ข้อ ใด ไม่ใช่ ฮอร์โมน ที่ทำหน้าที่ รักษา ดุลยภาพ ของ น้ำ และ แร่ ธาตุ

Successfully reported this slideshow.

Your SlideShare is downloading. ×

ข้อ ใด ไม่ใช่ ฮอร์โมน ที่ทำหน้าที่ รักษา ดุลยภาพ ของ น้ำ และ แร่ ธาตุ

ข้อ ใด ไม่ใช่ ฮอร์โมน ที่ทำหน้าที่ รักษา ดุลยภาพ ของ น้ำ และ แร่ ธาตุ

ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน

ข้อ ใด ไม่ใช่ ฮอร์โมน ที่ทำหน้าที่ รักษา ดุลยภาพ ของ น้ำ และ แร่ ธาตุ

ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน

More Related Content

ข้อ ใด ไม่ใช่ ฮอร์โมน ที่ทำหน้าที่ รักษา ดุลยภาพ ของ น้ำ และ แร่ ธาตุ
ข้อ ใด ไม่ใช่ ฮอร์โมน ที่ทำหน้าที่ รักษา ดุลยภาพ ของ น้ำ และ แร่ ธาตุ

  1. 1. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 2 แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่องค์ประกอบของกลไกการควบคุมแบบย้อนกลับ ก. ตัวรับ (receptor) ข. ตัวตอบสนอง (effector) ค. เทอร์โมสตัด (thermostat) ง. ศูนย์ควบคุม (control center) 2. การทางานของฮอร์โมนจะควบคุมการทางานของอวัยวะเป้าหมายอย่างไร ก. ทุกเวลา ข. ไม่จากัดบริเวณ ค. เฉพาะบางเวลา ง. โดยเฉพาะเจาะจง 3. การรักษาสมดุลของฮอร์โมนในข้อใดที่ทางานแบบสภาวะตรงข้ามกัน ก. อินซูลิน กับ กลูคากอน ควบคุมเมเทบอลิซึมกลูโคส ข. ไทรอกซินและพาราทอร์โมน ควบคุมสมดุลแคลเซียม ค. โพรเจสตินและเอสโทรเจนทาให้เกิดความแตกต่างทางเพศ ง. เอพิเนฟรินและนอร์เอพิเนฟริน ทาหน้าที่ตรงกันข้ามในปฏิกิริยาสู้หรือหนี 4. ฮอร์โมนควบคุมการหลั่งของโทรฟิกฮอร์โมน คือข้อใด ก. อินซูลิน ข. กลูคากอน ค. FSH และ LH ง. พาราทอร์โมน 5. สารเคมี ที่ออกมาสู่กระแสเลือด และถูกเปลี่ยนไปเป็น angiotensin ซึ่งไปกระตุ้นให้ ต่อมหมวกไตชั้นนอก (adrenal cortex) หลั่งฮอร์โมน aldosterone คือข้อใด ก. Cretin ข. Renin ค. Insulin ง. Retinin
  2. 2. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 3 6. ข้อใดต่อไปนี้แสดงให้เห็นถึง Negative feedback mechanism ก. กระบวนการดูดกลุโคสกลับคืนของท่อหน่วยไต ข. การขับน้ามันออกทางผิวหนังเพื่อลดการสูญเสียน้าทางผิวหนัง ค. ความสัมพันธ์ระหว่างต่อมใต้สมอง ต่อมไทรอยด์ และระดับฮอร์โมนไทรอกซิน ในกระแสเลือด ง. ซากสิ่งมีชีวิตเกิดการย่อยสลายเป็นสารประกอบที่พืชสามารถนากลับมาใช้ ประโยชน์ได้อีก 7. โครงสร้างที่ใช้ในการรักษาดุลยภาพของน้าและแร่ธาตุในสัตว์บก คือข้อใด ก. ต่อมเกลือ ข. หน่วยไต ค. ต่อมนาซัล ง. แทรกไทล์ แวคิวโอล 8. ระดับความเข้มข้นเกลือแร่ภายในร่างกายให้ใกล้เคียงกับสภาพแวดล้อม คือข้อใด ก. ไอโซทอนิก (isotonic) ข. ไฮโพโทนิก (hypotonic) ค. ไฮเพอร์โทนิก (hypertonic) ง. เมตาโทนิด (Mata tonic) 9. ฮอร์โมนที่มีบทบาทสาคัญในการควบคุมระดับแคลเซียมในเลือด คือ ก. Thyroxin , Glucagon ข. Calcitonin , Parathormone ค. Prolactin , Oxytocin ง. Aldosterone , Cortisol 10. ฮอร์โมนกลุ่มใดควบคุมการดูดน้ากลับคืนท่อหน่วยไต ก. Vasopressin ข. Epinephrine ค. Calcitonin' ง. Thyroxin
  3. 3. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 4 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 9vตอ 1.ค 6. ค 2.ง 7. ข 3.ก 8. ก 4.ค 9. ข 5.ข 10. ก ไม่ถูกไม่เป็นไรนะครับ เข้าไปศึกษา เนื้อหาในชุดการสอนกันก่อน
  4. 4. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 5 จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้นักเรียนสามารถ 1. อธิบายการรักษาดุลยภาพในร่างกายสัตว์ได้ 2. บอกปัจจัยที่มีผลต่อการทางานของฮอร์โมนได้ 3. สรุปกลไกการควบคุมการหลั่งฮอร์โมน โดยกระบวนการย้อนกลับได้ 4. เปรียบเทียบการทางานของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย โดยระบบประสาทและต่อมไร้ท่อได้
  5. 5. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 6 บัตรคาสั่งที่ 9.1 กลไกการรักษาดุลยภาพในร่างกาย โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 9.1 ใช้เวลา 10 นาที 4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 9.1 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 3 นาที 5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 9.1 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 15 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
  6. 6. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 7 บัตรเนื้อหาที่ 9.1 กลไกการรักษาดุลยภาพในร่างกาย กลไกการรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมนออกซิโทซิน ที่มา:http:// www.il.mahidol.ac.th487 × 382 (28 เมษายน 2555) ร่างกายมีกลไกในการรักษาสภาพแวดล้อม ภายในร่างกายได้อย่างไร อยากรู้เชิญทางนี้นะครับ
  7. 7. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 8 บัตรเนื้อหาที่ 9.1 กลไกการรักษาดุลยภาพในร่างกาย การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน การควบคุมการหลั่งฮอร์โมน(Control of Hormone Secretion) การควบคุมการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อส่วนใหญ่เป็นกลไกแบบตอบสนองแบบย้อนกลับ (feedback mechanism) ซึ่งอาจจะเป็นไปในทางบวก(กระตุ้นย้อนกลับ) เรียกว่า positive feedback หรืออาจจะเป็นไปในทางลบ(ยับยั้งย้อนกลับ) เรียกว่า negative feedback การควบคุมแบบยับยั้งย้อนกลับ ที่มา:http://www. vcharkarn.com 700 × 393 (28 เมษายน 2554) การควบคุมแบบกระตุ้นย้อนกลับ ที่มา:http://www. pibul.ac.th 817 × 500 (28 เมษายน 2555)
  8. 8. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 9 การควบคุมการหลั่งฮอร์โมนแบ่งเป็น 3 แบบ 1. ฮอร์โมนควบคุมการหลั่งของโทรฟิกฮอร์โมน 2. การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของร่างกายควบคุมการหลั่งฮอร์โมน 3. สารเคมี ควบคุมการหลั่งฮอร์โมน ฮอร์โมนควบคุมการหลั่งของโทรฟิกฮอร์โมน (Hormonal control of tropic hormone secretion) ลักษณะการหลั่ง tropic hormones มีต่อมไร้ท่อเป็นอวัยวะเป้าหมาย ซึ่งจะสร้างฮอร์โมนกลับไปควบคุมการหลั่งของ tropic hormones ในเพศหญิง ฮอร์โมน FSH, LH เป็น tropic hormones การหลั่งของฮอร์โมนใน กลุ่มนี้ถูกควบคุมโดยฮอร์โมน estrogen และ progesterone ที่สร้างมาจากรังไข่ ภาพแสดงการหลั่งของโกนาโดโทรฟิกฮอร์โมน ที่มา : http:// www.il.mahidol.ac.th420 × 400 (28 เมษายน 2555)
  9. 9. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 10 ในเพศชายฮอร์โมน FSH, LH (ICSH) เป็น gonadotropic hormones หลั่งออกมาจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า การหลั่งของฮอร์โมนกลุ่มนี้ถูกควบคุมโดยฮอร์โมน testosterone ที่สร้างมาจาก Leydig cells ที่อยู่ในลูกอัณฑะ การทางานของ testosterone จะเป็นแบบ feedback mechanism เพื่อควบคุมการสร้างอสุจิและสร้างฮอร์โมน FSH, LH การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของร่างกายควบคุมการหลั่งฮอร์โมน(The physiological change control of hormone secretion) ภาพแสดงการหลั่งของโกนาโดโทรฟิกฮอร์โมนในเพศชาย ที่มา : http://www.lks.ac.th 400 × 300 (28 เมษายน 2555)
  10. 10. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 11 การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของร่างกาย การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของร่างกาย (ระดับน้าตาลในเลือดที่สูงหรือต่า) จะเป็นตัวกระตุ้นหรือยับยั้งต่อมไร้ท่อให้สร้างและหลั่งฮอร์โมนออกมา ตัวอย่างเช่น กลุ่มเซลล์ ในตับอ่อนเรียกว่า beta–cells of islet of Langerhans ซึ่งทาหน้าที่เป็นต่อมไร้ท่อ สร้างและหลั่งฮอร์โมน insulin ออกมา ภาพแสดงลักษณะกระเพาะอาหาร ที่มา : http:// bknowledge.org 283 × 222 (18 เมษายน 2554) ภาพแสดงระดับน้าตาลในเลือดควบคุมการหลั่งอินซูลินและกลูคากอน ที่มา : http:// www.il.mahidol.ac.th554 × 541 (28 เมษายน 2555)
  11. 11. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 12 การเปลี่ยนแปลงการทางานของสรีรวิทยาของร่างกาย (ความดันเลือดต่า) ทาให้เกิดสภาวะที่ไปกระตุ้นเนื้อเยื่อที่ไม่ใช่ต่อมไร้ท่อ (Juxtaglomerular cells) ให้สร้างและปล่อยสารเคมี (renin) ออกมาสู่กระแสเลือด และ renin ถูกเปลี่ยนไปเป็น angiotensin ซึ่งไปกระตุ้นให้ต่อมหมวกไตชั้นนอก (adrenal cortex) หลั่งฮอร์โมน aldosterone ออกมาสู่กระแสเลือด ทาให้เกิดการดูดซึมกลับของ Na+ และน้าจาก หลอดไตตรงบริเวณ distal convoluted tubule เข้าสู่เส้นเลือดฝอยตรงบริเวณนั้น ทาให้ความดันเลือดสูงซึ่งจะไปยับยั้งการปล่อย renin ออกมา ภาพแสดงการหลั่งอัลโดสเทอโรน เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความดันเลือด ที่มา : http://www.lks.ac.th 400 × 300 (28 เมษายน 2555) สารเคมีควบคุมการหลั่งฮอร์โมน (Chemical substance control of hormone secretion)
  12. 12. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 13 กลไกการควบคุมแบบย้อนกลับพบได้ตั้งแต่ระดับเซลล์เป็นต้นไป การควบคุมดังกล่าวประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 อย่างคือ 1. ตัวรับ (receptor) 2. ศูนย์ควบคุม (control center) 3. ตัวตอบสนอง (effector) เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมไม่ว่าจะเป็นภายนอกหรือ ภายในของสัตว์ ตัวรับจะรับรู้การเปลี่ยนแปลงและส่งสัญญาณไปยังศูนย์ควบคุม ศูนย์ควบคุมจะสั่งการและส่งสัญญาณไปยังตัวตอบสนองให้ทางานเพื่อตอบสนอง ต่อการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่เหมาะสมที่จะช่วยให้สภาพแวดล้อมในตัวสัตว์ กลับเข้าสู่สภาพปกติ เพื่อให้นิสิตเห็นภาพได้ง่าย ๆ และชัดเจน ในที่นี้จะเปรียบเทียบกลไกการควบคุมสภาพแวดล้อมของร่างกายสัตว์ กับการควบคุมทางวิศวกรรม เช่น การควบคุมอุณหภูมิห้อง สิ่งเร้าในที่นี้ ได้แก่ อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไป ศูนย์ควบคุมก็คือ เทอร์โมสตัด (thermostat) ของเครื่องทาความร้อน (หรือความเย็น) ทาหน้าที่ ควบคุมอุณหภูมิให้ผันแปรได้ ในช่วงแคบ ๆ โดยที่เทอร์โมสตัดมีการตั้งค่าอุณหภูมิไว้ที่จุด ๆ หนึ่ง (เรียกว่า set-point) มีตัวรับคือเทอร์โมมิเตอร์ ส่วนเครื่องทาความร้อน (หรือความเย็น) คือ หน่วยตอบสนอง ถ้า set-point อยู่ที่ 20 องศาเซลเซียส เมื่ออุณหภูมิลดต่ากว่า 20 องศาเซลเซียส ก็จะไปกระตุ้นให้เครื่องทาความร้อนทางาน เมื่ออุณหภูมิสูงเกิน 20 องศาเซลเซียส ก็จะไปหยุดการทางานของเครื่องทาความร้อนเป็นต้น กลไกการควบคุมแบบย้อนกลับ ที่มา : http:// www.il.mahidol.ac.th540 × 576 (28 เมษายน 2555)
  13. 13. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 14 บัตรคาถามที่ 9.1 กลไกการรักษาดุลยภาพในร่างกาย คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่องค์ประกอบของกลไกการควบคุมแบบย้อนกลับ ก. ตัวรับ (receptor) ข. ตัวตอบสนอง (effector) ค. เทอร์โมสตัด (thermostat) ง. ศูนย์ควบคุม (control center) 2. การทางานของฮอร์โมนจะควบคุมการทางานของอวัยวะเป้าหมายอย่างไร ก. ทุกเวลา ข. ไม่จากัดบริเวณ ค. เฉพาะบางเวลา ง. โดยเฉพาะเจาะจง 3. การรักษาสมดุลของฮอร์โมนในข้อใดที่ทางานแบบสภาวะตรงข้ามกัน ก. อินซูลิน กับ กลูคากอน ควบคุมเมเทบอลิซึมกลูโคส ข. ไทรอกซินและพาราทอร์โมน ควบคุมสมดุลแคลเซียม ค. โพรเจสตินและเอสโทรเจนทาให้เกิดความแตกต่างทางเพศ ง. เอพิเนฟรินและนอร์เอพิเนฟริน ทาหน้าที่ตรงกันข้ามในปฏิกิริยาสู้หรือหนี 4. ฮอร์โมนควบคุมการหลั่งของโทรฟิกฮอร์โมน คือข้อใด ก. อินซูลิน ข. กลูคากอน ค. FSH และ LH ง. พาราทอร์โมน 5. สารเคมี ที่ออกมาสู่กระแสเลือด และถูกเปลี่ยนไปเป็น angiotensin ซึ่งไปกระตุ้น ให้ต่อมหมวกไตชั้นนอก (adrenal cortex) หลั่งฮอร์โมน aldosterone คือข้อใด ก. Cretin ข. Renin ค. Insulin ง. Retinin
  14. 14. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 15 บัตรเฉลยคาถามที่ 9.2 กลไกการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 9vตอ 1.ค 2.ง 3.ก 4.ค 5.ข ปรบมือให้คนเก่งกันหน่อยครับ
  15. 15. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 16 บัตรคาสั่งที่ 9.2 การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุในสัตว์ โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 9.2 ใช้เวลา 10 นาที 4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 9.2 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 3 นาที 5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 9.2 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 15 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
  16. 16. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 17 บัตรเนื้อหาที่ 9.2 การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุในสัตว์ โครงสร้างในการรักษาดุลยภาพน้าในสัตว์เซลล์เดียว ที่มา:http:// www.yupparaj.ac.th219 × 400 (28 เมษายน 2555) ร่างกายสัตว์แต่ละชนิดมีการรักษาดุลยภาพ ภายในร่างกายได้อย่างไร อยากรู้เชิญทางนี้นะครับ
  17. 17. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 18 บัตรเนื้อหาที่ 9.2 การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุในสัตว์ การรักษาดุลยภาพของน้าและแร่ธาตุในสัตว์ สัตว์แต่ละชนิดจะมีกลไกการรักษาดุลยภาพของน้าในร่างกาย เพื่อให้ร่างกาย อยู่ในสภาวะสมดุลและเหมาะสมต่อการดารงชีวิต เนื่องจากน้าในร่างกายของสิ่งมีชีวิต จะมีความสัมพันธ์กับความเข้มข้นของแร่ธาตุ และสารต่าง ๆ ที่ละลายอยู่ในน้า ดังนั้นการรักษาดุลยภาพของน้าในร่างกายจึงมีความเกี่ยวข้องกับการรักษาดุลยภาพของ เกลือแร่ และสารต่าง ๆ ในร่างกายด้วยเช่นกัน การเปลี่ยนแปลงของปริมาณน้าในส่วนต่าง ๆ ของร่างกายจะส่งผล ต่อการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของแร่ธาตุและสารต่าง ๆ ในร่างกาย ซึ่งจะมีผลกระทบ ต่อเนื่องไปถึงดุลยภาพในการลาเลียงสารในระดับเซลล์ด้วย ดังนั้น การรักษาดุลยภาพของน้า และแร่ธาตุในสิ่งมีชีวิต จึงมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่ง โดยในสัตว์บางชนิดอาจจะมีระบบการ รักษาดุลยภาพของน้าและแร่ธาตุในร่างกายที่แตกต่างกันได้ ดังนี้ 1) สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว หรือโพรโทซัวที่อาศัยในน้าจืด ได้แก่ อะมีบา พารามีเซียม เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีโครงสร้างภายในเซลล์ที่ไม่ซับซ้อน จะใช้วิธีการรักษาปรับสมดุลของน้าและ ของเสียที่เกิดขึ้นในเซลล์ เช่น แอมโมเนียและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ โดยการแพร่ผ่าน เยื่อหุ้มเซลล์ออกไปสู่สิ่งแวดล้อมโดยตรง นอกจากนี้ภายในเซลล์ยังมีโครงสร้างที่เรียกว่า คอนแทรกไทล์ แวคิวโอล (contractile vacuole) ซึ่งมีหน้าที่กาจัดสารละลายของเสียและ น้าออกสู่ภายนอกเซลล์ด้วยวิธีการลาเลียงแบบ เอกโซไซโทซิส ทาให้สามารถรักษาดุลยภาพ ของน้าไว้ได้ และยังเป็นการช่วยป้องกันไม่ให้เซลล์เต่งหรือบวมมากจนเกินไป โครงสร้างในการรักษาดุลยภาพน้าในสัตว์เซลล์เดียว ที่มา:http:// www.yupparaj.ac.th219 × 400 (28 เมษายน 2555)
  18. 18. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 19 2) สัตว์ปีก นกหลายชนิดจะมีขนปกคลุม เพื่อป้องกันการสูญเสียน้าเนื่องจากความร้อน และยังมีระบบการรักษาดุลยภาพของน้าด้วยการขับออกในรูปปัสสาวะนอกจากนี้ยังพบว่านก ทะเลที่กินพืชหรือสัตว์ทะเลเป็นอาหาร จะมีอวัยวะที่ทาหน้าที่กาจัดแร่ธาตุหรือเกลือส่วนเกิน ออกไปจากร่างกาย เรียกว่า ต่อมเกลือ (salt gland) ซึ่งอยู่บริเวณหัวและจมูก โดยแร่ธาตุและ เกลือจะถูกกาจัดออกในรูปของน้าเกลือ วิธีการรักษาสมดุลเช่นนี้ จึงทาให้นกทะเลต่าง ๆ สามารถดารงชีวิตอยู่ได้ แม้จะบริโภคอาหารที่มีแร่ธาตุและเกลือสูงเป็นประจา โครงสร้างในการรักษาดุลยภาพน้าในสัตว์ปีก ที่มา:http:// www.yupparaj.ac.th400 × 283 (28 เมษายน 2555) 3) สัตว์บก สัตว์บกจะได้รับน้าจากการดื่มน้า และจากน้าที่เป็นส่วนประกอบในอาหาร เช่น ในพืชผัก ผลไม้ ตลอดจนน้าที่อยู่ในเนื้อสัตว์ต่าง ๆ นอกจากนี้ยังได้รับน้าจากกระบวนการ ย่อยสลายสารอาหาร ตลอดจนการเผาผลาญสารอาหาร หากร่างกายได้รับปริมาณมากเกินไป ร่างกายจะกาจัดน้าส่วนเกินออกในรูปของเหงื่อ ไอน้าในลมหายใจ ปัสสาวะ และอุจจาระ โดยมีไตเป็นอวัยวะหลักที่ทาหน้าที่ควบคุมสมดุลของน้า และแร่ธาตุในร่างกาย โครงสร้างหน่วยไตที่ใช้ในการรักษาดุลยภาพน้าในสัตว์บก ที่มา:http:// www.thaigoodview.com355 × 296 (28 เมษายน 2555)
  19. 19. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 20 4) สัตว์น้าเค็ม จะมีวิธีการควบคุมสมดุลน้าและแร่ธาตุในร่างกายที่แตกต่าง ไปจากสัตว์บก เนื่องจากสัตว์น้าเค็มจะต้องมีการปรับความเข้มข้นของเกลือแร่ ในร่างกายให้ใกล้เคียงกับสภาพแวดล้อม เรียกระดับความเข้มข้นเกลือแร่ภายใน ร่างกายให้ใกล้เคียงกับสภาพแวดล้อมว่า ไอโซทอนิก (isotonic) ซึ่งจะช่วยทาให้ ร่างกายกับสภาพแวดล้อมมีความสมดุลกันจึงไม่มีการสูญเสียน้าหรือรับน้าเข้าสู่ ร่างกาย โดยสัตว์น้าเค็มแต่ละชนิดจะมีกลไกในการรักษาดุลยภาพที่แตกต่างกัน ดังนี้ ปลากระดูกอ่อน เช่น ปลาฉลาม จะมีระบบการรักษาสมดุลโดยการพัฒนาให้ มียูเรียสะสมในกระแสเลือดในปริมาณสูง จนมีความเข้มข้นใกล้เคียงกับน้าทะเลจึงไม่ มีการรับน้าเพิ่มหรือสูญเสียน้าไปโดยไม่จาเป็น ปลากระดูกแข็งจะมีเกล็ดตามลาตัว เพื่อใช้ป้องกันการสูญเสียน้าภายใน ร่างกายออกสู่สภาพแวดล้อมเนื่องจากสภาพแวดล้อมมีความเข้มข้นของสารละลาย มากกว่าในร่างกาย และมีการขับเกลือแร่ออกทางทวารหนัก และในลักษณะปัสสาวะ ที่มีความเข้มข้นสูงและมีกลุ่มเซลล์ที่เหงือกทาหน้าที่ลาเลียงแร่ธาตุออกนอกร่างกาย ด้วยวิธีการลาเลียงแบบใช้พลังงาน โครงสร้างในการรักษาดุลยภาพน้าในปลากระดูกแข็ง ที่มา:http www.4shared.com500 × 301 (28 เมษายน 2555)
  20. 20. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 21 5) สัตว์น้าจืด ระบบการรักษาดุลยภาพของสัตว์น้าจืดมีความแตกต่างจาก สัตว์น้าเค็ม เนื่องจากสัตว์น้าจืดอาศัยอยู่ในน้าที่มีความเข้มของสารละลายต่ากว่า ภายในร่างกาย ทาให้น้าจากภายนอกร่างกายสามารถออสโมซิสเข้าสู่ภายในร่างกาย ได้มาก ปลาน้าจืดจึงต้องมีผิวหนังและเกล็ดป้องกันการซึมเข้าของน้า มีการขับ ปัสสาวะบ่อยและเจือจาง และมีอวัยวะพิเศษที่เหงือกคอยดูดเกลือแร่ที่จาเป็น คืนสู่ร่างกาย โครงสร้างในการรักษาดุลยภาพน้าในปลาน้าจืด ที่มา:http// www.agri.kmitl.ac.th600 × 440 (28 เมษายน 2555)
  21. 21. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 22 บัตรคาถามที่ 9.2 การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุในสัตว์ คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 2. โครงสร้างที่ใช้ในการรักษาดุลยภาพของน้าและแร่ธาตุในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ก. ต่อมนาซัล ข. ต่อมเกลือ ค. หน่วยไต ง. แทรกไทล์ แวคิวโอล 3. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง ก. ปลาน้าจืดจึงต้องมีผิวหนังและเกล็ดป้องกันการซึมออกของน้า ข. ปลาน้าจืด รักษาดุลยภาพโดยกาจัดน้าภายในร่างกายออกนอกร่างกาย ค. สัตว์บก กาจัดน้าส่วนเกินออกในรูปของเหงื่อ ไอน้าในลมหายใจ ปัสสาวะ ง. ปลาน้าเค็ม มีรักษาสมดุลโดยการกาจัดยูเรียออกจากกระแสเลือดปริมาณสูง 4. โครงสร้างที่ใช้ในการรักษาดุลยภาพของน้าและแร่ธาตุในสัตว์บก คือข้อใด ก. ต่อมเกลือ ข. หน่วยไต ค. ต่อมนาซัล ง. แทรกไทล์ แวคิวโอล 5. ระดับความเข้มข้นเกลือแร่ภายในร่างกายให้ใกล้เคียงกับสภาพแวดล้อม คือข้อใด ก. ไอโซทอนิก (isotonic) ข. ไฮโพโทนิก (hypotonic) ค. ไฮเพอร์โทนิก (hypertonic) ง. เมตาโทนิด (Mata tonic) 6. ต่อมเกลือ (salt gland) ในสัตว์ปีกทาหน้าที่ใด ก. กาจัดแร่ธาตุและเกลือออกจากร่างกายในรูปของยูเรีย ข. กาจัดแร่ธาตุและเกลือออกจากร่างกายในรูปของเหงื่อ ค. กาจัดแร่ธาตุและเกลือออกจากร่างกายในรูปของยูริค ง. กาจัดแร่ธาตุและเกลือออกจากร่างกายในรูปของน้าเกลือ
  22. 22. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 23 บัตรเฉลยคาถามที่ 9.2 การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุในสัตว์ 9vตอ 1.ง 2.ค 3.ข 4.ก 5.ง ปรบมือให้คนเก่งกันหน่อยครับ
  23. 23. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 24 บัตรคาสั่งที่ 9.3 การรักษาดุลยภาพของฮอร์โมนในสัตว์ โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 9.3 ใช้เวลา 10 นาที 4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 9.3 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 3 นาที 5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 9.3 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 15 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
  24. 24. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 25 บัตรเนื้อหาที่ 9.3 การรักษาดุลยภาพของฮอร์โมนในสัตว์ การรักษาดุลยภาพในร่างกายสัตว์ การรักษาดุลยภาพของร่างกายมีสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับสัตว์ 2 ชนิด คือ สภาพแวดล้อมภายนอกตัวสัตว์ (external environment) และสภาพแวดล้อมภายใน (internal environment) ซึ่งได้แก่ของเหลวที่อาบรอบเซลล์ เลือด และน้าเหลือง ซึ่งสัตว์ จะต้องมีการรักษาสภาพแวดล้อมภายในเหล่านี้ให้ค่อนข้างคงที่หรือมีการเปลี่ยนแปลงได้ เล็กน้อยในช่วงจากัดค่าหนึ่งจึงจะทาให้สิ่งมีชีวิตดารงอยู่ได้ถึงแม้สภาพแวดล้อมภายนอก ร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก ในปี ค.ศ.1929 Walter B. Cannon นักสรีรวิทยาชาวอเมริกันเป็นผู้ที่นาเอาคาว่า “homeostasis” มาใช้เพื่อขยายความหมายของกลไกการรักษาสภาพแวดล้อมภายใน ร่างกาย (homeo = คล้ายหรือเหมือน, stasis = อยู่นิ่งหรือทรงตัว) ดังนั้น homeostasis หมายถึงการรักษาสภาพแวดล้อมภายในร่างกายให้คงที่แต่ความหมายของคาว่าคงที่ในที่นี้ ไม่ได้หมายถึงภาวะที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง หากแต่หมายถึงมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ในลักษณะที่เป็นไดนามิค (dynamic) สภาพแวดล้อมภายในร่างกายสัตว์ (The internal environment) ได้แก่ ของเหลว ที่อาบอยู่รอบ ๆ เซลล์ เรียกว่า extracellular fluid มีอยู่ 2 ชนิดคือ 1. ของเหลวที่อาบรอบเซลล์และน้าเหลือง 2. พลาสมา ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่เป็นของเหลวของเลือด สัตว์แต่ละชนิดมีวิธีการรักษาดุลยภาพเหมือน หรือแตกต่างกันอย่างไร อยากรู้เชิญทางนี้ครับ
  25. 25. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 26 โฮมีโอสเตซิสเกี่ยวข้องกับตัวแปรภายในร่างกาย (variables) ที่ต้องควบคุมเพื่อรักษาสภาพแวดล้อมภายในร่างกายของสัตว์ มีดังนี้ 1. ความเข้มข้นของออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ในร่างกาย 2. ความเป็นกรด-เบส (pH) 3. ความเข้มข้นของสารอาหารและของเสียในร่างกาย 4. ความเข้มข้นของเกลือแร่และอิเล็คโตรไลต์ 5. ปริมาตรของของเหลวนอกเซลล์รวมทั้งแรงดันออสโมติกของของเหลว 6. อุณหภูมิกาย (ในกรณีของสัตว์เลือดอุ่น) ภาพแสดงการรักษาดุลยภาพของออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ในร่างกาย ที่มา : http://www. il.mahidol.ac.th 371 × 319 (28 เมษายน 2554)
  26. 26. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 27 ตัวอย่างของการรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน 1. โฮมีโอสเตซิสของน้าในร่างกาย (osmoregulation) Osmoregulation หมายถึงการควบคุมปริมาณน้าในกระแสเลือด นี้จะรวมถึงความเข้มข้นของสาร อิเล็คโตรไลต์ในเลือด (เช่นแคลเซียม โซเดียม โพแทสเซียม คลอไรด์ และอื่น ๆ) ด้วยกลไกการควบคุมเป็นดังนี้ 1.1 การเปลี่ยนแปลงปริมาณน้าในร่างกาย กระตุ้นกลไกการควบคุม ย้อนกลับของร่างกาย 1.2 ออสโมรีเซพเตอร์ ซึ่งอยู่ที่สมองส่วนไฮโพทาลามัสรับรู้ การเปลี่ยนแปลงได้จากกระแสเลือด 1.3 ไฮโพทาลามัสส่งสารสื่อเคมีไปยังต่อมใต้สมอง 1.4 ต่อมใต้สมองหลั่งฮอร์โมน anti-diuretic hormone (ADH) ไปออกฤทธิ์ที่ท่อหน่วยไต ทาให้ท่อหน่วยไตดูดน้ากลับมากขึ้น หรือน้อยลงแล้วแต่กรณี การควบคุมการดูดน้ากลับมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณการหลั่งของ ADH นั่นเอง ภาพแสดงการทางานเพื่อรักษาสมดุลน้าของฮอร์โมน ADH ที่มา : http://www. vcharkarn.com 600 × 535 (28 เมษายน 2554)
  27. 27. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 28 โฮมีโอสเตซิสของระดับน้าตาลในเลือดร่างกายต้องการปริมาณน้าตาล ในเลือดที่พอเหมาะเพื่อสร้าง ATP แต่เนื่องจากความต้องการATP ของร่างกาย เปลี่ยนแปลงได้ตามสภาพของร่างกาย ดังนั้นร่างกายจึงต้องเตรียมปริมาณน้าตาล ในเลือดให้ได้ตามความต้องการผลิตพลังงานอยู่เสมอ ร่างกายควบคุมโฮมีโอสเตซิส ของน้าตาลในเลือดผ่านทางฮอร์โมน 2 ชนิดคือ อินซูลินและกลูคากอน ภาพแสดงการทางานเพื่อรักษาสมดุลน้าตาลของฮอร์โมนอินซูลินและกลูคากอน ที่มา : http://www3.ipst.ac.th 554 × 541 (28 เมษายน 2555) การควบคุมอุณหภูมิร่างกายของสัตว์เลือดอุ่นสัตว์เลือดอุ่นใช้กลไก การควบคุมย้อนกลับแบบลบในการรักษาอุณหภูมิของร่างกายได้หลายทาง โดยมี ศูนย์กลางที่รับสัญญาณการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิอยู่ที่ไฮโพทาลามัส ตัวรับรู้การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ เรียกว่า เทอร์โมรีเซพเตอร์ (thermoreceptor) ที่ผิวหนังจะมีเทอร์โมรีเซพเตอร์เป็นตัวรับรู้อุณหภูมิภายนอกแล้วส่งสัญญาณไปที่ ไฮโพทาลามัส ไฮโพทาลามัสจะส่งกระแสประสาทไปยังอวัยวะตอบสนอง ให้มีการทางานในทางที่จะช่วยปรับอุณหภูมิร่างกายเข้าสู่ภาวะปกติต่อไป
  28. 28. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 29 วิธีการที่สัตว์ใช้ในการปรับสมดุลของอุณหภูมิร่างกาย (Corrective mechanisms in temperature control) ได้แก่ 1. การเพิ่มหรือลดการหลั่งเหงื่อ 2. การขยายตัว-การหดตัวของหลอดเลือดบริเวณผิวหนังเพื่อการระบาย ความร้อน นอกจากนี้การหดตัวและการขยายตัวของหลอดเลือดบริเวณภายในร่างกาย ยังมีผลต่อการกระจายความร้อนและการรักษาระดับอุณหภูมิของเลือดที่ไหลกลับเข้ายัง หัวใจได้ด้วย โดยการไหลของเลือดในหลอดเลือดแดงและหลอดเลือดดาในลักษณะ ที่เป็น countercurrent flow มีบทบาทต่อการรักษาอุณหภูมิให้กับร่างกาย ด้วยเช่นกัน 3. การหดตัวของกล้ามเนื้อ piloerector ที่โคนขนเพื่อผลิตความร้อน และการสั่นของกล้ามเนื้อทั่วร่างกาย (shievering) 4. การเพิ่มหรือลดอัตราเมแทบอลิซึมของร่างกายผ่านทางการทางาน ของฮอร์โมน ภาพแสดงวิธีการที่สัตว์ใช้ในการปรับสมดุลของอุณหภูมิร่างกาย ที่มา : http://www.kruratwic.wordpress.com 595 × 602 (28 เมษายน 2555)
  29. 29. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 30 บัตรคาถามที่ 9.3 การรักษาดุลยภาพของฮอร์โมนในสัตว์ คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกอักษร ด้านล่างใส่ลงในช่อง ที่มีข้อความสัมพันธ์ กับข้อความทางด้านบน เพียงคาตอบเดียว (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. การควบคุมการดูดน้ากลับ 2. สภาพแวดล้อมภายในร่างกายสัตว์ 3. ตัวรับรู้การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ 4. โฮมีโอสเตซิสของน้าในร่างกาย (osmoregulation) 5. วิธีการที่สัตว์ใช้ในการปรับสมดุลของอุณหภูมิร่างกาย ก. การหลั่งฮอร์โมน ADH ข. การเพิ่มหรือลดการหลั่งเหงื่อ ค. การควบคุมปริมาณน้าในกระแสเลือด ง. ของเหลวที่อาบรอบเซลล์และน้าเหลือง จ. เทอร์โมรีเซพเตอร์ (thermoreceptor)
  30. 30. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 31 บัตรเฉลยคาถามที่ 9.3 การรักษาดุลยภาพของฮอร์โมนในสัตว์ 1.ก 2.ง 3.จ 4.ค 5.ข ตอบถูกหมดเลยใช่ไหม เก่งมากครับ
  31. 31. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 32 บัตรคาสั่งที่ 9.4 ปัจจัยที่มีผลต่อการควบคุมการหลั่งฮอร์โมน โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 2. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 3. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 4. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 9.4 ใช้เวลา 10 นาที 5. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 9.4 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 3 นาที 6. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 9.4 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 7. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 15 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
  32. 32. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 33 บัตรเนื้อหาที่ 9.4 ปัจจัยที่มีผลต่อการควบคุมการหลั่งฮอร์โมน ปัจจัยที่มีผลต่อการควบคุมการหลั่งฮอร์โมน การหลั่งฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อชนิดต่างๆของร่างกายจะอยู่ในสภาวะที่ร่างกาย สามารถควบคุมให้ฮอร์โมนเหล่านั้นทางานมากหรือน้อยได้ตามความต้องการ ซึ่งขึ้นอยู่กับ สภาพแวดล้อมที่เป็นสิ่งเร้าทั้งภายในและสิ่งเร้าภายนอก สิ่งเร้าภายใน ได้แก่ปริมาณของสารต่างๆในเลือดเช่น กลูโคส น้า แร่ธาตุต่างๆ และ ฮอร์โมน เป็นต้น สิ่งเร้าภายนอกได้แก่ แสง อุณหภูมิ ภาพที่ตามองเห็น เสียง เป็นต้น ภาพแสดงสิ่งเร้าควบคุมการทางานของร่างกาย ที่มา : http://www.student.nu.ac.th 600 × 279 (28 เมษายน 2555) ปัจจัยที่ควบคุมการหลั่งฮอร์โมนมีอะไรบ้าง และมีผลอย่างไรบ้างต่อการดารงชีวิต อยากรู้เชิญทางนี้นะครับ
  33. 33. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 34 อย่างไรก็ตามหากต่อมไร้ท่อรับสัญญาณจากสิ่งเร้าให้หลั่งฮอร์โมนโดยไม่จากัด อวัยวะเป้าหมายจะถูกกระตุ้นให้ทางานตลอดเวลา ทาให้เกิดผลเสียจนเป็นอันตราย ต่อชีวิต ร่างกายจึงจาเป็นต้องมีระบบควบคุมการหลั่งฮอร์โมนของต่อมไร้ท่อโดยระบบ ควบคุมดังกล่าว อาจเป็นปริมาณของฮอร์โมนเอง หรือ ระดับสารเคมีอื่น ๆ ในเลือด เพื่อให้ระบบต่างๆทางานสัมพันธ์กันและสอดประสานกันได้อย่างสมดุล เพื่อเป็นการรักษา ดุลยภาพของร่างกายที่เรียกว่า Homeostasis ดังนั้นร่างกายจึงต้องมีการควบคุม การทางานของฮอร์โมนให้พอเหมาะพอดี เพื่อไม่ให้เกิดความผิดปกติ ซึ่งทาได้ 2 ลักษณะ การควบคุมแบบยับยั้งย้อนกลับ (negative feedback) การควบคุมแบบกระตุ้นย้อนกลับ (positive feedback) กลไกการควบคุมการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง ที่มา : http://www.myfirstbrain.com 249 × 314 (28 เมษายน 2555)
  34. 34. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 35 การควบคุมแบบยับยั้งย้อนกลับ ( negative feedback ) การควบคุมแบบยับยั้งย้อนกลับ : เกิดจากเมื่อมีการหลั่งฮอร์โมนออกมาแล้วจะมี การส่งสัญญาณบางอย่างกลับไปยังแหล่งที่หลั่งฮอร์โมนออกมาให้ลดหรือห้ามการหลั่ง ฮอร์โมนจากแหล่งนั้นอีกตัวอย่างเช่น การควบคุมการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์ : เมื่อระดับ Ca++ ในเลือด ลดลงกว่าปกติของร่างกาย ต่อมพาราไทรอยด์จะหลั่งพาราทอร์โมนเข้าสู่กระแสเลือด เพื่อออกฤทธิ์ที่เซลล์เป้าหมาย เช่น กระดูกจะปล่อย Ca++ เข้าสู่กระแสเลือดเพิ่มขึ้น จนถึงระดับปกติ เมื่อระดับ Ca++ อยู่ในระดับปกติแล้ว ก็จะย้อนกลับไปยับยั้ง ต่อมพาราไทรอยด์ไม่ให้มีการหลั่งพาราทอร์โมนออกมาอีก ภาพแสดงการควบคุมการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์ ที่มา : http://www.pibul.ac.th 400 × 300 (28 เมษายน 2555)
  35. 35. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 36 การควบคุมการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ : เมื่อระดับฮอร์โมนไทรอกซิน ในเลือดสูงขึ้นจะไปยับยั้งไฮโพทาลามัสไม่ให้หลั่งฮอร์โมนกระตุ้นต่อมใต้สมองส่วนหน้า ให้หลั่งฮอร์โมน TSH ไปกระตุ้นการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ทาให้ต่อมไทรอยด์ หยุดหลั่งฮอร์โมนไทรอกซิน ภาพแสดงการควบคุมการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ ที่มา : http://www.pibul.ac.th 400 × 300 (28 เมษายน 2555)
  36. 36. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 37 การควบคุมแบบกระตุ้นย้อนกลับ ( positive feedback ) การควบคุมแบบกระตุ้นย้อนกลับ : เกิดจากเมื่อมีการหลั่งฮอร์โมนออกมาแล้ว จะมีการส่งสัญญาณบางอย่างกลับไปยังแหล่งที่หลั่งฮอร์โมนนั้นออกมาให้เพิ่มการหลั่ง ฮอร์โมนจากแหล่งนั้นอีกเช่น การควบคุมการหลั่งฮอร์โมนออกซิโทซิน : ขณะคลอดศีรษะของทารก จะขยายปากมดลูกให้กว้างออก หน่วยรับความรู้สึกบริเวณปากมดลูกจะส่งกระแส ประสาทไปยังต่อมใต้สมองส่วนหลังให้หลั่งฮอร์โมนออกซิโทซินเพิ่มขึ้นกระตุ้นการบีบตัว ของกล้ามเนื้อมดลูกให้ดันทารกออกมาเพื่อขยายปากมดลูกให้กว้างขึ้นยิ่งปากมดลูก กว้างขึ้นก็ยิ่งมีผลกระตุ้นการหลั่งฮอร์โมนออกซิโทซินมากขึ้นจนกระทั่งทารกคลอด ออกมา การหลั่งฮอร์โมนออกซิโทซินจึงจะหยุดลง ภาพแสดงการควบคุมการหลั่งฮอร์โมนออกซิโทซินขณะคลอดทารก ที่มา : http://www.vcharkarn.com 500 × 336 (28 เมษายน 2555)
  37. 37. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 38 การควบคุมการหลั่งฮอร์โมนออกซิโทซิน : ขณะทารกดูดนมแม่จะเกิดกระแส ประสาทไปกระตุ้นไฮโพทาลามัสให้ส่งสัญญาณไปกระตุ้นให้ต่อมใต้สมองส่วนหน้า หลั่งฮอร์โมนออกซิโทซินเพื่อกระตุ้นให้เต้านมบีบตัวหลั่งน้านมออกมาเมื่อทารกยิ่งดูดนม มากขึ้นยิ่งมีการหลั่งออกซิโทซินมากขึ้น ภาพแสดงการควบคุมการหลั่งฮอร์โมนออกซิโทซินขณะทารกดูดนม ที่มา : http://www.pibul.ac.th 817 × 500 (28 เมษายน 2555)
  38. 38. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 39 บัตรคาถามที่ 9.4 ปัจจัยที่มีผลต่อการควบคุมการหลั่งฮอร์โมน คาชี้แจง ให้นักเรียนใส่  ลงในช่อง หน้าข้อความที่ถูกต้อง และใส่  ลงในช่อง หน้าข้อความที่ผิด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. เมื่อระดับ Ca++ ในเลือดลดลงกว่าปกติ ต่อมพาราไทรอยด์จะหลั่งฮอร์โมน พาราทอร์โมนเข้าสู่กระแสเลือด 2. เมื่อระดับฮอร์โมนไทรอกซินในเลือดสูงขึ้นจะไปกระตุ้นไฮโพทาลามัสให้หลั่ง ฮอร์โมน TSH 3. ขณะคลอดศีรษะของทารกปากมดลูกจะขยายกว้างออกเพราะมีฮอร์โมน ออกซิโทซินเพิ่มขึ้น 4. เมื่อทารกยิ่งดูดนมมากขึ้น จะมีหลั่งฮอร์โมนออกซิโทซินเพื่อกระตุ้นให้ เต้านมบีบตัวหลั่งน้านมออกมาน้อย 5. สิ่งเร้าภายในที่ควบคุมการหลั่งฮอร์โมน ได้แก่ กลูโคส น้า แร่ธาตุต่าง ๆ และ ฮอร์โมน
  39. 39. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 40 บัตรเฉลยคาถามที่ 9.4 ปัจจัยที่มีผลต่อการควบคุมการหลั่งฮอร์โมน 1. 2. 3. 4. 5. ตอบถูกหมดเลยใช่ไหม เก่งมากครับ
  40. 40. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 41 แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. การทางานของฮอร์โมนจะควบคุมการทางานของอวัยวะเป้าหมายอย่างไร ก. ทุกเวลา ข. ไม่จากัดบริเวณ ค. เฉพาะบางเวลา ง. โดยเฉพาะเจาะจง 2. การรักษาสมดุลของฮอร์โมนในข้อใดที่ทางานแบบสภาวะตรงข้ามกัน ก. อินซูลิน กับ กลูคากอน ควบคุมเมเทบอลิซึมกลูโคส ข. ไทรอกซินและพาราทอร์โมน ควบคุมสมดุลแคลเซียม ค. โพรเจสตินและเอสโทรเจนทาให้เกิดความแตกต่างทางเพศ ง. เอพิเนฟรินและนอร์เอพิเนฟริน ทาหน้าที่ตรงกันข้ามในปฏิกิริยาสู้หรือหนี 3. ฮอร์โมนควบคุมการหลั่งของโทรฟิกฮอร์โมน คือข้อใด ก. อินซูลิน ข. กลูคากอน ค. FSH และ LH ง. พาราทอร์โมน 4. สารเคมี ที่ออกมาสู่กระแสเลือด และถูกเปลี่ยนไปเป็น angiotensin ซึ่งไปกระตุ้นให้ ต่อมหมวกไตชั้นนอก (adrenal cortex) หลั่งฮอร์โมน aldosterone คือข้อใด ก. Cretin ข. Renin ค. Insulin ง. Retinin 5. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่องค์ประกอบของกลไกการควบคุมแบบย้อนกลับ ก. ตัวรับ (receptor) ข. ตัวตอบสนอง (effector) ค. เทอร์โมสตัด (thermostat) ง. ศูนย์ควบคุม (control center)
  41. 41. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 42 6. โครงสร้างที่ใช้ในการรักษาดุลยภาพของน้าและแร่ธาตุในสัตว์บก คือข้อใด ก. ต่อมเกลือ ข. หน่วยไต ค. ต่อมนาซัล ง. แทรกไทล์ แวคิวโอล 7. ระดับความเข้มข้นเกลือแร่ภายในร่างกายให้ใกล้เคียงกับสภาพแวดล้อม คือข้อใด ก. ไอโซทอนิก (isotonic) ข. ไฮโพโทนิก (hypotonic) ค. ไฮเพอร์โทนิก (hypertonic) ง. เมตาโทนิด (Mata tonic) 8. ฮอร์โมนที่มีบทบาทสาคัญในการควบคุมระดับแคลเซียมในเลือด คือ ก. Thyroxin , Glucagon ข. Calcitonin , Parathormone ค. Prolactin , Oxytocin ง. Aldosterone , Cortisol 9. ฮอร์โมนกลุ่มใดควบคุมการดูดน้ากลับคืนท่อหน่วยไต ก. Vasopressin ข. Epinephrine ค. Calcitonin' ง. Thyroxin 10. ข้อใดต่อไปนี้แสดงให้เห็นถึง Negative feedback mechanism ก. กระบวนการดูดกลุโคสกลับคืนของท่อหน่วยไต ข. การขับน้ามันออกทางผิวหนังเพื่อลดการสูญเสียน้าทางผิวหนัง ค. ความสัมพันธ์ระหว่างต่อมใต้สมอง ต่อมไทรอยด์ และระดับฮอร์โมนไทรอกซิน ในกระแสเลือด ง. ซากสิ่งมีชีวิตเกิดการย่อยสลายเป็นสารประกอบที่พืชสามารถนากลับมาใช้ ประโยชน์ได้อีก
  42. 42. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 43 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 9vตอ 1.ง 6. ข 2.ก 7. ก 3.ค 8. ข 4.ข 9. ก 5.ค 10. ค ถูกหมดเลย เก่งมากครับ
  43. 43. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 44 บรรณานุกรม เกษม ศรีพงษ์ และคณะ. ชีววิทยา. กรุงเทพฯ : ชมรมบัณฑิตแนะแนว, 2540. ____________. คู่มือเตรียมสอบ ชีววิทยา เล่ม 1 ช่วงชั้นที่ 4 (ม.4- ม.6). กรุงเทพฯ : ภูมิบัณฑิตการพิมพ์, 2537. ธนะชัย ทองศรีนุช และคณะ. คู่มือชีววิทยา 6 ว 044. กรุงเทพ ฯ : ประสานมิตร, 2533. นันทิยา บุญเคลือบ และคณะ. พจนานุกรมวิทยาศาสตร์ ฉบับภาพประกอบ. กรุงเทพ ฯ : โปรดัคทีฟ บุ๊ค , 2541. ประพันธ์ พนธารา. สรุปเข้มชีววิทยาพื้นฐานและเพิ่มเติมใหม่ . กรุงเทพ ฯ : ซีแอนด์เอ็นบุ๊ค. แม็ค, 2552. ปรีชา สุวรรณพินิจ และ นงลักษณ์ สุวรรณพินิจ. ชีววิทยา ม.6 เล่ม 5. กรุงเทพฯ: เจริญดีการพิมพ์, 2536. สมาน แก้วไวยุทธ. คู่มือเตรียมสอบชีววิทยา ม.4 – 5 – 6 . กรุงเทพฯ : ไทเนรมิต อินเตอร์โปรเกรสซีฟ. 2537. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน, โครงการ. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน เล่ม 10. กรุงเทพ ฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2531. สมใจ รักษาศรี. ชีววิทยา Essential Atlas of Biology. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น, 2547. ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. กระทรวงศึกษาธิการ . หนังสือเรียนชีววิทยา เล่ม 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2548 ____________. คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2548. ____________. หนังสือเรียนวิชาชีววิทยา ว044 ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 . กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2536. http://www.kruratwic.wordpress.com 595 × 602 (28 เมษายน 2555) http://www3.ipst.ac.th 554 × 541 (28 เมษายน 2555) http://www. vcharkarn.com 600 × 535 (28 เมษายน 2555) http://www. il.mahidol.ac.th 371 × 319 (28 เมษายน 2555) http://www.pibul.ac.th 817 × 500 (28 เมษายน 2555) http://www.vcharkarn.com 500 × 336 (28 เมษายน 2555) http://www.pibul.ac.th 400 × 300 (28 เมษายน 2555) http://www.pibul.ac.th 400 × 300 (28 เมษายน 2555)
  44. 44. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 9 เรื่อง ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพในร่างกาย 45 http://www.kruratwic.wordpress.com 595 × 602 (28 เมษายน 2555) http://www3.ipst.ac.th 554 × 541 (28 เมษายน 2555) http://www. vcharkarn.com 600 × 535 (28 เมษายน 2555) http://www. il.mahidol.ac.th 371 × 319 (28 เมษายน 2555) http://www.pibul.ac.th 817 × 500 (28 เมษายน 2555) http://www.vcharkarn.com 500 × 336 (28 เมษายน 2555) http://www.pibul.ac.th 400 × 300 (28 เมษายน 2555) http://www.pibul.ac.th 400 × 300 (28 เมษายน 2555) http://www.myfirstbrain.com 249 × 314 (28 เมษายน 2555) http://www.student.nu.ac.th 600 × 279 (28 เมษายน 2555) http://www.lks.ac.th 400 × 300 (28 เมษายน 2555) http://www.lks.ac.th 400 × 300 (28 เมษายน 2555) http://www.lks.ac.th 400 × 300 (28 เมษายน 2555) http://www.lks.ac.th 400 × 300 (28 เมษายน 2555) http://www. pibul.ac.th 817 × 500 (28 เมษายน 2555) http://www. vcharkarn.com 700 × 393 (28 เมษายน 2555)