั อยา่ งรายละเอยี ดของปญั หา - พนกั งานไม่พอใจในงานท่ีดำเนนิ อยู่

อัตราการลาออกของพนักงานมสี งู

- พนักงานมีอัตราการเจบ็ ปว่ ยสูง

3.2 การกำหนดหัวขอ้ ของปัญหา หลักในการแก้ไขปัญหาท่ีดี นักวิเคราะห์ระบบควรมีการกำหนดหัวข้อของปัญหา และสาเหตุของการเกิดปัญหา ซึ่ง

สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับกรณีดังกล่าวได้เป็นอย่างดี ก็คือ การเขียนแผนภูมิก้างปลา ซึ่งมีหลายชื่อ เช่น Fishbone Diagram, Cause-and-Effect Diagram หรอื Ishikawa Diagram โดยมีรูปแบบดังรปู ที่ 3.2

24

3.2.1 วัตถุประสงคข์ องการกำหนดปัญหา 1. เลง็ เห็นความสำคญั ของการกำหนดปญั หาท่ีชดั เจน เพอ่ื นำไปสกู่ ารแก้ไขปัญหาท่ีถูกต้อง 2. ทราบถงึ ระบบงานใหม่ทจี่ ะพฒั นานน้ั ตอ้ งมกี ารศึกษาความเปน็ ไปได้ในแงม่ มุ ตา่ ง ๆ 3. ทราบถงึ ความสำคญั ของ Requirements และวิธศี ึกษาแหล่งขอ้ มลู เพือ่ หารายละเอยี ด

3.2.2 ขนั้ ตอนการดำเนนิ งานของการแกไ้ ขปัญหา 1. เปา้ หมายในการทำโครงการท้ังหมด ซึง่ จะเป็นทศิ ทางของการทำโครงการ 2. ขอบเขตของโครงการ ในการกำหนดปัญหาหรอื เข้าใจปญั หา จะต้องกำหนดกิจกรรม ของระบบงานที่ สามารถเปลีย่ นแปลงได้ 3. กำหนดส่วนของระบบงานที่อยู่นอกเหนอื ขอบเขตการทำโครงการ รวมทัง้ ข้อจำกัด เงื่อนไขต่าง ๆ ของ การทำโครงการ จำนวนเงนิ ทนุ ท่ีต้องใช้ในการจดั ทำโครงการ รวมทงั้ วนั เรม่ิ ต้นและส้ินสุดของการทำงาน ในแตล่ ะขน้ั ตอนอย่างครา่ ว ๆ และจำนวนบคุ ลากรทีค่ าดวา่ จะตอ้ งใชใ้ นแต่ละขั้นตอนด้วย

3.2.3 ตัวอย่างการกำหนดปัญหา ของระบบงานลงทะเบยี น ตวั อยา่ งระบบงานลงทะเบียนของมหาวิทยาลัยแหง่ หน่ึง มีการดำเนนิ การลงทะเบียนดงั น้ี

1. นักศึกษาขอรับเอกสารลงทะเบยี นจากฝ่ายทะเบยี น 2. นักศกึ ษากรอกข้อมลู การลงทะเบียน 3 ใบ 3. นักศึกษานำเอกสารทง้ั 3 นำใหผ้ ู้ลงนามดงั น้ี

3.1 อาจารย์ที่ปรึกษา 3.2 คณบดี 3.3 ผู้ปกครอง 4. นกั ศึกษานำเอกสารทั้ง 3 ไปจดุ ชำระเงนิ เพ่ือทำการชำระเงนิ ทฝ่ี า่ ยทะเบยี น จากนัน้ ฝา่ ยทะเบยี นจะ เก็บเอกสารต้นฉบับไว้จำนวน 1 ชุด 5. นกั ศึกษานำใบลงทะเบยี น (ตัวสำเนา) ไปใหอ้ าจารยท์ ่ีปรกึ ษา 1 ชุด และเกบ็ ไวท้ ต่ี นเอง 1 ชุด จากสภาพปญั หาข้างตน้ สามารถสรุปปัญหาออกมาได้ดงั น้ี 1. มนี ักศกึ ษาจำนวนมาก 2. เอกสารจำนวนมาก 3. นักศกึ ษาลงทะเบยี นเรียนผิดพลาด 4. อาจารยใ์ ห้คำปรกึ ษาไมท่ ัว่ ถึง 5. การชำระเงิน 6. ใชเ้ วลานาน 7. บคุ ลากรไม่เพียงพอ

25

3.3 การเขียนแผนภมู กิ า้ งปลา แผนภูมิก้างปลา หรือเรียกอีกอย่างว่า ผังอิชิกาวา ใช้เพื่อหาสาเหตุของปัญหาอันก่อให้เกิดผล โดยปกติจะใช้เปน็

เครื่องมือในการประชุมระดมความคิดจากระดับหัวหน้างานและคนงาน ผังก้างปลามีลักษณะคล้ายก้างปลา กล่าวคือที่ปลาย ด้านหนง่ึ จะเปน็ ผลทก่ี ำลงั ประสบอยู่ และในสว่ นของกา้ งท่ีแตกกิง่ ออกไปจะแทนปัจจัยหรอื สาเหตตุ า่ งๆ ทท่ี ำให้ เกดิ ผลอันนั้น ข้ึน

3.3.1 ข้ันตอนการสร้างแผนภูมิก้างปลา

1. ชีบ้ ง่ ปัญหาหรอื ผลกระทบท่กี ำลังประสบอย่อู ย่างชัดเจน

2. วางเป้าหมายทอี่ งคก์ รต้องการ โดยจะอยูใ่ นรปู ท่สี ามารถวดั ผลไดแ้ ละอยใู่ นขอบเขตเวลาท่กี ำหนด ทง้ั นเี้ พ่ือให้การ

แกไ้ ขปัญหามีจดุ ม่งุ หมายสคู่ วามสำเรจ็

3. จัดทำโครงสรา้ งของผังเบือ้ งตน้ ช่วยใหเ้ กดิ ความคิดสร้างสรรค์และคดิ อย่างเป็นระบบ

การสร้างแผนภูมกิ า้ งปลา โดยอาจจะกำหนดต้นเหตสุ ำคัญแยกเป็น 5 หวั ขอ้ ใหญ่ ดังนี้

▪ ผลติ ภณั ฑ์ หรือบรกิ าร ซง่ึ รวมถึงวตั ถุดิบและวัสดุคงคา้ งระหว่างการผลิต

▪ ขบวนการ หรือวิธกี ารแปลงสภาพวตั ถุดิบเป็นสนิ คา้ สำเร็จรูป

▪ เครือ่ งจกั ร หรอื อุปกรณ์ท่ีใช้ในขบวนการแปลงสภาพ

▪ โปรแกรมหรือตารางเวลา ในการสัง่ ซือ้ , การผลิต, และการแปลงสภาพ

▪ บคุ ลากร ทั้งจากภายในและภายนอก

▪ หลังจากนน้ั ทำการหาสาเหตุทแ่ี ทจ้ ริงในแต่ละกิง่ โดยสามารถที่จะแตกตัวออกไปไดเ้ รอ่ื ยๆ จนถึงจุดซ่งึ เป็นมูลเหตุอนั

แท้จริงของปญั หานัน้

โดยมหี ลักการท่สี ำคัญในการเขยี นแผนภมู กิ ้างปลา ดังน้ี

หลักการสำคัญ คำอธิบาย

เขยี นหวั ข้อปญั หาใหม้ ีความชดั เจน กระชับ และ เพื่อจะได้นำสาเหตุ เหล่านั้นไปแก้ปัญหาได้ตรงจุด เช่น หัวข้อปัญหา

เฉพาะเจาะจง “วตั ถุดิบส่งมาไม่ทันใชง้ าน”เราจะเห็นวา่ วัตถุดิบในการผลิตมเี ป็นร้อยๆ

ชนิด ควรจะระบุไปเลยว่า วัตถุดิบชนิดไหนที่เป็นปัญหา หรือสัง่ มาจาก

ผู้ขายรายใดทเ่ี ปน็ ปัญหา เพ่ือให้เกดิ ความชดั เจนมากข้นึ

เขียนกระดูกสันหลังของปลาเป็นเส้นตรง ชี้ไปท่ี แล้วเริ่มเขียนสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดปัญหานั้น ทั้งด้านบนและด้านล่าง

หัวข้อปญั หา ของเส้นกระดูกสันหลัง โดยมุ่งประเด็นของสาเหตุหลักไปทีค่ น วัตถุดิบ

เครื่องมือ/เครื่องจักร และวิธีการทำงาน พร้อมกับเขียนเส้นก้างหลัก

จากสาเหตุหลักชต้ี รงไปท่เี สน้ กระดกู สนั หลงั

26

เขียนสาเหตุรองที่เป็นต้นตอของสาเหตุหลัก โดยเขียนให้อยู่ทางด้านซ้ายและขวาของเส้นก้างหลักแต่ละเส้น พร้อม

เหลา่ นั้น กบั เขียนเส้นก้างรองทเี่ กดิ จากสาเหตรุ องช้ีตรงไปยงั เสน้ กา้ งหลัก

เขียนสาเหตุย่อยที่เป็นต้นตอทำให้เกิดสาเหตุ โดยเขียนทั้งด้านบนและ ด้านล่างของเส้นก้างรองแต่ละเส้น พร้อมกับ

รองแตล่ ะอัน เขียนเส้นก้างย่อยจากสาเหตุย่อยชี้ตรงไปที่เส้นก้างรอง เสร็จแล้วให้

ช่วยกันทบทวนว่า ในการเขียนสาเหตุต่างๆ มีความสัมพันธ์และ

สอดคลอ้ งกนั ตามลำดบั ข้ันถูกตอ้ งแลว้ หรือไม่

27

3.4 การนำเสนอรปู แบบของปญั หา ดว้ ยถอ้ ยแถลงของปัญหา ถ้อยแถลงของปญั หา (Problem Statement) เป็นการนำเสนอรูปแบบของปญั หาอีกรูปแบบหนึง่ โดยจะเนน้ ให้

ทราบถึงสภาพปัญหาด้วยข้อความแบบยอ่ โดยการม่งุ เน้นทค่ี วามกระชับและชดั เจน โดยประกอบด้วยรายละเอียดดงั นี้ ▪ รายละเอยี ดของปัญหา ▪ วัตถุประสงค์ ▪ ขอบเขตของระบบ ▪ ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะได้รับ ▪ ความสามารถของระบบ

ปัญหาที่สรุปได้ จะนำมายื่นเสนอแก่ผู้บริหารหรือเจ้าของธุรกิจ เพื่อชี้แจงปัญหาและความต้องการของระบบ และ เพื่อท่จี ะพัฒนาระบบใหมข่ ้นึ ซงึ่ คำชีแ้ จง จะตอ้ งระบุในส่งิ ทต่ี อบคำถามเหล่าน้ไี ด้

▪ ปญั หาและความเปน็ ไปได้ในการพัฒนาระบบงานใหม่ ▪ ขนาดของระบบที่ตอ้ งการ ▪ ทางเลือกที่เป็นไปได้ในการแก้ปัญหา ▪ ต้นทนุ ทีต่ ้องลงทุน ▪ ประโยชนท์ ่จี ะได้รับ

28

ตัวอยา่ ง การจดั ทำถ้อยแถลงของปัญหา บรษิ ทั เชา่ รถ

รายละเอียดของปัญหา เนื่องด้วยกระบวนการทำงานที่มีอยู่ในปัจจุบันของระบบงานเช่ารถ ยังคงเป็นการประมวลผลด้วยมือเป็นหลัก

ถึงแม้จะมีคอมพิวเตอร์มาช่วยในการจัดการข้อมูล แต่ก็ยังดูไม่เป็นระบบเท่าที่ควร ลูกค้าที่เข้ามาใช้บริการยังได้รับการ บรกิ ารชา้ และเม่ือมลี กู คา้ เขา้ มารับบรกิ าร ยงั คงตอ้ งใช้เวลาในการตรวจสอบข้อมลู อยู่นาน รวมถึงระบบเดมิ ยังไม่สามารถ ตรวจสอบประวัตลิ กู ค้าในการเข้าใช้บริการได้ และมปี ญั หาเร่ืองการสมัครบรกิ ารลกู คา้ ซ้ำซ้อน

วัตถปุ ระสงค์ - เพอ่ื ลดความซ้ำซ้อน และทำให้ขน้ั ตอนกระชบั มากขึ้น - เพอ่ื ให้มกี ารจัดการข้อมลู ถูกตอ้ งอย่างเป็นระบบ - เพอื่ ให้มกี ารจัดทำรายงานได้อยา่ งอัตโนมตั ิ และสามารถนำเสนอผบู้ รหิ ารได้อย่างทนั เวลา

ขอบเขตของระบบ มีการออกแบบและพฒั นาระบบ ดังน้ี - ระบบการจดั การสมาชิก - ระบบขอ้ มูลรถ - ระบบเช่ารถ - ระบบคนื รถ - ระบบข้อมลู พนกั งาน - การออกรายงานต่าง ๆ โดยมีการพฒั นาในรูปแบบระบบออนไลน์ ใหล้ กู ค้าสามารถเขา้ มาตรวจสอบขอ้ มลู รถท่ียงั คงเหลอื ให้เชา่ ได้ หรือ

แม้กระทงั่ การตรวจสอบแบลค็ ลสิ ตข์ องตนเอง รวมถงึ สถานะต่าง ๆ ของตนเองได้

ประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะไดร้ บั - ระบบทำงานไดม้ รี ะเบยี บมากยง่ิ ขน้ึ - ข้อมูลมีความถูกต้อง และมีความน่าเชอ่ื ถอื มากยง่ิ ขน้ึ - ระบบการค้นหา ทำงานไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพมากย่ิงข้นึ

ความสามารถของระบบ - สามารถบันทกึ และคำนวณเงินไดอ้ ตั โนมตั ิ - สามารถพิมพร์ ายงานไดท้ ันที - ระบบสนับสนุนการจองผา่ นระบบอินเทอร์เน็ต - สามารถทำการตรวจสอบขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็

29

3.5 การศกึ ษาความเป็นไปได้

หลังจากท่ีรวบรวมและสรุปปัญหาต่าง ๆ ของระบบแล้ว ขั้นตอนถัดมาคือศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการท่จี ะทำ

ว่าเปน็ ไปได้มากนอ้ ยเพียงใด ซง่ึ มหี ัวข้อพจิ ารณาดงั นี้

  1. ความเป็นไปได้ทางเทคนิค (Technical Feasibility) คือ ความเปน็ ไปไดท้ างเทคโนโลยีปัจจุบัน ว่าจะนำมาใช้

กับระบบได้หรือไม่ ตวั อย่างเช่น

▪ ตรวจสอบว่าจำเป็นจะต้องจัดหาอุปกรณใ์ หม่หรือไม่

▪ อปุ กรณ์ที่มีอยู่ สามารถนำมาใช้ไดห้ รือไม่

▪ อุปกรณ์ทจี่ ดั หามา รองรับเทคโนโลยีอนาคตหรอื ไม่

▪ ตรวจสอบในเร่ืองความเข้ากนั ได้ของฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์

▪ ระบบ หรือ อปุ กรณ์ สามารถรองรบั การขยายตัวของธุรกิจในอนาคตหรอื ไม่

▪ ควรมกี ารกำหนดประสิทธิภาพ หรือ สเป๊ก ของอปุ กรณอ์ ย่างชดั เจน

  1. ความเปน็ ไปได้ในการปฏิบตั งิ าน (Operational Feasibility) คือ

▪ ความเปน็ ไปไดข้ องระบบวา่ เมอ่ื ใชแ้ ล้วจะสนองความต้องการท่มี ีหรือไม่

▪ รวมทงั้ ทศั นคติในการใชง้ าน หรอื การยอมรบั ของระบบใหม่

▪ จะเกดิ ผลกระทบต่อลกู คา้ ทเ่ี ข้ามาหลังจากมรี ะบบใหม่หรอื ไม่

▪ ระบบใหมส่ ่งผลตอ่ จำนวนพนักงานใหเ้ พ่ิมขึ้น หรอื ลดลง กว่าเดิมหรือไม่

นอกจากการพจิ ารณาในเรอ่ื งดงั กลา่ วแล้ว ระบบใหมค่ วรมกี ารสนบั สนนุ ยุทธศาสตรอ์ งคก์ ร 3 ดา้ นดว้ ยกนั คอื

การสนับสนุนยุทธศาสตรอ์ งคก์ ร คำอธิบาย

ดา้ นผลผลิต เป็นการสนบั สนุนด้านการเพ่ิมผลผลติ และลดตน้ ทนุ ของการผลติ

ด้านความแตกตา่ ง ระบบใหม่ท่ีพฒั นากอ่ ให้เกดิ ความแตกต่างด้วยการเปรียบเทียบกับระบบงานเดิม

หรอื จากคู่แขง่ ขัน อย่างไรบา้ ง

ดา้ นการจดั การ ระบบใหม่ช่วยสนับสนุนผู้บริหารให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น

ระบบสารสนเทศทำให้การวางแผน ตัดสินใจ และการควบคุม สามารถดำเนินได้

อย่างสะดวกมากยิ่งขึ้น หรือไม่ อยา่ งไร

  1. ความเปน็ ไปไดใ้ นเชงิ เศรษฐศาสตร์ (Economical Feasibility) ความเป็นไปได้ในเชิงเศรษฐศาสตร์ มักจะ เรียกว่า การวเิ คราะหต์ น้ ทนุ และผลกำไร โดยทำการวเิ คราะห์กระแสเงนิ สด โดยประเมินจากผลกระทบทางการเงิน 4 ประเภท

▪ ตน้ ทนุ การพัฒนาระบบ ▪ ต้นทนุ การปฏบิ ัติงาน ▪ ผลตอบแทนที่สามารถประเมนิ ค่าได้ ▪ ผลตอบแทนทไ่ี มส่ ามารถประเมินคา่ ได้

การศึกษาความเปน็ ไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ โดยทวั่ ไปพิจารณาจากผลตอบแทนทไ่ี ด้รับเม่ือเทยี บกับต้นทนุ ท่ใี ช้ในการ พฒั นาระบบ และระบบนจี้ ะตอ้ งใชไ้ ปนานเท่าไหร่ จึงจะคุ้มทุน โดยมีขอ้ ทีจ่ ะตอ้ งพิจารณาดงั น้ี

  1. การพจิ ารณาผลตอบแทน (Benefit) เป็นการพิจารณาในแง่ของความคุ้มค่าของระบบธุรกิจ ผลตอบแทนคือกำไรที่ได้จากการดำเนินการพัฒนา

ระบบ โดยแบง่ เปน็ 2 รูปแบบ คือ

30

รปู แบบผลตอบแทน คำอธิบาย ตวั อย่าง ผลตอบแทนทจ่ี บั ตอ้ งได้ เป็นผลตอบแทนที่สามารถประเมินค่าได้ * ผลกำไรทเี่ พ่มิ มากขึ้น ผลตอบแทนทจี่ ับตอ้ งไมไ่ ด้ หรอื วัดออกมาเปน็ ตวั เงินได้ * ตน้ ทุนต่อหน่วยลดลง

เป็นผลตอบแทนที่ยากต่อการประเมินค่า * ภาพลักษณ์ของบรษิ ัททดี่ ขี น้ึ

ออกมาในรูปแบบตัวเงนิ

  1. การพจิ ารณาต้นทนุ (Cost)

การพัฒนาระบบเป็นการลงทุนที่มคี ่าใช้จ่ายหรอื ต้นทุนในตอนเริ่มต้น ค่าใช้จ่ายท่ีเกดิ ขึ้นมีรูปแบบต่าง ๆ เช่น การ

บำรงุ รกั ษา , ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกบั วัสดสุ นิ้ เปลอื ง จงึ มหี ลากหลายแงม่ ุมทจี่ ะต้องนำมาพิจารณารว่ มกนั ดงั น้ี

2.1 ประเภทตน้ ทนุ

รูปแบบตน้ ทุน คำอธบิ าย / ความหาย ตวั อย่าง

ต้นทุนท่จี ับตอ้ งได้ ต้นทุนที่ประเมินค่าหรือวัดออกมาเป็นตัว ค่าจัดซื้ออุปกรณ์ ค่าแรงงาน ค่า

เงินได้ ไฟฟ้า เปน็ ตน้

ต้นทนุ ทีจ่ ับต้องไมไ่ ด้ ต้นทุนที่ยากต่อการประเมินมูลค่าออกมา เวลาท่ีตอ้ งใช้พัฒนาระบบ

เป็นตัวเงิน

2.2 ลกั ษณะค่าใชจ้ ่ายตน้ ทนุ คำอธบิ าย / ความหาย ตัวอย่าง รปู แบบตน้ ทนุ ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในตอนเริ่มโครงการ ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาระบบ , ค่า ตน้ ทุนทเ่ี กิดข้ึนครง้ั เดยี ว เทา่ นั้น หรอื เกดิ เมอ่ื ใช้งานระบบใหม่ ซื้อฮาร์ดแวร์ , ค่าศึกษาระบบ เป็น ต้นทนุ ทีเ่ กิดข้นึ ครั้งแล้วครง้ั เลา่ ต้น

ต้นทุนที่เกิดขึ้นครั้งแล้วครั้งเล่า เป็น วัสดุสิ้นเปลือง , ค่าเงินเดือน

ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นตลอดการพัฒนาระบบ พนกั งาน, คา่ บริการส่ือสารตา่ ง ๆ

หรือขณะใช้งานระบบ

2.3 ปรมิ าณต้นทนุ คำอธบิ าย / ความหาย ตัวอยา่ ง รูปแบบต้นทุน ต้นทุนที่มีค่าใช้จ่ายที่ไม่เปลี่ยนแปลงไป เงนิ เดอื นพนกั งาน, ค่าเช่าสำนักงาน ตน้ ทุนคงท่ี ตามการใช้งาน หรือมีการเปลี่ยนแปลง เป็นต้น ตน้ ทุนแปรผนั นอ้ ยมาก

ค่าใช้จ่ายที่เปลี่ยนแปลงไปตามการใช้งาน ค่าบริการด้านสาธารณูปโภค (ค่า

จริง โทรศัพท์, ค่าน้ำ, ค่าไฟฟ้า) หรือค่า

เดนิ ทางต่าง ๆ เป็นตน้

การศึกษาความเป็นไปได้ด้วยการวเิ คราะหก์ ระแสเงินสด (Cash Flow) โดยปกติแลว้ จะมีการทำเสนอเป็นรายปี โดย จะทำเฉลี่ยอยู่ในช่วง 3 – 5 ปี โดยเป็นการวิเคราะห์เพื่อหาทิศทาง ขนาด และรูปแบบของเงินลงทุนที่นำมาใช้กับการพัฒนา ระบบในแต่ละปที ี่ได้มกี ารลงทนุ ไป ว่าจะได้รบั ผลตอบแทนกลบั มาเทา่ ไหร่ และนานแคไ่ หน

31

3.6 การวางแผนควบคุมกิจกรรม ในการวิเคราะห์ระบบ จะประกอบด้วยกิจกรรมต่าง ๆ มากมาย ดังนั้น นักวิเคราะห์ระบบจะต้องดำเนินการจัด

โครงการอย่างระมัดระวัง เพื่อให้โครงการบรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้ โดยการวางแผนที่ประกอบด้วยกิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้มี การมอบหมายและแจกจา่ ยงานใหก้ ับทีมงานเพื่อใหง้ านต่าง ๆ ท่ีวางไว้สำเรจ็ ตามทก่ี ำหนด

ขณะที่การควบคุม เป็นการตรวจสอบผลสะท้อนในโครงการที่ได้วางแผนไว้กับการปฏิบัติงานจริงของทีมงาน ซึ่ง นักวิเคราะห์ระบบจำเป็นจะต้องทำการควบคุมให้ทีมงานทำตามแผนการที่กำหนดไว้ โดยสามารถจัดทำขึ้ นได้ด้วยการใช้ เทคนิค แกนต์ชาร์ต ดงั รูปท่ี3.6

32

แผนภูมิแกนต์ เป็นแผนภูมิที่มกี ารใช้งานมาอย่างยาวนาน โดยเป็นเครื่องมือในการวางแผนและกำหนดเวลาในการ ทำงานของโครงการ เป็นแผนภูมิที่ใช้ง่าย ไม่สลับซับซ้อน ซึ่งปัจจุบัน ยังคงนิยมนำแผนภูมินี้มาใช้เพื่อวางแผนโครงการ แต่ แผนภูมิก็จะไม่ได้แสดงความสมั พันธ์ระหว่างงานอย่างชัดเจน และไม่สามารถบอกไดว้ ่างานที่ปฏิบตั กิ ารลา่ ช้า จะมีผลกระทบ ต่อโครงการอย่างไร ดังน้นั โครงการขนาดใหญท่ มี่ รี ะบบงานที่มีการกระจายเปน็ ระบบย่อย ๆ และมีจำนวนมาก รวมถงึ ขน้ั ตอน การดำเนนิ งานทซี่ บั ซอ้ น จงึ มักนำเทคนคิ ของเพิร์ต (PERT) และซีพีเอม็ (CPM) มาประยุกตก์ ารใช้งานมากกว่า

3.7 การบริหารโครงการ โครงการ คือ กิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกัน มีขั้นตอนที่ยุ่งยาก แต่จะมีเป้าหมายหรือจุดประสงค์ที่ชัดเจน โครงการจะมี

การกำหนดเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุด รวมถึงการดำเนินการโครงการจะต้องอยู่ภายใต้ข้อจำกัด ไม่ว่าจะเป็นด้านของเวลา งบประมาณ และทรัพยากร โดยรูปแบบการจัดทำโครงการจะต้องมีการบริหารโครงการ ซึ่งจัดเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดต่อ ความสำเรจ็ ในโครงการ

3.7.1 สาเหตสุ ำคญั ท่สี ง่ ผลต่อความเหลวในโครงการพัฒนาซอฟตแ์ วร์ ▪ ขาดการศกึ ษาความเป็นไปได้ทด่ี ีพอ ▪ ความต้องการท่รี วบรวมมาไมม่ คี วามสมบรู ณ์ ▪ ขาดการประสานงานทดี่ ีพอ ▪ ขาดการควบคมุ ทดี่ ีพอ ▪ ผใู้ ช้ไม่ยอมรับระบบใหม่ ▪ ระบบใหมท่ ำงานผิดพลาดบอ่ ยครง้ั ▪ ความไม่ชำนาญ หรือ ประสบการณใ์ นการวิเคราะห์ของนกั วเิ คราะห์ระบบยงั ไม่มากพอ ▪ ผ้บู ริหารไมม่ ีนโยบายทีช่ ดั เจน ซ่ึงกอ่ ให้เกิดความเปล่ยี นแปลงต่อความตอ้ งการตลอดเวลา

3.8 การจดั ทำPERTและ CPM 3.8.1 แผนงาน PERT PERT เป็นแผนงานที่สามารถแสดงภาพรวมของโครงการด้วยข่ายงาน โดยแสดงกิจกรรมต่าง ๆ ในโครงการ ลำดับ

การทำงาน และความสมั พันธ์ระหวา่ งกจิ กรรมต่าง ๆ ท้งั นี้มวี ัตถปุ ระสงค์เพ่อื (สัญลกั ษณ์ทใ่ี ช้ในการสร้าง PERTแสดงดังตาราง ที่ 3.2)

1. วางแผนโครงการ 2. ควบคุมโครงการ

33

3. บริหารทรัพยากร 4. บริหารโครงการ ตารางที่ 3.2 แสดงสัญลักษณท์ ใี่ ชใ้ นการสรา้ ง PERT

ตวั อย่างการสรา้ ง PERT

34

ตวั อยา่ งการคำนวณหาสายงาน

3.8.2 สายงานวกิ ฤต (Critical Path) สายงานวิกฤต คือ สายงานที่มีระยะเวลารวมยาวนานที่สุด ซึ่งพิจารณาจากรูปที่ 3.8 สายงานวิกฤต คือ

สายที่ 2 เน่ืองจากมรี ะยะเวลารวม 5 สัปดาห์

35

บทท่ี 4 การวิเคราะหค์ วามต้องการ

4.1 รปู แบบของการวเิ คราะหร์ ะบบ กจิ กรรมท่สี ำคญั ของระยะการวิเคราะห์ คือ “การศึกษาระบบงานเดมิ ” ว่ามกี ารดำเนินการอยา่ งไร โดยประกอบไป

ดว้ ย 3 กจิ กรรมหลัก คือ

  1. ทำความเขา้ ใจกับระบบงานเดิม
  2. กำหนดสงิ่ ท่ีตอ้ งการปรับปรุงเพิม่ เติม
  3. พัฒนาแนวความคดิ สำหรับระบบงานใหม่

4.2 การรวบรวมความตอ้ งการ หน้าที่สำคัญของนักวิเคราะห์ระบบและทีมงานที่จะต้องดำเนินการ คือ การเข้าไปค้นหาความต้องการของผู้ใช้ ซึ่ง

ขั้นตอนของการค้นหาความต้องการและการจดบันทึกความตอ้ งการนั้นไม่ใช่สิง่ ท่ีง่าย เนื่องจากทีมงานจะต้องเข้าไปพบพูดคยุ กบั บคุ คลท่ีอาจจะไม่รจู้ กั เพ่อื คน้ หาขอ้ มลู และความต้องการ

หลักการที่ทำให้นักวิเคราะห์ระบบสามารถค้นหาความต้องการให้มีความชัดเจนขึ้น จำเป็นต้องมีแนวทางในการ จดั การบคุ คลท่เี กีย่ วขอ้ ง ซงึ่ ประกอบด้วย

Who What When Where Why How

โดยหากข้ันตอนรวบรวมความต้องการมีความไม่ชดั เจน ก็จะส่งผลให้มีผลกระทบต่อเนื่องไปยังขั้นตอนอ่ืน ๆ ต่อไป โดยผู้ใชจ้ ะต้องให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูล เพื่อให้ตรงกับวัตถุประสงค์มากยิ่งขึ้น ดังนั้น บทบาทของผู้ใช้ จึงเป็นสิ่งสำคัญ อย่างมากในการได้ขอ้ มลู ทถ่ี กู ต้อง โดยผใู้ ช้ทด่ี ี ควรมคี ณุ สมบตั ดิ ังนี้

  1. สามารถอธบิ ายข้นั ตอนการทำงานของระบบได้
  2. สามารถชแ้ี จงสภาพปัญหาของระบบได้
  3. สามารถระบคุ วามต้องการของระบบใหม่ได้
  4. ควรจดั เตรียมเอกสาร รายงานทีเ่ กีย่ วข้องให้กับนกั วิเคราะห์ระบบ
  5. ใหค้ วามร่วมมอื แกน่ ักวิเคราะห์ระบบ
  6. มีสว่ นร่วมในโครงการ การพฒั นาระบบใหม่

36

4.3 ชนิดของความตอ้ งการ 4.3.1 ความต้องการท่ีเป็นฟังก์ช่นั การทำงาน คอื กจิ กรรมท่ีระบบต้องปฏบิ ตั ิ โดยเป็นขนั้ ตอนการทำงานที่ประกอบ

ไปดว้ ยกิจกรรมตา่ ง ๆ ท่ีเกย่ี วข้องกบั การปฏบิ ัติงาน โดยแตล่ ะกิจกรรมจะก่อให้เกิดผลการดำเนินงานออกมา โดยปกติจะอยใู่ น รูปแบบของกริยา โดยหมายถึงส่งิ ทรี่ ะบบควรจะทำ หรือหน้าที่หลักของระบบ ตวั อยา่ งเชน่

- ระบบสามารถคำนวณคำนวณเงนิ เดือนได้ - ระบบสามารถคำนวณคา่ คอมมิชชั่นได้ - ระบบสามารถคำนวณภาษไี ด้ - ระบบสามารถพมิ พส์ ลิปเงินเดือนพนกั งานได้ ดังนั้น จะเห็นว่า ความต้องการที่เป็นฟังก์ชั่นการทำงานนั้น จะตั้งอยู่บนพื้นฐานของการทำงานและกฎเกณฑ์ของ ระบบ โดยเปน็ ฟงั กช์ ่ันท่เี ก่ยี วข้องกบั - กล่าวถึงเอาตพ์ ตุ ทีอ่ อกจากระบบ - อนิ พตุ ทเ่ี ข้าไปในระบบ - ระบบการคำนวณ 4.3.2 ความต้องการที่ไม่ได้เป็นฟังก์ชั่นการทำงาน คือ ความต้องการที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดคุณภาพในการ ทำงานของซอฟต์แวร์ โดยเป็นการปฏิบัติการเพื่อให้บรรลุจุดประสงค์ในทุก ๆ ด้านที่เกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อม ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวรข์ ององค์กร โดยจะกลา่ วถงึ เรื่องดงั ต่อไปนี้ - ความสามารถในการใชง้ าน - ประสทิ ธิภาพของระบบ - ความนา่ เชื่อถอื ของระบบ - ความงา่ ยของระบบในการใช้งาน - ความง่ายในการเคลอ่ื นย้ายไปสทู่ รัพยากรใหม่ ๆ

4.4 ความตอ้ งการของผใู้ ช้ (User Requirement) ความต้องการของผู้ใช้ คือ ลักษณะและองค์ประกอบที่จะต้องรวมอยู่ในระบบที่จะทำให้ระบบทำการผลิต

สารสนเทศให้ตรงกับความตอ้ งการ โดยจำแนกออกไดเ้ ปน็ 3 ลักษณะ ดังน้ี

ลักษณะความตอ้ งการ รายละเอียด / ตวั อยา่ ง

1. ความต้องการที่เกี่ยวกับหน้าที่ของระบบ (Functional 1.1 คำบรรยายเก่ียวกับการประมวลผลซ่ึงระบบจะตอ้ งทำ

Requirement) 1.2 รายละเอียดเกยี่ วกบั ข้อมลู ทีจ่ ะป้อน เข้าสู่ระบบ

1.3 รายละเอียดเกี่ยวกบั ผลลพั ธ์

1.4 รายละเอียดเกย่ี วกับเวลาทต่ี อ้ งใช้ในระบบ

1.5 รายละเอยี ดเก่ยี วกบั การควบคมุ

2. ความต้องการที่ไม่เกี่ยวกับหน้าที่ของระบบ (Non- แต่มีความสัมพันธ์กับหน้าที่ของระบบ ทำให้ได้มาซึ่งความ

Functional Requirement) ตอ้ งการท่เี กี่ยวกับ หนา้ ทีข่ องระบบ ไดแ้ ก่

2.1 เกณฑ์ในหารปฏิบตั ิงาน (Performance Criteria) เชน่

เวลาในการตอบสนองในการแกไ้ ขข้อมูลในระบบ หรือ การ

รับขอ้ มูลจากระบบ

37

ลักษณะความต้องการ รายละเอยี ด / ตัวอยา่ ง

2.2 ปริมาณข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลที่จะต้อง

รวบรวม หรอื เกบ็ ไวใ้ นระบบ

2.3 ความปลอดภยั ของระบบ

3. ความต้องการเกี่ยวกับความสามารถในการใช้งาน 3.1 ลกั ษณะผู้ใช้ที่จะใช้ระบบ

(Usability Requirement) 3.2 งานที่ผู้ใช้จะต้องทำ รวมทั้งเป้าหมายทีเ่ ขาจะพยายาม

บรรลุ

3.3 ปัจจัย หรือสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการใช้

ระบบ เกณฑ์ที่ยอมรับได้ ซึ่งผู้ใช้จะใช้ในการตัดสินเมื่อนำ

ระบบไปใช้

4.5 แนวทางการศึกษาความต้องการของผู้ใช้ระบบ ในการศึกษาความต้องการของผู้ใช้ จะต้องศึกษางานปัจจุบันที่องค์กรใช้อยู่แล้ว และทำความเข้าใจให้ได้ว่า

ระบบงานปัจจบุ ันทำงานอยา่ งไร

แหลง่ ขอ้ มลู (Data Source) ทำใหท้ ราบว่า ทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษาความต้องการ 1. ผู้ใช้ระบบ (Users) · กจิ กรรมของระบบปจั จุบัน * เป็นแหล่งขอ้ มูลทีส่ ำคญั ทส่ี ดุ · จดุ มุ่งหมายและความต้องการของผูใ้ ช้ 2. แบบฟอรม์ (Form) · มีขอ้ มูลอะไรบ้างที่ต้องใชใ้ นระบบ · ขอ้ มลู ใดควรจะตดั ออก 3. รายงาน (Report) · ขอ้ มลู ใดบา้ งท่ีจะนำมาใช้ในการออกแบบรายงานนน้ั · ขอ้ มลู ใดบ้างทีจ่ ะต้องนำมาจากแฟม้ ขอ้ มลู 4. คูม่ อื การปฏบิ ัติงาน (Procedure Manual) · ขอ้ มูลใดบา้ งทีไ่ ม่ได้นำมาจากแฟ้มข้อมูล 5.เอกสารประกอบระบบ (System Document) · ขน้ั ตอนและกจิ กรรมที่ผูป้ ฏบิ ัติงานจะต้องทำ · จุดม่งุ หมายและขอบเขตของระบบ 6. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer Programs) · การออกแบบระบบ · การออกแบบโปรแกรม · โครงสร้างข้อมูล · การประมวลผล

4.6 รูปแบบวิธีการเก็บรวบรวมความตอ้ งการ โดยใช้เทคนคิ การค้นหาข้อเท็จจริง 2 ประเภท คอื

  1. การศึกษาจากตวั อยา่ งเอกสาร แบบฟอร์มตา่ งๆ เช่น โครงสร้างองค์กร แบบประเมินผลการปฏบิ ตั งิ าน
  2. การสัมภาษณ์เจ้าของโครงการ ผู้ประสานงานโครงการ เจ้าหน้าที่ธุรการ และบุคลากรสายวิชาการทั้งที่เป็น ข้าราชการและพนักงานมหาวิทยาลยั ซึ่งเปน็ ผู้ใชร้ ะบบ

38

ตารางท่ี 4.1 ตัวอย่างการเกบ็ รวบรวมข้อมูลจากมหาวทิ ยาลัยแหง่ หนึง่

ลำดบั ผใู้ ห้สัมภาษณ์ ตำแหน่ง ความเกีย่ วขอ้ งกับ ระบบ 1 ผศ.ดร.โปรดปราน บณุ ยพกุ กณะ รองคณบดดี า้ นสารสนเทศ เจ้าของโครงการ 2 อ.ดร.อภสิ ทิ ธ์ิ สขุ จร บุคลากรสายวิชาการ (ขา้ ราชการ) ผู้ช่วยคณบดดี ้านสารสนเทศ ผปู้ ระสานงาน โครงการ 3 นางพรพมิ ล ชัยรัตนากร เจ้าหน้าท่ีธุรการ ผู้ใช้ระบบ 4 นางนฤมล ศรีตระกลู เจา้ หน้าทีธ่ รุ การ ผู้ใชร้ ะบบ 5 รศ.ศรีศักด์ิ จตุรชยั บคุ ลากรสายวชิ าการ (ข้าราชการ) ผูใ้ ชร้ ะบบ 6 รศ.ดร.สมชาย ศรปี ระสทิ ธ์ิ บุคลากรสายวิชาการ (ขา้ ราชการ) ผใู้ ช้ระบบ 7 รศ.ดร.ทฤตชัย ใจสมทุ ร บุคลากรสายวชิ าการ (ข้าราชการ) ผู้ใช้ระบบ 8 ผศ.ดร.ชัยยศ สมศกั ดิ์ศรี บคุ ลากรสายวชิ าการ(พนกั งาน ผู้ใช้ระบบ มหาวิทยาลยั )

จากตารางที่ 4.1 เป็นตัวอย่างตารางการเก็บข้อมูลของบุคคลที่นักวิเคราะห์ระบบจะต้องไปสัมภาษณ์เพื่อขอข้อมูลต่าง ๆ ท่ี ต้องการ โดยการสัมภาษณจ์ ะใช้ตัวอยา่ งเอกสารประกอบการสมั ภาษณเ์ พื่อเปน็ การกำหนดข้นั ตอนการสมั ภาษณแ์ ละจดบนั ทกึ ผลการสัมภาษณ์

4.7 หลักในการคน้ หาความตอ้ งการทด่ี ี

  1. ค้นหากบั บคุ คลท่เี กย่ี วขอ้ งโดยตรง
  2. ควรระบคุ วามต้องการต่าง ๆ ลงในรปู แบบของเอกสาร และมีการทำข้อตกลงร่วมกนั ทุกครัง้
  3. Requirement ท่ดี ี จะต้องตกลงรว่ มกนั ทัง้ สองฝา่ ย อยา่ คดิ วเิ คราะห์ หรือออกแบบดว้ ยความต้องการของตนเอง

เท่านัน้ เพราะอาจมโี อกาสกอ่ ใหเ้ กิดผลเสียตามมา

  1. คำจำกดั ความ หรอื คำอธิบายบนเอกสารทไ่ี ดบ้ นั ทกึ ไว้ ควรมีความหมายชัดเจน พยายามอยา่ ใช้คำจำกัดความที่

กำกวม และสามารถตีความไดห้ ลายความหมาย

4.8 วธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 1. การสัมภาษณ์ (Interviewing) คือ การสนทนาหรือการเจรจาโต้ตอบกันอย่างมีจุดมุ่งหมาย เพื่อค้นหาความรู้

ความจริง ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ล่วงหน้า การสัมภาษณ์ประกอบด้วย ผู้สัมภาษณ์ (Interviewer) และผู้ให้สัมภาษณ์ (Interviewee)

รายละเอียดเกี่ยวกับการสมั ภาษณ์ จำแนกได้ดงั ต่อไปนี้ 1.1 ประเภทของข้อมูลท่ตี ้องการจะสมั ภาษณ์ ▪ ข้อเท็จจรงิ เกีย่ วกบั สภาวะปจั จุบันของระบบ เชน่ กระบวนการ ปญั หา และอุปสรรคของระบบ ▪ ความคิดเห็นและความเชอ่ื ของผทู้ ใ่ี หส้ มั ภาษณ์ ▪ ความรสู้ ึก และเจตคติ

39

▪ เป้าหมาย

1.2 แบบของการสัมภาษณ์ มี 2 แบบ

▪ การสัมภาษณ์โดยใช้แบบสัมภาษณ์ที่กำหนดคำถามไว้ตายตัว(Structured Interview) ถาม

เหมอื นกันทุกคน

▪ การสัมภาษณ์โดยใช้แบบสัมภาษณ์ที่ไม่ได้กำหนดคำถามไว้ตายตัว(Unstructured Interview)

จะกำหนดแต่หัวข้อไว้กว้าง ๆ ไมจ่ ำเป็นต้องถามเหมือนกันทกุ คน

1.3 กระบวนการในการสัมภาษณ์

▪ ศึกษาภมู ิหลงั ขององคก์ ร

▪ เลือกผู้ที่จะให้สัมภาษณ์ ซึ่งมีความสำคัญมาก เพราะถ้าสัมภาษณ์ไม่ถูกคน อาจจะได้ข้อมูลที่

ผดิ พลาด และมองไมเ่ หน็ ภาพของระบบ

▪ ต้งั จดุ ม่งุ หมายในการสมั ภาษณ์ จะสมั ภาษณ์อะไรบ้าง

การเตรียมการสมั ภาษณ์ ประกอบด้วย

➢ การนดั หมาย

➢ การเตรยี มแบบสมั ภาษณ์ แบบสมั ภาษณโ์ ดยทว่ั ๆ ไป มักประกอบด้วยสว่ นท่สี ำคัญ 3 ส่วน คอื

สว่ นแรก ใชบ้ ันทกึ ข้อมลู โดยทัว่ ไปเก่ียวกบั การสัมภาษณ์ เช่น ช่ือระบบ วัน เดือน ปี ท่ีสมั ภาษณ์

ส่วนท่ีสอง เป็นรายละเอียดส่วนตัวของผู้ให้สัมภาษณ์ ในส่วนทยี่ ังไมเ่ กย่ี วข้องกบั เร่ืองทีส่ ัมภาษณ์ เชน่ ชื่อ อายุ เพศ

และ ตำแหน่ง เปน็ ตน้

ส่วนที่สาม เป็นรายละเอียดเกี่ยวกับการสัมภาษณ์ เป็นคำถามคำตอบที่ตรงกับจุดมุ่งหมายของ การสัมภาษณ์

คำถามท่ีใช้ใน การสัมภาษณ์ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท :

รปู แบบคำถาม คำอธิบาย ตวั อยา่ ง

1. คำถามแบบปลายเปิด (Open- เป็นคำถามที่เปิดโอกาสให้ผู้ตอบได้แสดง - ปัญหาของระบบปัจจบุ ันคอื อะไร

Ended Questions) ความคดิ เหน็ โดยอสิ ระ - ทา่ นเหน็ ว่าระบบทีใ่ ชอ้ ยู่ ควร

ปรับปรงุ อะไร

2. คำถามแบบปลายปดิ (Closed- เป็นคำถามที่ได้กำหนดคำตอบไว้แล้วใน ม-ี ไม่มี จริง-ไมจ่ ริง ถูก- ผิด หรอื

Ended Questions) แบบสัมภาษณ์ ซึง่ คำตอบอาจจะอยู่ในรูป อย่ใู นรูปใหเ้ ลือกตอบจากคำตอบท่ี

ตอบรบั หรอื ปฏเิ สธ กำหนดไว้หลายคำตอบ เปน็ ตน้

การดำเนนิ การสมั ภาษณ์ ก่อนเริ่มสัมภาษณ์ ผู้สัมภาษณ์จะต้องแนะนำตัวเอง และบอกจุดมุ่งหมายของการสัมภาษณ์ให้ชัดเจนด้วยภาษาง่าย ๆ

และควรยึดหลักดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ผ้สู ัมภาษณต์ อ้ งใชไ้ หวพริบสังเกตวา่ จงั หวะที่เขา้ สมั ภาษณ์เหมาะสมหรือไม่ ถา้ ผ้ใู หส้ มั ภาษณ์กำลงั จะออกไปธรุ ะ ก็ควร จะนดั มาสมั ภาษณใ์ หม่ 2. ในระหวา่ งสมั ภาษณ์ ผูส้ มั ภาษณไ์ มค่ วรจะเร่งรัด หรอื คาดคนั้ คำตอบ 3. ผสู้ ัมภาษณค์ วรระมัดระวงั คำพูดและภาษาที่ใช้ คำถามควรจะสั้น และกะทดั รัด หลีกเล่ยี งคำถามทชี่ ้แี นะคำตอบ 4. ผู้สัมภาษณ์ต้องไม่แสดงตนว่าเป็นพวกใคร หรือเป็นคนใกลช้ ิดของคนใดคนหนึ่งเป็น เพราะอาจทำให้เกดิ ความระแวง ความไม่พอใจ ซึ่งอาจกลายเป็นอุปสรรคของการสมั ภาษณ์ได้ 5. ในกรณีทผ่ี ้สู ัมภาษณไ์ ดค้ ำตอบที่ไมช่ ัดเจน ถ้ายังไมค่ ุ้นเคยให้ผ่านไปก่อน เมื่อสัมภาษณ์จบ อาจย้อนกลับไปถามใหม่

40

6. เมอ่ื สัมภาษณจ์ บแลว้ ใหช้ แี้ จงถงึ ขน้ั ตอนทจ่ี ะทำตอ่ ไป พรอ้ มทงั้ กลา่ วขอบคุณผ้ใู หส้ ัมภาษณ์ การจดบันทกึ การสมั ภาษณ์ โดยใชห้ ลกั ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. จดบันทึกคำตอบสนั้ ๆ เพือ่ กันลมื 2. ควรบันทกึ แต่เนื้อหาสาระเท่านน้ั ไม่ควรใส่ความคิดเหน็ 3. ถ้าไมไ่ ดค้ ำตอบในการสัมภาษณ์คำถามใด ใหบ้ นั ทกึ เหตผุ ลลงไปดว้ ย

1.4 ขอ้ ดี และข้อเสยี ของการใช้การสัมภาษณ์

ขอ้ ดี ขอ้ เสยี

▪ สามารถเจาะลึกเฉพาะเร่อื งได้ ▪ ส้ินเปลืองเวลา แรงงาน ค่าใชจ้ า่ ย และกำลงั คน

▪ ผูส้ ัมภาษณ์สามารถยดื หยุ่นคำถามไดต้ ามโอกาส ▪ ผู้สัมภาษณ์ที่ผ่านการอบรมและมีประสบการณ์หาได้

▪ ใชไ้ ดก้ บั บุคคลทุกประเภท ทุกเพศ และทุกวยั ยาก

▪ ผสู้ มั ภาษณ์สามารถซักถามขอ้ ขอ้ งใจตา่ ง ๆ ได้ ▪ ยากที่จะเลือกผู้ให้สัมภาษณ์โดยไม่ทำลายความรู้สึก

▪ ผู้สมั ภาษณส์ ามารถอา่ นความรสู้ ึกนกึ คิดและผู้อ่านยัง ของคนอน่ื ๆ

สามารถสังเกตสภาพการต่าง ๆ ได้

▪ ได้ข้อมลู ทีเ่ ชอ่ื ถือไดม้ ากกวา่

▪ ผู้ตอบมกั พยายามตอบ เพราะเกดิ ความเกรงใจ

2. การสงั เกต (Observation) เหมาะสำหรบั การเกบ็ ขอ้ มลู เชิงคณุ ภาพเก่ยี วกับงานของบุคลากรในองคก์ ร จะเปน็ การตรวจสอบข้อมูลทไ่ี ด้จากการสมั ภาษณ์ โดย เฉพาะอย่างย่ิงเมื่อมกี ารให้ขอ้ มูลทข่ี ัดแยง้ กนั กระบวนการในการสงั เกต มีดงั ต่อไปนี้

2.1 ลำดับข้นั ในการสังเกต ▪ ต้งั จุดม่งุ หมายในการสงั เกตทกุ ครัง้ ▪ ศึกษาปรากฏการณข์ องส่งิ ที่จะสังเกต เลือกท่มี คี ุณคา่ แก่การสังเกต ▪ เตรียมเครื่องมือที่จะใชใ้ นการสังเกต ▪ บันทกึ ผลการสังเกตขณะทำการสังเกต

2.2 หลกั ในการสังเกต ▪ ควรทำการสงั เกตกจิ กรรมเดียวหลาย ๆ คร้ัง ▪ ในการสังเกตทีใ่ ชผ้ ู้สังเกตหลายคน ทุกคนจะตอ้ งทำความเข้าใจให้ตรงกัน ทั้งในด้านพฤติกรรม ที่จะสงั เกต วธิ ีการสังเกต และการบนั ทกึ ผลการสงั เกต ▪ ในการสังเกตแต่ละครง้ั ควรทำการสังเกตเฉพาะอยา่ ง ▪ ควรใชเ้ ครื่องมือช่วยในการสังเกต เชน่ มาตราประมาณคา่ (Rating Scale) ▪ การบันทึกข้อมูลที่ได้จากการสังเกต ควรบันทึกในเชิงปริมาณให้มากกว่าเชิงคุณภาพ คือ พยายามบนั ทึกเป็นตวั เลข ▪ ควรใช้วธิ สี ังเกตควบคู่กับวธิ อี ื่น

2.3 การสมุ่ พฤติกรรมทีจ่ ะสงั เกต ▪ สมุ่ เวลา (Time Sampling) เปน็ การกำหนดวา่ จะสังเกตเวลาใด โดยพยายามกำหนดให้แตกตา่ ง กันไปในแต่ละวนั

41

▪ ส่มุ เหตุการณ์ (Event Sampling) เปน็ การกำหนดว่าจะสงั เกตกจิ กรรมใด หรือเหตุการณ์ใด เชน่

ระบบทะเบียนก็ต้องกำหนดว่าจะสงั เกตการณ์ลงทะเบียนเรียน หรือ การขึ้นทะเบียนนักศึกษา

ใหม่

2.4 ชนดิ ของการสงั เกต

ชนิดของการสังเกต คำอธบิ าย

การสงั เกตแบบมีส่วนรว่ ม (Participant Observation) เป็นการสังเกตแบบไม่มีโครงสร้าง ( Unstructured

Observation) ผู้สังเกตจะต้องเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรม

หรอื แสดงบทบาทเป็นสมาชิกของกลมุ่ ผ้ถู กู สงั เกต ซงึ่ อาจจะ

เปดิ เผยตัวหรือไมก่ ไ็ ด้

ก า ร สั ง เ ก ต แ บ บ ไ ม ่ ม ี ส ่ ว น ร ่ ว ม ( Non-participant เ ป ็ น ก า ร ส ั ง เ ก ต แ บ บ ม ี โ ค ร ง ส ร ้ า ง ( Structured

Observation) Observation) ผู้สังเกตจะทราบล่วงหน้าว่าจะสังเกตอะไร

หรือประเด็นใด โดย ไม่ต้องเข้าไปมีส่วนร่วมกับกลุ่มผู้ถูก

สงั เกตแต่อยา่ งใด

การสังเกตกระบวนการทำงานของระบบนั้น นักวิเคราะห์ระบบสามารถนำรายละเอียดที่เก็บไว้มาวาดเป็น

ไดอะแกรมแสดงขั้นตอนการทำงาน หรือที่เรียกว่า เวิร์กโฟลว์ (Workflow) ซึ่งจะแสดงลำดับขั้นตอนการประมวลผลทราน

แซกชนั ในธรุ กิจของกจิ กรรมใดกิจกรรมหนง่ึ ใหส้ ำเร็จลุลว่ งไปไดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์ รวมทงั้ ยงั ทราบถงึ การไหลของขอ้ มูลไปยังกลุ่มบ

บุคคลต่าง ๆ ทเี่ ก่ยี วขอ้ งกนั ในระบบ ดงั ตวั อยา่ งแสดงในรปู ท่ี 4.2 และ รปู ที่ 4.3

2.5 ข้อดีและข้อเสียของการสงั เกต

ข้อดี ข้อเสีย

▪ ข้อมูลที่ได้มาเป็นข้อมูลที่พบเห็นจริง และมีความ ▪ คนส่วนมากไม่ชอบการสังเกตและอาจแสดงพฤติกรรม

เที่ยงตรงสูง แตกต่างจากพฤตกิ รรมทเ่ี ขาแสดงออกอย่เู ปน็ ปรกติ

▪ สามารถใชต้ รวจสอบขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากแหล่งอื่น ๆ ▪ การสังเกตจะมีประสิทธิภาพก็ต่อเมื่อผู้สังเกตจะต้อง

▪ · ได้เหน็ การทำงานจริง ได้รับการฝึกฝนมาอยา่ งดี

▪ · อาจมีปัญหาในการสังเกตการทำงานเปน็ กะ หรอื

การทำงานที่ต้องเดินทางไกล

42

43

3. การใชแ้ บบสอบถาม (Questionnaires)

ใช้ไดด้ ีเมือ่ สอบถามคนจำนวนมาก โดยทั่วไปคำถามในแบบสอบถามจะเป็น 2 แบบ ไดแ้ ก่

ประเภท คำอธิบาย

คำถามแบบปลายปดิ (Closed-Ended Questions) เป็นที่นิยม เพราะว่า ตอบง่าย และสามารถสร้างให้

ครอบคลุมสง่ิ ท่ีเราต้องการท้ังหมดได้

คำถามแบบเปิด (Open-Ended Questions) ใหอ้ สิ ระในการตอบ ใช้เมือ่ ต้องการเจาะลึกในบางเรือ่ ง หรือ

ให้แสดงความคดิ เหน็ หรอื ต้องการใหผ้ ู้ตอบให้ข้อเสนอแนะ

เพิม่ เตมิ

3.1 หลักในการสร้างแบบสอบถาม มีดงั น้ี 1. คำชี้แจงตอ้ งชัดเจน ผตู้ อบอา่ นแลว้ ตอ้ งรู้วา่ จะทำอะไร 2. ไมค่ วรละเอียดมาก และใหค้ วามสะดวกแกผ่ ู้ตอบ 3. เรียงคำถามตามลำดบั จากงา่ ยไปสยู่ าก 4. ใช้ภาษาที่ไมท่ ำใหผ้ ู้ตอบเขา้ ใจผดิ 5. ไมค่ วรใช้คำถามท่จี ะนำไปสู่คำตอบทค่ี าดหวงั 6. พยายามจำกัดคำถามแบบปลายเปิด 7. ควรทดลองใช้แบบสอบถามกับกล่มุ เลก็ ๆ กอ่ นนำไปใชจ้ รงิ

44

3.2 ข้อดีและขอ้ เสียของการใชแ้ บบสอบถาม ข้อดี ขอ้ เสยี

▪ เปน็ วธิ เี ก็บข้อมลู จากคนจำนวนมากท่เี สียค่าใชจ้ า่ ยนอ้ ย ▪ การสรา้ งแบบสอบถามทด่ี ที ำได้ยาก ▪ ถ้าแบบสอบถามออกแบบดี การวเิ คราะหจ์ ะทำไดง้ ่าย ▪ การสง่ แบบสอบถามกลับมักมีเปอรเ์ ซ็นต์ต่ำ

4.9 รูปแบบคำถาม สำหรบั ใชใ้ นการสัมภาษณ์

  1. คำถามปลายเปิด เป็นคำถามที่สร้างขึ้นเพื่อให้ผู้ตอบแบบสอบถามมีอสิ ระในการตอบคำถาม ในการตั้งคำถาม

ปลายเปิดน้ี ไมค่ วรต้ังคำถามในลักษณะกว้างเกนิ ไป เน่อื งจากอาจทำใหผ้ ตู้ อบและผูไ้ ดร้ รบั คำตอบสับสน

ลักษณะคำถาม ตัวอย่าง

ก. คำถามที่ต้องการข้อมูล ข้อเท็จจริง บางอย่างที่ผู้วิจัยไม่ “ทา่ นอายุเทา่ ใด”

ตอ้ งการจะกำหนดธงคำตอบไว้กอ่ น อายุ….. ปี….เดอื น

ข. คำถามที่ตอ้ งการทราบรายละเอียดหรือความคิดเห็น “ท่านดูโทรทัศน์รายการอะไรมากทส่ี ุด เพราะเหตุใด”

ราย การ....................

  1. คำถามปลายปิด เปน็ คำถามท่ีมกี ารกำหนดใหผ้ ู้ใชต้ อบแบบสอบถาม โดยคำถามประเภทน้ี ควรมีรายการคำตอบ

ตา่ ง ๆ หรือตัวเลอื กคำตอบทีม่ ีความชัดเจน แยะแยะความแตกต่างให้เห็นอย่างเดน่ ชัด

ลกั ษณะคำถาม ตัวอย่าง

ก.แบบคำถามส้นั ๆ ใหต้ อบรับหรอื ตอบปฏเิ สธเทา่ นนั้ “ท่านจ้างคนงานมาชว่ ยทำงานบ้านบ้างหรือไม่”

[ ] จ้าง [ ] ไมจ่ ้าง [ ]ไม่ทราบ [ ] ไม่ตอบ

ข.คำถามสั้นๆนั้น ถ้าต้องการคำตอบเพิ่มเติมเป็น “ถ้าจ้างคนงานมาชว่ ย จ้างไว้ก่คี น” .......... คน

รายละเอยี ด กอ็ าจถามเพิ่มเตมิ ได้

ค.คำถามทีก่ ำหนดใหเ้ ลือกคำตอบข้อใดข้อหนึ่ง “ท่านนับถอื ศาสนาอะไร”

[ ] พุทธ [ ] ครสิ เตียน [ ] อสิ ลาม

4.10 สเตคโฮลเดอร์ สเตคโฮลเดอรห์ รือ Information Worker คอื บคุ คลทมี่ คี วามสนใจและพรอ้ มใหค้ วามร่วมมือกบั งานพฒั นาระบบ

สารสนเทศใหม่ เพื่อใหเ้ กิดผลสำเรจ็ สามารถแบง่ ออกเป็น 6 กล่มุ หลกั ๆ คอื 1. เจ้าของระบบ(System Owners) Sponsors 2. ผู้ใช้ระบบ(System User) 3. นักออกแบบระบบ(System Designers) 4. นักพัฒนาระบบ(System Developers) Programmer 5. นักวิเคราะหร์ ะบบ (System Analysts) 6. ร้านค้าจำนวนอปุ กรณ์ไอทีและทีป่ รกึ ษา(IT Vendors and Consultants)

4.11 การวางแผนความต้องการร่วมกัน (Joint Requirements Planning: JRP) การวางแผนความต้องการร่วมกัน เป็นการทำ Workshopมีการแบ่งงานหรือมอบหมายหน้าที่ และทุกคนต้อง

ร่วมมือรว่ มใจในการประชุมรว่ มกันเพอ่ื ปรกึ ษาหารือ จงึ สามารถบรรลุผลสำเร็จไดด้ ี

45

บทท่ี 5 แบบจำลองกระบวนการ

นักวเิ คราะหร์ ะบบ สามารถนำแบบจำลองชนดิ ต่างๆ มาประยกุ ต์ใชก้ ับงานพฒั นาระบบได้ และ แบบจำลอง แผนภาพหรอื ไดอะแกรม ก็จะทำให้สามารถเหน็ ภาพรวมของระบบได้ท้งั หมดบนกระดาษแผ่นเดยี ว โดยรูปแบบของ แบบจำลอง แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

1. แบบจำลองทางคณติ ศาสตร์ (Mathematical Model) 2. แบบจำลองทเี่ ปน็ ถ้อยคำอธบิ าย(Description Model) 3. แบบจำลองแผนภาพ (Graphical Model)

5.1 รูปแบบของแบบจำลอง คำอธิบาย ตัวอย่าง แบบจำลอง กลมุ่ ของสตู รคำนวณท่ใี ชอ้ ธิบายกฎเกณฑ์

  1. แบบจำลองทางคณิตศาสาตร์ (Mathematical Model) ทางเทคนิคของระบบ โดยมักใช้กับงาน
  1. แบบจำลองทเ่ี ปน็ ถอ้ ยคำอธิบาย ทางด้านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม หรือ (Description Model) งานด้านการคำนวณ สัญลักษณ์ทาง
  2. แบบจำลองแผนภาพ (Graphical Model) คณิตศาสตร์

แบบจำลองที่เป็นการกล่าวถึงเรื่องราว

ถ้อยคำอธิบาย รายละเอียด รายงาน

หรือรายการต่างๆ ขั้นตอนวิธีที่อยู่ใน

รูปแบบของรหัสจำลอง (Pseudo code)

หรือประโยคโครงสร้างภาษาอังกฤษ

(Structure English) ที่โปรแกรมเมอร์มกั

นำแบบจำลองนี้ไปใช้เพื่อการออกแบบ

โปรแกรม

แบบจำลองที่ทำให้สามารถเข้าใจถึง แผนภาพกระแสข้อมลู แผนภาพอี

ความสมั พันธข์ องส่ิงตา่ งๆ ที่มอี ยู่ในระบบ อาร์

ตัวอย่างเช่น ซึ่งแผนภาพเพียงแผนภาพ

เดียว สามารถบรรยายภาพรวมของ

ระบบได้เปน็ อยา่ งดี

5.2 แบบจำลองกระบวนการ แบบจำลองกระบวนการ หรอื Process Model เป็นการอธบิ ายถงึ กระบวนการทำงานทางธุรกิจ ด้วยการนำเสนอให้

เห็นภาพว่าในกระบวนการมีการทำงานอย่างไร โดยในการสร้างแบบจำลอง สามารถสร้างด้วยเทคนิคที่แตกต่างกันไป ซึ่ง แบบจำลองกระบวนการที่นิยมใช้ในรูปแบบกรรมวิธีเชิงโครงสร้าง คือ แบบจำลองแผนภาพที่เรียกว่า “แผนภาพกระแส ขอ้ มลู ” (Data Flow Diagram) ซ่งึ แผนภาพดังกลา่ ว จะแสดงถึงกิจกรรมตา่ ง ๆ ในระบบ

แผนภาพกระแสข้อมูล เป็นแบบจำลองกระบวนการที่นำมาใช้กับการวิเคราะห์และออกแบบเชิงโครงสร้าง ที่มีการ นำมาใช้ตั้งแต่ยุคที่มีการเริ่มใช้ภาษาระดับสูง โดยแผนภาพกระแสข้อมูลจะแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างโปรเซส (Process) กับขอ้ มลู (Data)ทเ่ี กยี่ วข้อง โดยขอ้ มูลในแผนภาพจะทำใหท้ ราบถึง

46

โดยมีข้ันตอนการพฒั นาแผนภาพกระแสข้อมูล ดังนี้ ขน้ั ตอนที่ 1 ศกึ ษารูปแบบการทำงานทางฟิสิคอล(Physical)ของระบบงานเดมิ ข้นั ตอนที่ 2 วเิ คราะหเ์ พื่อใหไ้ ดม้ าซ่งึ แบบจำลองทางลอจิคอล (Logical) ของระบบงานเดมิ ขน้ั ตอนท่ี 3 นำลอจคิ อลทไ่ี ดจ้ ากขน้ั ตอนที่ 2 มาเพิ่มเติมความตอ้ งการใหมเ่ ข้าไป ดว้ ยการปรับปรงุ เพอ่ื เปน็ แบบจำลองทางลอจิคอลของระบบงานใหม่ ขน้ั ตอนที่ 4 พฒั นาระบบงานใหมใ่ นรปู แบบของแบบจำลองฟสิ ิคอล

5.3 สัญลักษณท์ ใี่ ชท้ ำแผนภาพกระแสข้อมลู เป็นกลุ่มของสัญลักษณ์ที่ใช้ในการแสดงรูปแบบของแผนภาพไดอะแกรม ซึ่งประกอบด้วย อินพุต เอาต์พุต

กระบวนการ และข้อมูล โดยมีเพียง 4 สัญลักษณ์หลกั ๆ ซ่ึงแสดงดังรูปที่ 5.4

47

จากรูปที่ 5.4 เป็นกลุ่มของสัญลักษณ์ที่ใช้ในการจัดทำแผนภาพกระแสข้อมูล โดยมีที่นยิ มใช้อยู่ 2 ทฤษฎี คือ ของ Gane & Sarsonและ Yourdan/Demacroซึ่งสามารถอธิบายรายละเอียไดด้ งั ตอ่ ไปนี้

5.3.1 โปรเซส (Process) เปน็ สัญลักษณท์ ่ีแทนกิจกรรมท่ีเกิดขน้ึ ในระบบ หรือกระบวนการทีต่ ้องทำในระบบ โดย ในการจัดทำแผนภาพกระแสขอ้ มูลจะต้องมีอย่างน้อย 1 โปรเซสเสมอ โดยเมื่อมเี สน้ อินพุตต์เข้าสู่โปรเซส ก็จะต้องมีเอาตพ์ ุต ออกมาเสมอ

สัญลกั ษณ์โปรเซส จำเป็นจะต้องมีหมายเลขกำกับอยู่เสมอ ซึ่งเรียกว่า หมายเลขโปรเซส ที่มักกำหนดเปน็ เลข 1, 2, 3 , 4 ...... ตามลำดบั และทส่ี ำคัญหมายเลขโปรเซสจะซ้ำกันไมไ่ ด้

5.3.2 ดาต้าโฟลว์ (Data Flow) หรือ กระแสข้อมูล จะใช้สัญลักษณ์แทนด้วยเส้นลูกศรที่ไปพร้อมกับข้อมูลที่ เคล่อื นไป-มา ระหวา่ งโปรเซส ดาตา้ สโตร์ และ เอก็ ซ์เทอรน์ ลั เอน็ ตติ ี้

5.3.3 เอก็ ซ์เทอรน์ ลั เอน็ ตติ ี้ (External Entity) ในแผนภาพกระแสขอ้ มลู จะมดี าต้าโฟลวท์ อี่ ินพุตเข้ามาในระบบ และดาต้าโฟลว์ที่เอาต์พุตออกนอกระบบ ซึ่งส่วนที่ทำหน้าที่รับและส่งข้อมูลกับระบบ เรียกว่า เอ็กซ์เทอร์นัลเอ็นติตี้ โดย สญั ลักษณจ์ ะเป็นรูปส่เี หลี่ยมผนื ผา้ ซึ่งมเี พยี งหน้าทใี่ นการรบั หรอื สง่ ขอ้ มูลจากโปรเซสเท่านัน้ โดยดาตา้ โฟลว์ทอ่ี นิ พตุ เข้ามาจะ ถือเป็นแหล่งกำเนิดขอ้ มลู ในขณะที่ดาต้าโฟลว์ท่ีเอาต์พตุ ออกมาจากโปรเซสจะถูกส่งไปยังปลายทาง ดังนั้น สัญลักษณ์น้ี จึง ถูกเรียกแทนหลายชื่อด้วยกัน เช่นBoundary, External Entity หรือ External Agent โดยสามารถถูกแทนได้ทั้งบุคคล หน่วยงาน องค์กร หรือระบบงาน และเพื่อให้ภาพดูสวยงามจึงควรจะจัดรูปให้อยู่บริเวณรอบ ๆ ของแผนภาพ โดยในบางครั้ง อาจจะต้องทำซ้ำ หรือเรียกว่า Duplicate Boundaries เนื่องจากการเชื่อมโยงอาจทำให้เส้นทับซ้อนกันได้ จึงทำให้การวาด แผนภาพจะตอ้ งมีการทำซ้ำ เอก็ ซ์เทอร์นัล เอน็ ตติ ้ี เพื่อใหร้ ปู ภาพดสู วยงาม ตวั อย่างดังรปู ที่ 5.6

5.3.4 ดาตา้ สโตร์ (Data Stored) เป็นแหลง่ ที่ใชใ้ นการจดั เก็บข้อมลู ซ่ึงจะไม่สนใจว่าระบบจะใช้ส่ือในการจัดเก็บ ข้อมูลรูปแบบใด ทุก ๆ ดาต้าสโตร์จะต้องมีชื่อข้อมูล และมีการกำหนดลาเบล เช่น D1, D2, D3 ตามลำดับ โดยจะถูกใช้งาน โดยโปรเซส และดาต้าสโตร์จะกระทำซ้ำได้ โดยมีรปู แบบการอา่ นจากหวั ลูกศร ดงั รปู ที่ 5.7

48

จากรูปที่ 5.7 อธิบายไดด้ งั น้ี

หมายเลข คำอธบิ าย

1.1 เป็นการเรียกข้อมูลจากดาต้าสโตร์ออกมา เช่น การอ่านข้อมูลจากแฟ้มรายวิชา หรือ เรียกรายการรายวิชา

ขึน้ มา

1.2 เปน็ สญั ลกั ษณ์ของการเพมิ่ ขอ้ มลู เขา้ ไปทด่ี าตา้ สโตร์ เชน่ การบนั ทกึ ขอ้ มูลผลการเรียนของนักศึกษา เปน็ ตน้

1.3 เป็นสัญลกั ษณข์ องทั้งอินพุต และเอาต์พุต ซึ่งเกี่ยวข้องกับการอัพเดทข้อมูลลงไปในดาตา้ สโตร์ และดึงข้อมูล

SDLC คืออะไร มี กี่ ขั้น ตอน จง อธิบาย

ตามทฤษฎีวงจรการพัฒนาระบบ (System Development life Cycle : SDLC) 7 ขั้นตอน 1. การค้นหาปัญหาขององค์กร (Problem Study) 2. การศึกษาความเหมาะสม (Feasibility Study) 3. การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 4. การออกแบบระบบ (System Design) 5. การพัฒนา และการทดสอบระบบ (Development and Test) 6. การติดตั้งระบบ (System Implement) 7. ...

SDLC 5 ขั้นตอน มีอะไรบ้าง

เจาะลึกข้อผิดพลาดในแต่ละขั้นตอนของ SDLC ที่นักพัฒนา Software ต้อง....

1. การวางแผน (Planning) ... .

2. การวิเคราะห์ (Analysis) ... .

3. การออกแบบ (Design) ... .

4. การติดตั้ง (Implementation) ... .

5. การทดสอบและการเชื่อมต่อระบบ (Testing & Integration) ... .

6. การบำรุงรักษา (Maintenance).

ระบบงานSDLCคืออะไร

Software Development Lifecycle (วงจรการพัฒนาซอฟต์แวร์หรือ SDLC) คือกระบวนการที่คุ้มค่าและประหยัดเวลาในการออกแบบและสร้างซอฟต์แวร์คุณภาพสูงสำหรับทีมพัฒนา เป้าหมายของ SDLC คือการลดความเสี่ยงของโปรเจกต์ด้วยการวางแผนล่วงหน้า เพื่อให้ซอฟต์แวร์ตอบสนองตามความคาดหวังของลูกค้าในระหว่างการใช้งานจริงและหลังจากนั้น ระเบียบวิธีการ ...

SDLC มีกี่ประเภท

ซึ่งเจ้า SDLC. นั้นมีโมเดลที่ถูกกำหนดเพื่อกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์อยู่ 6 ประเภทนั่นเอง แต่ละประเภทมีรายละเอียดยังไงบ้าง ไปติดตามกันเลยจ้า