การเขียนวิเคราะห์วิจารณ์ ม.2 dltv

ท 23102 ภาษาไทย ม.3 เทอม 2(DLTV)

คำอธิบายรายวิชา

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รหัสวิชา ท 23102

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เวลา 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 2

คำอธิบายรายวิชา

            ศึกษาหลักการวิเคราะห์  วิจารณ์  ความสมเหตุสมผลของเรื่องที่อ่าน  แสดงความคิดเห็น  ตีความ  ประเมินคุณค่าแนวคิดที่ได้จากการอ่านงานเขียน  เพื่อนำไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต  เขียนวิจารณ์แสดงความรู้ความคิดเห็น  เขียนรายงาน  โครงงาน  กรอกแบบสมัครงาน  ฝึกพูดในโอกาสต่าง ๆ  พูดโน้มน้าวอย่างมีเหตุผลและน่าเชื่อถือ  ใช้คำทับศัพท์  ศัพท์บัญญัติ  ศัพท์ทางวิชาการและวิชาชีพ  แต่งโคลงสี่สุภาพ  สรุปความรู้  ข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรม  เพื่อนำไปใช้ประยุกต์ในชีวิตประจำวัน  ท่องจำและบอกคุณค่าบทอาขยานและบทร้อยกรองตามความสนใจและนำไปใช้อ้างอิง

            โดยใช้กระบวนการทางภาษา  กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์  จัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความคิด  เรียนรู้แบบโครงงาน  ให้รู้วิธีการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ  วางแผน  คิดวิเคราะห์  ประเมินผล  ฝึกการเป็นผู้นำและผู้ตามมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี  สามารถสร้างองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน 

            มีคุณธรรม  จริยธรรม  และมีมารยาทในการใช้ภาษา  เป็นผู้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์  มีมารยาทในการอ่าน  การเขียน  การฟัง  การดูและการพูด  เห็นคุณค่าภาษาไทยซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของชาติ  รักชาติ  ศาสน์  กษัตริย์  ซื่อสัตย์สุจริต  มีวินัย  ใฝ่เรียนรู้  อยู่อย่างพอเพียง  มุ่งมั่นในการทำงาน  รักความเป็นไทยและมีจิตสาธารณะเพื่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ  ภาคภูมิใจในภาษาไทย  และรักษาไว้เป็นสมบัติของชาติ   

รหัสตัวชี้วัด

            ท 1.1     ม.3/2,  ม.3/5,  ม.3/7,  ม.3/8,  ม.3/9,  ม.3/10

            ท 2.1     ม.3/1,  ม.3/2,  ม.3/7,  ม.3/8,  ม.3/9,  ม.3/10

            ท 3.1     ม.3/3,  ม.3/4,  ม.3/5,  ม.3/6

            ท 4.1     ม.3/1,  ม.3/3,  ม.3/4,  ม.3/5,  ม.3/6

            ท 5.1     ม.3/2,  ม.3/3,  ม.3/4

รวม 24 ตัวชี้วัด

ใบความรู้ เรองวเคราะห์ วจารณ์ และแสดงความรู้ความคดิ
เหน็ หรอโต้แยง้ ในเรองทีอา่ นอย่างมเี หตผุ ล

มาตรฐาน ท 2.1 ใชก้ ระบวนการเขยี นสอื สารเขยี นเรยงความ ยอ่ ความ และเขยี นเรองราวใน
รูปแบบตา่ งๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

ตวั ชวี ัดที 7 เขยี นวเคราะห์วจารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเหน็ หรอโต้แย้งในเรองทอี ่าน
อย่างมเี หตุผล

การวเคราะห์
การวเคราะห์ คือ การพิจารณาสิงใดสิงหนึงให้เข้าใจ

โดยแยกแยะสงิ นันออกเปน
สว่ น ๆ เพอื ทาํ ความเข้าใจแตล่ ะส่วนใหแ้ จ่มแจ้งจุดหมายปลาย
ทางของการวเคราะหค์ อื เพอื
ให้เกดิ ความเข้าใจ

การเขยี นวจารณ์
การเขยี นวจารณ์ คือการชใี ห้เห็นสว่ นดีและไม่ดขี องสิงหนงึ สิงใด

แสดงเหตุผล
และเสนอแนะการแก้ไขสว่ นทไี ม่ดีแลว้ นาํ ไปประเมนิ ค่า เพอื นําไปใช้ในชีวต
จรงได้
การเขียนวจารณม์ หี ลกั การดงั นี
1. ศึกษาเรองอยา่ งละเอียดอย่างถ่องแท้
2. วเคราะห์แยกแยะเนือหาเปนสว่ นๆ วา่ มลี ักษณะอยา่ งไร
มคี วามสมั พันธก์ ันหรอไม่
3. วเคราะห์เนือหาแล้วประเมนิ ค่าวา่ มีขอ้ ดี ขอ้ เสีย จดุ เดน่
จดุ ด้อย หรอข้อบกพร่องอยา่ งไร
4. วจารณข์ อ้ มูลทวี เคราะหแ์ ลว้ ไปประเมินคา่ ใหเ้ หน็ วา่ มีคณุ คา่ หรอมีข้อ
บกพร่องอย่างไร
5. วจารณใ์ นทางสร้างสรรคแ์ ละเปนประโยชนต์ อ่ ตนเองและผอู้ นื
6. เรยบเรยงความคดิ ทีวจารณ์เปนบทพูด
ใชค้ ําทีมคี วามหมายกระชบั ตรงประเดน็

มูลนิธกิ ารศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียมฯ. (2563). การวเคราะห์ วจารณ์ แสดงความคิดเหน็
โตแ้ ย้งเกียวกบั เรองทีอ่าน. จาก https://www.dltv.ac.th/teachplan/episode/22497

การเขยี นแสดงความคิดเห็น
การเขียนแสดงความคดิ คอื การเขียนทีประกอบด้วยขอ้ มลู อนั เปนข้อเท็จจรงกบั การ

แสดงความคดิ เห็นตอ่ เรองใดเรองหนึงความคดิ เห็นควรจะมีเหตผุ ลและเปนไปในทาง
สร้างสรรค์ ผูร้ ับสารเรองเดยี วกนั ไม่จําเปนต้องมคี วามคิดเห็นเหมอื นกนั เปนการมองตา่ งมมุ
และเปนความคดิ เห็นเฉพาะบคุ คลการเขยี นแสดงความคดิ เห็นมหี ลกั การดังนี

1. การเลือกเรอง
ผเู้ ขียนควรเลอื กเรองทีเปนทสี นใจของสังคมหรอเปนเรองทีทันสมยั อาจเกียวกับเหตุการณ์

ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศลิ ปะ วทยาศาสตร์หรอขา่ วเหตกุ ารณป์ ระจาํ วนั
ทงั นผี เู้ ขียนต้องมีความรู้และเข้าใจเรองทีตนจะแสดงความคิดเหน็ เปนอยา่ งดี เพอื ทีจะแสดง
ความคิดเหน็ อยา่ งลกึ ซงึ
2. การใหข้ ้อเทจ็ จรง

ข้อมลู ทเี ลอื กมานันจะตอ้ งมีรายละเอยี ดต่างๆ เช่น ทมี าของเรองความสาํ คัญและ
เหตกุ ารณ์เปนตน้ ดงั นันจึงควรจะต้องศกึ ษาเรองทีจะเขยี นอยา่ งละเอยี ด จบั ใจความสาํ คัญ
ของเรองให้ได้ และศกึ ษาเรองทเี กียวขอ้ งจากแหลง่ ความรู้อืน ๆ ประกอบ จากนนั จึงพิจารณา
ขอ้ เด่นขอ้ ด้อยพร้อมทังยกเหตุผลประกอบข้อคิดเห็น
3. การแสดงความคดิ เห็น
ผูเ้ ขียนอาจแสดงความคดิ เห็นต่อเรองได้ 4 ลักษณะดังนี คอื
- การแสดงความคิดเหน็ เพือตงั ขอ้ สงั เกต
เชน่ การเตบิ โตของธรุ กิจอินเทอร์เนต็ ความนยิ มรับประทานอาหารเสรมสขุ ภาพ
- การแสดงความคิดเหน็ เพือสนับสนุนขอ้ เทจ็ จรง
เชน่ หวั ข้อเรองการจดั ระเบียบสังคมของร้อยตํารวจเอกปรุ ะชัย เปยมสมบูรณ์
การปราบปรามยาเสพตดิ ขนั เดด็ ขาดของรัฐบาล
- การแสดงความคดิ เหน็ เพอื โตแ้ ยง้ ขอ้ เท็จจรง
เชน่ หวั ข้อเรอง การกินยาลดความอ้วนของวยั รุ่นการเปดเสรการค้านาํ เมาของภมู ิปญญาชาวบา้ น
- การแสดงความคิดเหน็ เพอื ประเมินคา่ เช่น
หวั ขอ้ เรองการวจารณ์เรองสันทไี ด้รับรางวลั วรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยยี มแหง่ อาเซียนหรอ
รางวลั ซไี รต์

มลู นธิ ิการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียมฯ. (2563). การวเคราะห์ วจารณ์ แสดงความคดิ เหน็
โต้แยง้ เกยี วกับเรองทีอ่าน. จาก https://www.dltv.ac.th/teachplan/episode/22497

4. การเรยบเรยง มลี ําดบั ขันตอนดังนี
- การตังชอื ควรตังชอื เรองใหเ้ ร้าความสนใจผู้อา่ นและสอดคลอ้ งกับเนอื หาทจี ะเขยี น

เพราะชอื เรองเปนส่วนทผี ู้อา่ นจะต้องอ่านเปนอันดับแรกและเปนการบอกขอบเขตของเรอง
ด้วย

- การเปดเรอง ใช้หลักการเขียนเช่นเดยี วกนั กับคํานําและควรเปดเรองใหน้ า่ สนใจ
ชวนใหผ้ ้อู ่านติดตามเรองต่อไป

- การลาํ ดับควรลาํ ดับเรองให้มีความตอ่ เนอื งสอดคลอ้ งกันตังแตต่ ้นจนจบ ไม่เขียน
วกไปวนมาเพราะผู้อา่ นอาจเกดิ ความสับสนจนไมส่ ามารถแยกแยะไดว้ า่ สว่ นใดเปนขอ้ เท็จจรง
และสว่ นใดเปนการแสดงความคดิ เห็น

- การปดเรอง ใชห้ ลักการเชน่ เดยี วกับการเขียนสรุปและควรปดเรองใหผ้ ูอ้ ่านประทบั ใจ
5. การใช้ภาษา

ควรใชภ้ าษาอย่างสละสลวย ชัดเจน ไมเ่ ยินเยอ้ มกี ารใช้สํานวนโวหารอย่างเหมาะสมกับ
เรอง นอกจากนนั ยังต้องใช้ถ้อยคาํ ทสี ือความหมายไดต้ รงตามอารมณ์ และความรู้สกึ ของ
ผ้เู ขียน ทงั นีควรเขียนอย่างเปนกลาง และหลีกเลยี งการใช้ถ้อยคาํ ทแี สดงอารมณร์ ุนแรง
ซงึ อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งอย่างรุนแรงภายหลัง

การโตแ้ ยง้
การโต้แยง้ คือ การแสดงทรรศนะทีแตกตา่ งกัน ระหวา่ งบุคคล 2 ฝาย โดยแตล่ ะฝาย

พยายามให้ขอ้ มลู สถิติ หลกั ฐานและเหตุผล รวมทังการอ้างถึงทรรศนะของผูร้ ู้ เพือสนับสนนุ
ทรรศนะของตนเองและคัดค้านทรรศนะของอีกฝายหนงึ

การโตแ้ ยง้ ยุติลงได้โดยการวนิจฉัยของบุคคลทีโตแ้ ย้งกนั เอง ใครมเี หตุผลดกี วา่ ทรรศนะ
นันกเ็ ปนทยี อมรับหรอผู้อา่ นเปนผู้ตัดสินกไ็ ด้

มลู นธิ ิการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี มฯ. (2563). การวเคราะห์ วจารณ์ แสดงความคิดเห็น
โตแ้ ยง้ เกยี วกบั เรองทีอา่ น. จาก https://www.dltv.ac.th/teachplan/episode/22497

โครงสร้างของการโต้แย้งประกอบด้วยขอ้ สรุปและตัวเหตุผลกระบวนการในการโตแ้ ย้ง
มี 4 ข้อ ดังนี
1. ตังประเด็นในการโตแ้ ยง้ คอื จุดสําคัญตา่ ง ๆ ในการนํามาเปนข้อโตแ้ ย้งกนั ต้องอย่ใู น
ลกั ษณะทเี ปนรูปคําถาม

1.1 การโต้แย้งเกยี วกบั ขอ้ เสนอให้เปลยี นแปลง
1.2 การโตแ้ ยง้ เกียวกบั ขอ้ เท็จจรง
1.3 การโตแ้ ย้งเกียวกบั คณุ ค่า
2. การนิยามคาํ สาํ คัญทีอยู่ในประเดน็ การโตแ้ ยง้ ถอื วา่ มคี วามสําคัญมาก มิฉะนัน
การโตแ้ ย้งอาจจะดาํ เนินไปคนละทิศทาง
3. การคน้ หาและเรยบเรยงขอ้ สนับสนนุ ทรรศนะของตน
ทรรศนะทคี วรแกก่ ารเชอื ถอื จะตอ้ งมขี อ้ สนับสนุนเพียงพอ ฉะนันตอ้ งมรี ายละเอยี ด
หลกั ฐาน ให้มากพอพอเชอื ถือได้
4. การชีให้เห็นจุดอ่อนของทรรศนะของเรองทีอ่าน ผู้โต้แยง้ จะต้องชีให้เหน็ จดุ อ่อนของเรอง
ทีอา่ นและตอ้ งชใี หเ้ ห็นจดุ เดน่ ของทรรศนะของตน

การวนจิ ฉยั เพอื การตัดสินขอ้ โตแ้ ย้งทาํ ได้ 2 แบบ
1.พิจารณาเฉพาะเนือหาสาระ ไมค่ วรนาํ ประสบการณ์เข้ามาใชเ้ ลย
2.วนจิ ฉยั โดยใชด้ ลุ ยพนิ จิ ของตนอย่างถีถ้วนกับเหตุผลประกอบ

มารยาทในการโต้แยง้
1. ไมใ่ ช้อารมณใ์ นการโต้แย้ง
วางจิตใจใหเ้ ปนกลาง มองดทู เี หตุผลเปนหลกั สาํ คัญ
2. มีมารยาทในการใชภ้ าษา ใช้ภาษาสภุ าพ และถกู ต้อง

มูลนธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียมฯ. (2563). การวเคราะห์ วจารณ์ แสดงความคิดเหน็
โต้แย้งเกียวกับเรองทอี า่ น. จาก https://www.dltv.ac.th/teachplan/episode/22497