ข้อใดคือขั้นตอนแรกในการใช้วิทยาการข้อมูล

1. ข้อใดคือคุณลักษณะเบื้องต้นของพลเมืองดิจิทัล 1. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสม่ำเสมอและมีประสิทธิภาพ 2. มีทักษะและความรู้ที่หลากหลายในการใช้อินเทอร์เน็ตผ่านอุปกรณ์และช่องทางการสื่อสารประเภทต่าง ๆ 3. มีทักษะการใช้อินเทอร์เน็ตและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการดำรงชีวิตประจำวัน 4. ถูกทุกข้อ 2. ข้อใดกล่าวถึงความหมายของพลเมืองดิจิทัล (Digital Citizens) ได้ถูกต้องที่สุด 1. เป็นพลเมืองที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสม่ำเสมอ 2. เป็นพลเมืองที่มีความสามารถในการใช้อินเทอร์เน็ตในการบริหารจัดการ ควบคุม กำกับตน รู้ผิดรู้ถูก และรู้เท่าทัน 3. เป็นพลเมืองที่ใช้อินเทอร์เน็ตผ่านอุปกรณ์และช่องทางการสื่อสารประเภทต่าง ๆ 4. เป็นพลเมืองใช้อินเทอร์เน็ตและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการดำรงชีวิตประจำวัน 3. ข้อใดเกี่ยวข้องกับ การเป็นพลเมืองดิจิทัล (Digital Citizens) น้อยที่สุด 1. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 2. การใช้อินเทอร์เน็ตในการบริหารจัดการ 3. การใช้อุปกรณ์สื่อสารและช่องทางการสื่อสารประเภทต่าง ๆ 4. การใช้อินเทอร์เน็ตในการดำรงชีวิตประจำวัน 4. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับมิติความเป็นพลเมืองดิจิทัล 1. มิติการรักษาอัตลักษณ์และข้อมูลส่วนบุคคล 2. มิติของกิจกรรมทางธุรกิจ 3. มิติทักษะและความสามารถในสภาพแวดล้อมดิจิทัล 4. มิติจริยธรรมทางดิจิทัล 5. ข้อใดไม่นับว่าเป็น แหล่งทรัพยากรสารสนเทศ บนเว็บไซต์ 1. Website 2. Cloud Computing 3. Data Mining 4. E-mail 6. พลเมืองดิจิทัลจะต้องมีความรับผิดชอบด้านใดบ้าง 1. ความรับผิดชอบต่อผลประโยชน์ตนเอง 2. ความรับผิดชอบต่อรายได้ที่พึงได้รับ 3. ความรับผิดชอบต่อชุมชน 4. ถูกทุกข้อ 7. ข้อมูลส่วนตัวประเภทใดต่อไปนี้ที่เราต้องคิดก่อนที่จะแชร์ในโลกออนไลน์ 1. ชื่อ-นามสกุลจริง 2. อาหารที่น้องหมาที่บ้านชอบ 3. กีฬาที่ชอบเล่น 4. หนังสือที่ชอบอ่าน 8. ระดับความเป็นส่วนตัว (privacy) ทางดิจิทัล ขึ้นอยู่กับข้อใด 1. ขึ้นอยู่กับสถานที่ 2. ขึ้นอยู่กับเวลาที่เผยแพร่ข้อมูล 3. ขึ้นอยู่กับเเต่ละบุคคลเเละบริบทด้านสังคมเเละวัฒนธรรม 4. ขึ้นอยู่กับการเดินทางโดยการใช้ GPS นำทาง 9. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบความฉลาดทางดิจิทัล 1. อัตลักษณ์ทางดิจิทัล 2. การใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัล 3. การสื่อสารในโลกดิจิทัล 4. เปิดกว้างการใช้งานโดยไม่มีเงื่อนไข 10. คุณสมบัติของพลเมืองดิจิทัลคืออะไร 1. ลำเลียงโดยลำกับในที่ซึ่งสัญลักษณ์ 2. เป็นการใช้อินเทอร์เน็ตผ่านอุปกรณ์และช่องทางการสื่อสารต่างๆ 3. ดิจิทัลทั้งหมดมีไม่มีคุณสมบัติที่แตกต่างจากวิธีการสื่อสารแบบอะนาล็อก 4. กำหนดจุดเริ่มต้นของลำดับ 11. ไวรัสคอมพิวเตอร์ส่งผลกระทบอย่างไรต่อสังคม 1. เกิดความไม่เสมอภาค 2. เพิ่มปัญหาสิ่งแวดล้อม 3. เกิดความเสียหายแก่ข้อมูล 4. เพิ่มจำนวนผู้ใช้คอมพิวเตอร์ 12. ข้อใดถือว่าเป็นภัยแฝงออนไลน์ 1. ปาลินใช้เวลาว่างเล่นโซเชียล จนทำให้สอบไม่ผ่าน 2. มุตาขายของออนไลน์ 3. สาลีส่งงานอาจารย์ทางเมล์ 4. นาเดียแจ้งข่าวสารให้เพื่อนโดยใช้ Facebook 13. เราควรทำอย่างไร หากมีคนที่ไม่รู้จักส่งข้อความมาต่อว่าทางออนไลน์ 1. ส่งต่อให้เพื่อนดู เพราะตลกดี 2. ตอบโต้กลับ 3. รายงานให้ผู้บริการทราบ (เช่น เฟซบุ๊ค ทวิตเตอร์) จากนั้นก็บล็อกคนนั้น และบอกผู้ใหญ่ที่น้องไว้ใจให้ทราบ 4. ลบข้อความน้ำ แต่ไม่บอกใคร 14. ข้อใดไม่ใช่ จริยธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ 1. ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy) 2. ความเป็นเจ้าของ (Information Property) 3. ข้อมูลที่ได้รับอนุญาต (Data Allow) 4. การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility) 15. เมื่อเพื่อนแชร์ข้อมูลมา เราควรทำอย่างไร 1. Like และแชร์ต่อ โดยไม่ต้องอ่าน 2. เชื่อถือและปฏิบัติตาม 3. พิจารณาความน่าเชื่อถือและถูกต้องของข้อมูล 4. แสดงความชื่นชมเพื่อที่นำข้อมมูลมาแชร์ 16. ข้อใด ไม่เป็น การกระทำผิดกฎหมาย 1. ส่งอีเมล ลูกโซ่ โดยปกปิดที่มา 20 คน 2. โพสต์ข้อความด่าหรือจงใจกล่าวหาใส่ร้ายผู้อื่น 3. แอบนำ ID และ Password ของเพื่อนไปใช้โดยไม่ได้อนุญาต 4. ชี้นำสังคมให้เกิดค่านิยมในการข่มขืน โดยสร้างหนังให้พระเอกข่มขืนนางเอก 17. ผู้ใดเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ ต้องระวางโทษ 1. จำคุกไม่เกิน5ปี ปรับไม่เกิน100,000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ 2. จำคุกไม่เกิน2ปี ปรับไม่เกิน40,000บาท 3. จำคุกไม่เกิน1ปี หรือปรับไม่เกิน2หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ 4. จำคุกไม่เกิน3ปี หรือปรับไม่เกิน2แสนบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ 18. ออฟฟิต ซินโดรม เป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงกับคน  กลุ่มใด ที่สุด 1. กลุ่มคนทำงานออฟฟิต    2. กลุ่มนักศึกษา 3. กลุ่มผู้ใช้แรงงาน             4. กลุ่มนักธุรกิจ 19. ควรนั่งทำงานอย่างไรเพื่อลดอาการปวดเมื่อย 1. ไม่นั่งหลังค่อม 2. ยืดส้นยืดสายทุก 30 นาที 3. ปรับความสูงของเก้าอี้ให้เหมาะสม 4. ถูกทุกข้อ 20. การรักษาอาการออฟฟิตซินโดรม ที่ดีที่สุด คือข้อใด 1. การกินยาลดปวด                      2. การทำกายภาพบำบัด 3. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทำงาน         4. การฝังเข็ม 21. พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์) คืออะไร 1. คือกฎหมายที่ว่าด้วยการกระทำความผิดบนคอมพิวเตอร์ 2. คือกฎหมายที่ว่าด้วยการกระทำความผิดบนคอมพิวเตอร์ 3. คือกฎหมายที่ว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน 4. คือกฎหมายที่ว่าด้วยการปราบปรามทุจริต คอร์รัปชั่น 22. การตัดต่อหรือดัดแปลงภาพ ต้องระวางโทษตามข้อใด 1. จำคุก 2 ปี และปรับไม่เกิน 100,000 บาท 2. จำคุก 3 ปี เเละปรับไม่เกิน 200,000 บาท 3. จำคุก 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ 4. จำคุก 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ 23. พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ปี 2560 ในปัจจุบันกระทรวงใดทำหน้าที่รักษาการพ.ร.บ.ฉบับนี้ 1. กระทรวงดิจิทัลเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจเเละสังคม 2. กระทรวงการต่างประเทศ 3. กระทรวงการคมนาคมเเห่งชาติ 4. กระทรวงการคลัง 24. ความเสี่ยงสูงที่จะเป็นออฟฟิต ซินโดรม คือข้อใด 1. นั่งทำงานหน้าคอม มากกว่า 6 ชม./วัน                               2. ระหว่างทำงานมักจะปวดเมื่อยต้นคอ ไหล่ 3. ตาพร่ามัว อ่านหน้าจอไม่ชัด 4. ถูกทุกข้อ 25. การป้องกันการเกิดออฟฟิตซินโดรม ที่ควรทำทุกๆ 20 นาที คือข้อใด 1. พักสายตาจากหน้าจอคอมพิวเตอร์ 2. ยืดเหยีดกล้ามเนื้อ และแขน 3. ลุกออกไปเดินเล่น             4. นอนพักผ่อน 26. อาชีพใดที่มีหน้าที่กำหนดมาตรฐานกฏเกณฑ์โครงสร้างและงบประมาณในการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศในองค์กร 1. ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงหรือซีไอโอ 2. ผู้จัดการด้านเทคโนโ,ยีสารสนเทศและการสื่อสาร 3. นักวิเคราะห์ระบบ 4. ผู้ดูแลระบบ 27. การบริหารจัดการระบบคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ติดตั้ง กำหนดค่า เป็นหน้าที่ของอาชีพใด 1. ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงหรือซีไอโอ 2. ผู้จัดการด้านเทคโนโ,ยีสารสนเทศและการสื่อสาร 3. นักวิเคราะห์ระบบ 4. ผู้ดูแลระบบ 28. นักวิเคราะห์ระบบมีหน้าที่ใด 1. ตรวจสอบและหาข้อผิดพลาดของโปรแกรม  2. ศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศ 3. สนับสนุนและทดสอบระบบสารสนเทศ 4. วิเคราะห์และจัดการกับข้อมูลที่มีปริมาณมาก 29. ข้อใดเป็นผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่เห็นได้ชัดเจน 1. อาชีพนักพิมพ์ดีดสูญหายไป 2. สมองของมนุษย์มีขนาดใหญ่ขึ้น 3. ประเทศญี่ปุ่นประสบภัยพิบัติจากพายุใต้ฝุ่นบ่อยมากขึ้น 4. ประชากรเพศหญิงมีมากกว่าเพศชาย 30. การผลิตพลังงานไฟฟ้าเกิดขึ้นในการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่เท่าใด 1. การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 1 2. การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 2 3. การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 3 4. การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 31. ข้อใดเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดของพัฒนาการด้านคอมพิวเตอร์ที่ส่งผลให้เกิดการปฏิวัติสุตสาหกรรมครั้งที่ 3 1. คอมพิวเตอร์สามารถติดแทนมนุษย์ได้ 2. จอภาพคอมพิวเตอร์สามารถแสดงภาพความละเอียดสูงสุดได้ 3. เครื่องคอมพิวเตอร์มีขาดเล็กทำให้สามารถพกพาได้อย่างสะดวก 4. ศักยภาพการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ ทำให้ลดภาระการทำงานซ้ำ 32. งานลักษณะใดที่มีโอกาสถูกแทนด้วยระบบคอมพิวเตอร์ได้มากที่สุด 1. งานที่ต้องเผชิญกับความท้าทาย 2. งานที่ต้องการการตัดสินใจอย่างเร่งด่วน 3. มีการทำงานแบบเดิมซ้ำไปซ้ำมา 4. งานวางแผนงาน 33. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับอาชีพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. โปรแกรมเมอร์มีหน้าที่ออกแบบ พัฒนา ปรับปรุงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2. นักวิเคราะห์ทดสอบระบบ มีหน้าที่สนับสนุนและทดสอบระบบสารสนเทศเพื่อค้นหาจุดอ่อนและข้อพกพร่องต่างๆ 3. นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล มีหน้าที่ในการทำความเข้าใจและจัดการกับข้อมูลที่มีปริมาณมาก ซึ่งมีความซับซ้อนและหลากหลาย 4. ผู้ดูแลระบบฐานข้อมูล มีหน้าที่ในการบริหารจัดการระบบคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ติดตั้ง กำหนดค่า บำรุงรักษาทั้งในส่วนของฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ 34. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสิ่งที่ควรทำในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของการทำงานเนื่องจากเทคโนโลยี 1. เราควรเปิดใจยอมรับว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงแน่นอน 2. เราควรต่อยอดจากการบริการจากเทคโนโลยีให้มีบริการที่ดีขึ้น และมูลค่าสูงขึ้น 3. เราควรมองหาข้อจำกัดของเทคโนโลยีที่เราสามารถเข้าไปเสริมให้ดีขึ้น 4. เราควรลดการใช้เทคโนโลยีเพื่อให้อาชีพหลายอย่างยังคงอยู่ต่อไป 35. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับบทบาทของเทคโนโลยีในสังคม 1. เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตทำให้เกิดการสื่อสารทางไกลเป็นครั้งแรก 2. เทคโนโลยีเครื่องจักรไอน้ำช่วยให้การขนส่งทางรถไฟเกิดขึ้น 3. เทคโนโลยีไฟฟ้าทำให้เกิดการส่งถ่ายพลังงานและทำให้การผลิตมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 4. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ทำให้ลดการทำงานซ้ำไปซ้ำมาไปได้อย่างมาก 36. ข้อใดเป็นสาเหตุหรือปัจจัยหลักของการเปลี่ยนแปลงวัสดุที่ใช้ผลิตเสื้อผ้าจากเส้นใยปกติ เป็นเส้นใยนาโน 1. เป็นแฟชั่นที่ได้รับความนิยม 2. สภาพเศรษฐกิจทั่วโลกตกต่ำ 3. ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4. ทรัพยากรธรรมชาติมีอยู่อย่างจำกัดและลดลงอย่างต่อเนื่อง 37. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี 1. การพัฒนาสูตรอาหาร 2. การนำใบไม้แห้งมาเป็นเชื้อเพลิง 3. การพัฒนากระบวนการแปรรูปอาหาร 4. การปรับปรุงขั้นตอนการรักษาพยาบาลในโรงพยาบาล 38. ข้อใดคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี 1. ความต้องการของมนุษย์เพื่อที่จะแก้ไขปัญหา 2. ความต้องการของมนุษย์เพื่อที่จะพัฒนาเทคโนโลยี 3. ความต้องการของมนุษย์เพื่อที่จะควบคุมสิ่งแวดล้อม 4. ความต้องการของมนุษย์เพื่อที่จะควบคุมสิ่งแวดล้อม 39. ข้อใดคือผลกระทบทางด้านลบที่เกิดจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศด้านการเรียนการสอน 1. สื่อที่ใช้ขาดความน่าสนใจ 2. ผู้เรียนไม่มีสถานที่เรียนหนังสือ 3. เครื่องมือที่ใช้ต้องมีความทันสมัย 4. ผู้เรียนไม่สามารถสอบถามผู้สอนได้ 40. เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานอย่างไร 1. ช่วยลดจำนวนพนักงานลง 2. ช่วยเพิ่มเวลาในการทำงานให้มากขึ้น 3. ช่วยให้ทำงานได้เร็วและถูกต้องมากขึ้น 4. ช่วยให้ประหยัดทรัพยากรและรักษาสิ่งแวดล้อม 41. ข้อใดไม่ใช่ผลกระทบทางด้านบวกที่เกิดจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศด้านการเรียนการสอน 1. ผู้เรียนเรียนเก่งขึ้น 2. คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน 3. สื่อการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ 4. การเรียนการสอนแบบมีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนโดยตรง 42. ไวรัสคอมพิวเตอร์ส่งผลกระทบอย่างไรต่อสังคม 1. เกิดความไม่เสมอภาค 2. เพิ่มปัญหาสิ่งแวดล้อม 3. เกิดความเสียหายแก่ข้อมูล 4. เพิ่มจำนวนผู้ใช้คอมพิวเตอร์ 43. บุคคลในข้อใดมีหน้าที่พัฒนาโปรแกรม 1. Administrator 2. User 3. Database 4. Programmer 44. กลุ่มอาชีพใดมีหน้าที่ในการวิจัย วิเคราะห์ ตรวจสอบ ประเมินความมั่นคงปลอดภัย 1. ผู้เชี่ยวชาญด้านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2. ผู้เชี่ยวชาญด้านความมั่นคงปลอดภัย 3. นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล 4. นักวิเคราะห์ทดสอบระบบ 45. กลุ่มอาชีพใดมีหน้าที่ตรวจสอบและค้นหาข้อผิดพลาดของโปรแกรม 1. ผู้เชี่ยวชาญด้านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2. ผู้เชี่ยวชาญด้านความมั่นคงปลอดภัย 3. นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล 4. นักทดสอบ 46. กลุ่มอาชีพใดมีหน้าที่วิเคราะห์และจัดการกับข้อมูลที่มีปริมาณมาก 1. นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล 2. ผู้เชี่ยวชาญด้านความมั่นคงปลอดภัย 3. นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล 4. นักทดสอบ 47. เจ้าหน้าที่ IT support technicians มีหน้าที่ใด 1. กำหนดมาตรฐาน กฎเกณฑ์ โครงสร้าง งบประมาณ 2. สนับสนุนนโยบายและแผนบริหารจัดการ 3. ให้คำแนะนำวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาเทคโนโลยี 4. มีหน้าที่ออกแบบแผนการฝึกอบรม 48. เจ้าหน้าที่ IT trainers มีหน้าที่ใด 1. กำหนดมาตรฐาน กฎเกณฑ์ โครงสร้าง งบประมาณ 2. สนับสนุนนโยบายและแผนบริหารจัดการ 3. ให้คำแนะนำวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาเทคโนโลยี 4. มีหน้าที่ออกแบบแผนการฝึกอบรม 49. ผู้ดูแลระบบฐานข้อมูล มีหน้าที่ใด 1. กำหนดมาตรฐาน กฎเกณฑ์ โครงสร้าง งบประมาณ 2. สนับสนุนนโยบายและแผนบริหารจัดการ 3. ให้คำแนะนำวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาเทคโนโลยี 4. พัฒนาและดูแลระบบฐานข้อมูล 50. การสร้างเครื่องจักรไอน้ำเกิดขึ้นในการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่เท่าใด 1. การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 1 2. การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 2 3. การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 3 4. การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4

ขั้นตอนวิทยาการข้อมูล มีกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง

องค์กรต้องการตอบโจทย์ด้านใดหรือแก้ปัญหาใด กำหนดปัญหาที่น่าสนใจที่ต้องการใช้วิทยาการข้อมูลประยุกต์ Solution ปัจจุบันเป็นอย่างไร ตั้งขอบเขตของปัญหา.
เตรียมข้อมูลให้เหมาะสมกับการนำมาใช้.
วิเคราะห์ข้อมูลเชิงสำรวจ.
- สร้างมโนภาพ.
- หาคำตอบทางสถิติ.
- หาความสัมพันธ์.
ทำความสะอาดข้อมูล.
แปลงข้อมูลให้อ่านง่าย.
จัดการ outlier..

กระบวนการ Data Science ขั้นตอนใดสำคัญที่สุด

บางครั้ง (จริง ๆ คือแทบทุกครั้ง) เราต้องนำข้อมูลมาผ่านการแปรรูปให้นำมาใช้ต่อได้ง่าย หรือเราเรียกขั้นตอนนี้ว่า “การทำความสะอาดข้อมูล” หรือ Data Wrangling / Data Cleaning นั่นเอง ซึ่งขั้นตอนนี้กินเวลาเยอะที่สุดในการทำ Data Science เลยก็ว่าได้ครับ

Garbage in garbage out อยู่ในขั้นตอนใด

ข้อมูลเป็นสิ่งที่มีมูลค่ามหาศาลในปัจจุบัน จึงมีการนำข้อมูลมาวิเคราะห์หรือประมวลผลให้เกิดประโยชน์กับบุคคล หรือองค์กร แต่การได้มาซึ่งข้อมูลที่เป็นประโยชน์นั้น กระบวนการในการเก็บรวบรวมข้อมูล นับว่าเป็นสิ่งสำคัญ ดังประโยคที่ว่า garbage in garbage out ซึ่งได้กล่าวไว้ในขั้นตอนของกระบวนการวิทยาการข้อมูล สำหรับขั้นตอนของการ ...

ข้อใดเป็นกระบวนการทำงานของนักวิทยาศาสตร์ข้อมูล

กระบวนการทำงานของอาชีพ Data Scientist คือ ตั้งสมมติฐาน → ค้นคว้าหาข้อมูล → วิเคราะห์ข้อมูล → สร้างแบบจำลอง → สื่อสารผลลัพธ์ ทักษะที่จำเป็น Data Scientist คืออาชีพที่บูรณาการองค์ความรู้หลายด้าน ทั้งทักษะทางตรง (Hard skill) และ ทักษะทางอ้อม (Soft skill) ประกอบไปด้วย