นักบริหารที่ดีควรยึดหลักธรรมใด

ในช่วงวันหยุดยาวในวันพระใหญ่แบบนี้ ถือเป็นโอกาสดีในการเข้าวัดทำบุญเสริมสร้างสิริมงคลกัน วันนี้เราจึงมาพูดถึงหลักธรรมคำสอนที่เหมาะกับการทำงาน นั่นก็คือ “อิทธิบาท 4” ก็คือ 4 หลักการ ที่จะทำให้เราประสบความสำเร็จตามเป้าหมายได้ทุกอย่างที่เราต้องการ ถ้าเราสามารถนำไปปรับใช้ได้อย่างเหมาะสม…

1. ฉันทะ : มีใจรักในงานที่ทำ

นักบริหารที่ดีควรยึดหลักธรรมใด

การทำงานให้ประสบความสำเร็จ จุดเริ่มต้นที่ง่ายๆ แต่สำคัญอย่างมาก คือการมีความสุขกับงานที่ทำอยู่ และการจะมีความสุขกับงานได้นั้น ก่อนอื่นคือคุณต้องชื่นชอบในสิ่งที่ทำ และพึงพอใจกับหน้าที่ที่ได้รับ ลองสังเกตตัวเองดูว่า ทุกวันนี้ทำงานแล้วรู้สึกสนุกไหม หรือพอถึงเวลางานทีไรแล้วรู้สึกเหมือนร่างกายจะพัง พลังแทบไม่มีทุกที แบบนี้ก็น่าเป็นห่วงแล้วล่ะว่าคุณอาจจะไม่ได้ชอบในงานหรือสิ่งที่คุณทำอยู่เท่าไร ลองเปลี่ยนมาทำอะไรที่คุณชอบและสนุกไปกับมันดีกว่านะ

2. วิริยะ : มุ่งมั่นทุ่มเทกับงานที่ได้รับมอบหมาย

นักบริหารที่ดีควรยึดหลักธรรมใด

ถึงแม้ว่าคุณจะชอบและรักในงานของคุณแค่ไหน แต่ถ้าหากขาดสิ่งนี้ไปประตูสู่ประสบความสำเร็จก็น่าจะไกลหน่อย นั่นคือความขยันหมั่นเพียร หลายๆ ครั้งที่คุณอาจจะรู้สึกว่างานก็เยอะ เดดไลน์ก็ใกล้เข้ามาแล้ว แต่ถ้าเอาแต่ผลัดก็ไม่มีวันเสร็จสักที ความขยันก็เหมือนบันไดที่พาคุณเดินไปสู่ความสำเร็จทีละขั้น ถึงแม้ว่ามันอาจจะเหนื่อย เมื่อยล้า ไม่สบายเหมือนขึ้นลิฟต์ ค่อยๆ เป็นค่อยๆ ไป แต่ก็ทำให้คุณถึงจุดหมายของคุณได้อย่างแน่นอน

3. จิตตะ : มีสมาธิและจดจ่อกับงานที่ทำอยู่

นักบริหารที่ดีควรยึดหลักธรรมใด

หลายครั้งในเวลาที่คุณทำงาน อาจมีเรื่องต่างๆ มารบกวนการทำงานของคุณ ซึ่งทำให้คุณไม่มีสมาธิในการทำงาน จิตใจฟุ้งซ่านเอาแต่คิดเรื่องอื่น เช่น ตอนทำงานนี้ ก็อาจจะพะวงว่างานนั้นจะเป็นอย่างไร หรือพอทำงานใหม่ ก็คิดว่างานเก่าที่ยังไม่เสร็จจะส่งทันไหมนะ และทุกๆ ครั้งที่มีสิ่งรบกวนเหล่านั้น ก็จะทำให้ไม่สามารถจดจ่ออยู่กับงานได้อย่างที่ควรจะเป็น และผลลัทธ์ที่ออกมาก็จะไม่มีประสิทธิภาพ ขาดความรอบคอบและความใส่ใจในตัวงาน ทางแก้ก็คือตั้งสติ และมีสมาธิจดจ่ออยู่กับปัจจุบันเสมอ

4. วิมังสา : ทบทวนในงานที่ทำและพัฒนาต่อยอด

นักบริหารที่ดีควรยึดหลักธรรมใด

อีกสิ่งหนึ่งที่ถือว่าเป็นส่วนสำคัญในการทำงาน แบบที่เราไม่สามารถขาดสิ่งนี้ไปได้นั่นคือปัญญา หรือความรู้ ความสามารถ ต่อให้เรารักในงานที่ทำอยู่ ขยันหมั่นเพียร ใจจดจ่อขนาดที่ว่าทุ่มเททั้งแรงกายแรงใจให้งานเพียงอย่างเดียว แต่หากขาดการพินิจพิเคราะห์ ไตร่ตรอง ใช้สมองคิด งานก็อาจจะผิดพลาดได้ และหลังจากที่ทำงานสำเร็จลุล่วงแล้ว ก็ควรมีการติดตามผลหลังจากนั้นเช่นกัน หากมีข้อผิดพลาดก็เรียนรู้จากสิ่งนั้น และปรับปรุงในครั้งต่อๆ ไป ให้ดีขึ้นกว่าเดิม

นักบริหารที่ดีควรยึดหลักธรรมใด

�Ըպ����çҹ����  ��� ����ҸԻ�·�����駾��പ��о�Фس��觷�������駹��㨤���мŢͧ�ҹ  �ѡ������Ẻ����ҸԻ���ִ��������ѡ㹡�ú��������ո���������¡��� ��� � ��С��� ������ ���

�) �ѭ�Ҿ��    ���ѧ����������ͤ�����Ҵ

�) ����¾��        ���ѧ��觤�������

�) ͹�Ѫ����   ���ѧ�ҹ�������������ͤ����ب�Ե

�) �ѧ�˾��      ���ѧʧ������ ��������������ѹ��

������͡��ѧ��觤س������� � ��С�� �������ѡ�����û�Ժѵ�˹�ҷ�����ҧ�ջ���Է���Ҿ ����Ǥ�� �ѡ������ ������ö�ҧἹ �Ѵͧ���� �觵�駺ؤ�ҡ� �ӹ�¡�� ��ФǺ�����յ�ͧ�դ�����Ҵ ��ѹ  �ب�Ե�������������ѹ�� ������դس������� � ��� �ҡ������� ����觷ӧҹ���ջ���Է���Ҿ�ҡ�����ҹ�� �ç�ѹ���� ����ä�㴢Ҵ�س������� � ��С�� �����§�ҧ��� �ҡ��繹ѡ�����÷��������

�ѡ�����õ�ͧ�繤���Ҵ�ͺ�����Т�ѹ�ѹ�� ����ͧ�����������¡��������˵��  ���������¨���ҹ�繹ѡ�����������㴡�����ͧ������������͹��

���ҧ���շ�駤�����Ҵ��Ф�����ѹ ���ҡ�������Ѻ�������͹���˹��繹ѡ������������ͺ������ǡ����Ѻ��͸Ժ�¨ҡ����˭���� "������� ���� � �����͡ �����������ҧ���Ǥ����� ���繤�����Ҵ��Т�ѹ ���Ҵ⡧��Т�ѹ⡧"  �ѧ��鹹ѡ�����÷��յ�ͧ�դ�����Ҵ ������ѹ ��Ф����ب�Ե

���ҧ���դس������������С�� ��� �繤���Ҵ ��ѹ����ب�Ե ���ҡ�������Ѻ�������͹���˹��繹ѡ������ ������ͺ������ǡ����Ѻ��͸Ժ����� "��������繤��ը�ԧ  �褧�繤��շ���š����ͧ��������Ҷ�͵����ҩ�Ҵ���Ҥ���� �֧��������Ծҡ���Ԩ�ó��Ǻ�ҹ ��ѹ����ѵ�ٷ����  ���繤����ٴ�������٤���Ф�͹��ҧ����駹���" ����ʴ���Ҥ������Ҵ����������ѹ��֧�ӧҹ�����Ѻ����������

เป็นหลักธรรมอันเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน้ำใจของกันและกันเห็นเหตุให้ตนเอง และหมู่คณะก้าวไปสู่ความเจริญรุ่งเรือง

1.ทาน ให้ปันสิ่งของแก่คนที่ควรให้

2.ปิยวาจา เจรจาด้วยถ้อยคำไพเราะอ่อนหวาน

3.อัตถจริยา ประพฤติในสิ่งที่เป็นประโยชน์

4.สมานนัตตตา วางตนให้เหมาะสมกับฐานะของตน

๔.อิทธิบาท 4

เป็นหลักธรรมถือให้เกิดความสำเร็จ

1.ฉันทะ ความพึงพอใจในงาน

2.วิริยะ ความขยันมั่นเพียร

3.จิตตะ ความมีใจฝักใฝ่เอาใจใส่ในงาน

4.วิมังสา ไตร่ตรองหาเหตุผล

๕.ทศพิธราชธรรม 10 ประการ

เป็นหลักธรรมสำหรับพระมหากษัตริย์จะพึงถือปฏิบัติมาแต่โบราณกาลแด่นักบริหาร เช่น

สรรพสามิตจังหวัด สรรพสามิตอำเภอ ก็น่าจะนำไปอนุโลมถือปฏิบัติได้

หลักทศพิธราชธรรม 10 ประการ มีอยู่ดังนี้

1. ทาน คือ การให้ปัน ซึ่งอาจเป็นการให้เพื่อบูชาคุณหรือให้เพื่อเป็นการอนุเคราะห์

2. ศีล ได้แก่การสำรวม กาย วาจา ใจ ให้เรียบร้อยสะอาดดีงาม

3. บริจาค ได้แก่ การให้ทรัพย์สิ่งของเพื่อเป็นการช่วยเหลือหรือความทุกข์ยากเดือดร้อน

                 ของผู้อื่นหรือเป็นการเสียสละเพื่อหวังให้ผู้รับได้รับความสุข

4. อาชวะ ได้แก่ ความมีอัธยาศัยซื่อตรงมั่นในความสุจริตธรรม

5. มัทวะ ได้แก่ ความมีอัธยาศัยดีงาม ละมุนละไม อ่อนโยน สุภาพ

6. ตบะ ได้แก่ การบำเพ็ญเพียรเพื่อขจัดหรือทำลายอกุศลกรรมให้สิ้นสูญ

7. อโกรธะ ได้แก่ ความสามารถระงับหรือขจัดเสียได้ซึ่งความโกรธ

8. อวิหิงสา ได้แก่ การไม่เบียดเบียนคนอื่น

9. ขันติ ได้แก่ ความอดกลั้นไม่ปล่อยกาย วาจา ใจ ตามอารมณ์หรือกิเลสที่เกิดมีขึ้นนั้น

10. อวิโรธนะได้แก่ การธำรงค์รักษาไว้ซึ่งความยุติธรรม

๖.บารมี 6

เป็นหลักธรรมอันสำคัญที่จะนิยมมาซึ่งความรักใคร่นับถือ นับว่าเป็นหลักธรรมที่เหมาะมาก

สำหรับนักบริหารจะพึงยึดถือปฎิบัติ มีอยู่ 6 ประการคือทาน

1. ทาน การให้เป็นสิ่งที่ควรให้

2. ศีล การประพฤติในทางที่ชอบ

3. ขันติ ความอดทนอดกลั้น

4. วิริยะ ความขยันหมั่นเพียร

5. ฌาน การเพ่งพิจารณาให้เห็นของจริง

6. ปรัชญา ความมีปัญญารอบรู้

๗.ขันติโสรัจจะ

เป็นหลักธรรมอันทำให้บุคคลเป็นผู้งาม (ธรรมทำให้งาม)

1. ขันติ คือ ความอดทน มีลักษณะ 3 ประการ

1.1 อดใจทนได้ต่อกำลังแห่งความโกรธแค้นไม่แสดงอาการ กาย วาจา ที่ไม่น่ารัก

ออกมาให้เป็นที่ปรากฏแก่ผู้อื่น

1.2 อดใจทนได้ต่อความลำบากตรากตรำหรือความเหน็ดเหนื่อย

2. โสรัจจะ ความสงบเสงี่ยม ทำจิตใจให้แช่มชื่นไม่ขุนหมอง

๘.ธรรมโลกบาล

เป็นหลักธรรมที่ช่วยคุ้มครองโลก หรือมวลมนุษย์ให้อยู่ความร่มเย็นเป็นสุข มี 2 ประการคือ

1. หิริ ความละอายในตนเอง

2. โอตัปปะ ความเกรงกลัวต่อทุกข์ และความเสื่อมแล้วไม่กระทำความชั่ว

๙.อธิฐานธรรม 4

เป็นหลักธรรมที่ควรตั้งไว้ในจิตใจเป็นนิตย์ เพื่อเป็นเครื่องนิยมนำจิตใจให้เกิดความรอบรู้ความจริง

รู้จักเสียสละ และบังเกิดความสงบ มี 4 ประการ

    1. ปัญญา ความรู้ในสิ่งที่ควรรู้ รู้ในวิชา

     2. สัจจะ ความจริง คือประพฤติสิ่งใดก็ให้ได้จริงไม่ทำอะไรจับจด

     3. จาคะ สละสิ่งที่เป็นข้าศึกแห่งความจริงใจ คือ สละความเกียจคร้าน หรือความหวาดกลัวต่อความยุ่งยาก ลำบาก
     4. อุปสมะ สงบใจจากสิ่งที่เป็นข้าศึกต่อความสงบ คือ ยับยั้งใจมิให้ปั่นป่วนต่อความพอใจ

           รักใคร่ และความขัดเคืองเป็นต้น

๑๐.คหบดีธรรม 4

เป็นหลักธรรมของผู้ครองเรือนพึงยึดถือปฏิบัติ มี 4 ประการ คือ

1. ความหมั่นเพียร

2. ความโอบอ้อมอารี

3. ความไม่ตื่นเต้นมัวเมาในสมบัติ

4. ความไม่เศร้าโศกเสียใจเมื่อเกิดภัยวิบัติ

๑๑.ราชสังคหวัตถุ 4

เป็นหลักธรรมอันเป็นเครื่องช่วยในการวางนโยบายบริหารบ้านเมืองให้ดำเนินไปด้วยดี มี 4 ประการ คือ

1. ลัสเมธัง ความเป็นผู้ฉลาดปรีชาในการพิจารณาถึงผลิตผลอันเกิดขึ้นในแผ่นดิน แล้วพิจารณาผ่อนผันจัดเก็บเอาแต่บางส่วนแห่งสิ่งนั้น

2. ปุริสเมธัง ความเป็นผู้ฉลาดในการดูคนสามารถเลือกแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งในความถูกต้องและเหมาะสม

3. สัมมาปาลัง การบริหารงานให้ต้องใจประชาชน

4. วาจาเปยยัง ความเป็นบุคคลมีวาจาไพเราะรู้จักผ่อนสั้นผ่อนยาวตามเหตุการณ์ ตามฐานะและตามความเป็นธรรม

๑๒.สติสัมปชัญญะ

เป็นหลักธรรมอันอำนวยประโยชน์แก่ผู้ประพฤติเป็นอันมาก

1.สติ คือ ความระลึกได้ก่อนทำ ก่อนบูชา ก่อนคัด คนมีสติจะไม่เลินเล่อ เผลอตน

2.สัมปชัญญะ คือ ความรู้ตัวในเวลากำลังทำ กำลังพูด กำลังคิด

๑๓.อกุศลมูล 3 อกุศลมูล คือ รากเหง้าของความชั่ว มี 3 ประการคือ

1. โลภะ ความอยากได้

2. โทสะ ความคิดประทุษร้ายเขา

3. โมหะ ความหลงไม่รู้จริง

๑๔.นิวรณ์ 5

นิวรณ์ แปลว่า ธรรมอันกลั้นจิตใจไม่ให้บรรลุความดี มี 5 ประการ

1. กามฉันท์ พอใจรักใคร่ในอารมณ์ มีพอใจในรูป เป็นต้น

2. พยาบาท ปองร้ายผู้อื่น

3. ถีนมิทธะ ความที่จิตใจหดหู่และเคลิบเคลิ้ม

4. อุธัจจะกุกกุจจะ ความฟุ้งซ่านและรำคาญ

5. วิจิกิจฉา ความลังเลไม่ตกลงใจได้

ผู้กำจัดหรือบรรเทานิวรณ์ได้ ย่อมได้นิสงส์ 5 ประการคือ

1. ไม่ข้องติดอยู่ในกายตนหรือผู้อื่นจนเกินไป

2. มีจิตประกอบด้วยเมตตา

3. มีจิตอาจหาญในการประพฤติความดี

4. มีความพินิจและความอดทน

5. ตัดสินใจในทางดีได้แน่นอนและถูกต้อง

๑๕.เวสารัชชกรณะ 5

เวสารัชชกรณะ แปลว่า ธรรมที่ยังความกล้าหาญให้เกิดขึ้นมี 5 ประการ คือ

1. ศรัทธา เชื่อในสิ่งที่ควรเชื่อ

2. ศีล ประพฤติการวาจาเรียบร้อย

3. พาหุสัจจะ ความเป็นผู้ศึกษามาก

4. วิริยารัมภะ ตั้งใจทำความพากเพียร

5. ปัญญา รอบรู้สิ่งที่ควรรู้

๑๖.อริยทรัพย์ 7

1. ศรัทธา เชื่อในสิ่งที่ควรเชื่อ

2. ศีล ประพฤติการวาจาเรียบร้อย

3. หิริ ความละอายต่อบาปทุจริต

4. โอตัปปะ ความสะดุ้งกลัวต่อบาปทุจริต

5. พาหุสัจจะ ความเป็นคนได้ยินได้ฟังมามาก

6. จาคะ การให้ปันสิ่งของแก่คนที่ควรให้

7. ปัญญา ความรอบรู้ทั้งสิ่งที่เป็นประโยชน์และสิ่งที่เป็นไท

๑๗.สัปปุริสธรรม 7

เป็นหลักธรรมอันเป็นของคนดี (ผู้ประพฤติชอบ) มี 7 ประการ

1. ธัมมัญญุตา ความเป็นผู้รู้ว่าเป็นเหตุ

2. อัตถัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักผล

3. อัตตัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักตน

4. มัตตัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักประมาณ

5. กาลัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักกาลเวลาอันเหมาะสม

6. ปุริสัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักสังคม

7. บุคคลโรปรัชญญุตา ความเป็นผู้รู้จักคบคน

๑๘.คุณธรรมของผู้บริหาร 6

ผู้บริหาร นอกจากจะมีคุณวุฒิในทางวิชาการต่าง ๆ แล้วยังจำเป็นต้องมีคุณธรรมอีก 6 ประการ

1. ขมา มีความอดทนเก่ง

2. ชาตริยะ ระวังระไว

3. อุฎฐานะ หมั่นขยัน

4. สังวิภาคะ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่

5. ทยา เอ็นดู กรุณา

6. อิกขนา หมั่นเอาใจใส่ตรวจตราหรือติดตาม

๑๙.ยุติธรรม 5

นักบริหารหรือผู้นำมักจะประสบปัญหาหรือร้องเรียนขอความเป็นธรรมอยู่เป็นประจำ

หลักตัดสินความเพื่อให้เกิดความ “ยุติธรรม” มี 5 ประการ คือ

1. สัจจวา แนะนำด้วยความจริงใจ

2. บัณฑิตะ ฉลาดและแนะนำความจริงและความเสื่อม

3. อสาหะเสนะ ตัดสินด้วยปัญญาไม่ตัดสินด้วยอารมณ์ผลุนผลัน

4. เมธาวี นึกถึงธรรม (ยุติธรรม) เป็นใหญ่ไม่เห็นแก่อามิสสินจ้าง5. ธัมมัฎฐะ ไม่ริษยาอาฆาต ไม่ต่อเวร

๒๐.ธรรมเครื่องให้ก้าวหน้า 7

นักบริหารในตำแหน่งต่าง ๆ ย่อมหวังความเจริญก้าวหน้าได้รับการเลื่อนชั้นเลื่อนตำแหน่งสูงขึ้นพระพุทธองค์ทรงตรัสธรรมเครื่องเจริญยศ (ความก้าวหน้า) ไว้ 7 ประการ คือ

1. อุฎฐานะ หมั่นขยัน

2. สติ มีความเฉลียว

3. สุจิกัมมะ การงานสะอาด

4. สัญญตะ ระวังดี

5. นิสัมมการี ใคร่ครวญพิจารณาแล้วจึงธรรม

6. ธัมมชีวี เลี้ยงชีพโดยธรรม

๒๑.ไตรสิกขา

เพื่อเป็นการสนับสนุนให้เกิดความตั้งใจดีและมีมือสะอาด นักบริหารต้องประกอบตนไว้ใน

ไตรสิกขาข้อที่ต้องสำเหนียก 3 ประการ คือ

1. ศีล

2. สมาธิ

3. ปัญญา

ทั้งนี้เพราะ ศีล เป็นเครื่องสนับสนุนให้กาย (มือ) สะอาด

สมาธิ เป็นเครื่องสนับสนุนให้ใจสงบ

ปัญญา เป็นเครื่องทำให้ใจสว่าง รู้ถูก รู้ผิด

๒๒.พระพุทธโอวาท 3

นักบริหารที่ทำงานได้ผลดี เนื่องจากได้ ”ตั้งใจดี” และ “มือสะอาด” พระพุทธองค์ได้วางแนวไว้ 3 ประการ ดังนี้

1. เว้นจากทุจริต การประพฤติชั่ว ทางกาย วาจา ใจ

2. ประกอบสุจริต ประพฤติชอบ ทางกาย วาจา ใจ

3. ทำใจของตนให้บริสุทธิ์สะอาด ไม่โลภ ไม่โกรธ ไม่หลง

การนำหลักธรรมที่ประเสริฐมาปฎิบัติ ย่อมจักนำความเจริญ ตลอดจนความสุขกาย

สบายใจ ให้บังเกิดแก่ผู้ประพฤติทั้งสิ้น สมดังพุทธสุภาษิตที่ว่า “ ธัมโม หเว รักขติ ธัมมจาริง” ธรรมะย่อมคุ้มครองรักษาผู้ประพฤติธรรม

หลักธรรมสำหรับผู้บริหาร คือข้อใด

เมตตา คือ การเห็นอกเห็นใจผู้ใต้บังคับบัญชา กรุณา คือ การช่วยเหลือ มุทิตา คือ รู้สึกยินดีหรือดีใจ และ อุเบกขา คือ การวางเฉยกับปัญหาที่เล็กน้อย หลักธรรมแห่งความเป็นจริง "อริยสัจ 4"

ข้อใดคือหลักธรรมของนักบริหารที่พระพุทธเจ้าทรงใช้

ทศพิธราชธรรม เป็นข้อปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบสำหรับพระมหากษัตริย์ที่ทรงใช้ปกครองพระ ราชอาณาจักร และเป็นหลักธรรมของผู้บริหารทุกระดับ ที่จะพึงใช้ประกอบการปฏิบัติงานของตน ให้บรรลุ ความสำเร็จตามเป้าหมายเพื่อประโยชน์สุขแก่ประชาชนโดยร่วม เป็นคุณธรรมที่โบราณบัณฑิตได้บัญญัติไว้ ก่อนสมัยพุทธกาล ซึ่งพระมหากษัตริย์ในอดีตได้ทรงถือ ...

หลักธรรมใดสำคัญที่สุดที่ผู้บริหารทุกคนควรนำมาใช้ในการบริหารงาน

การครองคนของผู้บริหารในองค์การต้องใช้หลักธรรมพรหมวิหาร ๔ คือ ธรรมเครื่องอยู่อย่าง ประเสริฐ/ธรรมประจาใจอันประเสริฐ ๔ ประการ ซึ่งเป็นหลักการประพฤติที่ประเสริฐบริสุทธิ์ธรรมที่ต้องมีไว้เป็น หลักของจิตใจและก ากับความประพฤติ เชื่อได้ว่าด าเนินชีวิตหมดจดและปฏิบัติตนต่อมนุษย์ทั้งหลายโดยชอบ ผู้บริหารที่มีพรหมวิหารธรรมย่อมมีความ ...

หลักธรรมที่ผู้ปกครองควรยึดถือคือข้อใด

ทศพิธราชธรรม หรือ ราชธรรม 10 คือจริยวัตร 10 ประการที่พระเจ้าแผ่นดินทรงประพฤติเป็น หลักธรรม ประจำพระองค์ หรือเป็นคุณธรรมประจำตนของผู้ปกครองบ้านเมือง ให้มีความเป็นไปโดยธรรมและยังประโยชน์สุขให้เกิดแก่ประชาชนจนเกิดความชื่นชมยินดี ซึ่งความจริงแล้วไม่ได้จำเพาะเจาะจงสำหรับพระเจ้าแผ่นดินหรือผู้ปกครองแผ่นดินเท่านั้น บุคคลธรรมดา ...