หลักการในการบริโภคที่มีอะไรบ้าง

  •     �Թ����ø����ҵ���ҷ�������� ������ҧ��µ�ͧ����������÷�����ط�����Ȩҡ��û�ا��

  •     �Թ����÷�����ѡ�� �蹢��ǫ������ ����ѧ����շ ���ͧ�ҡ���ǫ��������������٧ �ա����ѧ����������ա���ª�Դ �� Folic acid, Niacin, �Ե��Թ B1, �Ե��Թ B6 ,DNA / RNA

  •     �Թ����÷��������� �������� �ѡʴ ���ͧ�ҡ������ջ���ª���������ҧ �� ������������ǹ ���¤��ͧ Ŵ�дѺ��ѹ�����ʹ �繵� ����÷����������٧ ���� ��ǡ��ͧ �ѡ ����� �ҧ��Դ �� ���� ����ǧ �Т�� �繵� ��ǹ�ѡʴ ��� ������� ��áԹ�ѡʴ ��������Ե��Թ ������䫴� ��ǹ����� �������Ե��Թ ������ҵ�                                                                                                                               

  •   �Թ����������ѵ����·���ش �������Թ��� ���ͧ�ҡ�����ѵ�� �ѡ���һ�Ԫ�ǹ� �������´� ����ҧ���� ��觨з�����к����Ԥ����ѹ��͹��ŧ�� �͡�ҡ��� ��ҧ��¢ͧ������ �������Сѹ��áԹ�����ѵ�� ���ͧ�ҡ�����ͧ��������ǡ����ѵ��Թ���� �֧ 20 ��� ������������������������ҹҹ   ���������� ������Դ�������Ш�¢ͧẤ������ �ա��駡���������͵�ͧ���ѧ�ҹ�ҡ

  • �鹼�Ե�ѳ��ҡ��������ͧ ��ж������ͧ��Сͺ�����õչ�ҡ�ת����������ਹ

  • ��Ե�ѳ������������������觼�Ե

  • ������Ѵ���ѧ����÷������ѹ ����ѹ�ҡ�ѵ�� ��ա����§��ѹ����ҹ��кǹ��÷���������͹�٧ ���ͧ�ҡ��ѹ���١������͹ �ô��ѹ������¹�ٻ�ҡ��� ���繷�ҹ��������ѹ�����ҧ���������� �͡�ҡ����ա�þ���� ��������ѹ���������Ƿʹ����ù�� �Դ������ѹ���µ���آ�Ҿ���µ�� ����ҡ��ͧ�����ѹ�ʹ ���������ç����ѹ��� �����ʹ��§�����������Ƿ�� �͡�ҡ����áԹ����÷������ѹ�٧�Թ价������ǹ ��������ѵ������§����ä����ҹ �����ѹ���ʹ�٧���

  • ��ա����§������ѧ��������������÷���Ե�ҡ�駢�� ��ӵ�ŷ��¢�� ���ͧ�ҡ��ӵ�������������ҧ �� ���к��ӧҹ�ͧ���Ԥ����ѹ ����ҹ �����ѹ����Ե�٧�繵� ��ǹ�駢�ǹ�鹢Ҵ���������Ե��Թ�Ѻ�������

    หลักการในการบริโภคที่มีอะไรบ้าง

    การบริโภค หมายถึงการใช้ประโยชน์จากสินค้าและบริการเพื่อสนองความต้องการของผู้บริโภคหรืบำบัดความต้องการของมนุษย์คือ
               1. การบริโภคสินค้าคงทน ซึ่งเป็นสินค้าที่ไม่ได้ทำให้สิ่งที่ถูกบริโภคหมดสิ้นหรือหมาดสภาพไป ยังใช้ได้อีกเป็นเวลานาน แต่เมื่อการใช้ย่อมเกิดการสึกหรอ
               2. การบริโภคสินค้าไม่คงทน ซึ่งเป็นการบริโภคที่ทำให้สิ่งที่ถูกบริโภคหมดสินไป เช่น อาหาร เครื่องดื่ม เป็นต้น

    ผู้บริโภค คือ ผู้ที่มีความสามารถในการซื้อสินค้าและบริการเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ส่วนตัวหรือในครัวเรือน
    ผู้บริโภคมีจำนวนมากทั่วประเทศ บางคนก็ตัดสินใจในการซื้ออย่างมีระเบียบแบบแผนสามารถใช้เงินทุกบาททุกสตางค์ได้คุ้มค่า

    ปัจจัยที่กำหนดความต้องการบริโภคของครัวเรือน
              1.รายได้ผู้บริโภค รายได้ผู้บริโภค จะเป็นตัวกำหนดการจับจ่ายใช้สอยของผู้บริโภค
              2.สินค้า และบริการ ความต้องการซื้อสินค้าและบริการของผู้บริโภค จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับราคา สินค้าและบริการนั้น โดยราคามีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับปริมาณต้องการซื้อ
              3.รสนิยม ของผู้บริโภค รสนิยมของผู้บริโภคเป็นปัจจัยหนึ่ง ที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้า ซึ่งรสนิยมของผู้บริโภคนั้นจะแตกต่างไปตามอายุ เพศ ระดับการศึกษา
              4.สังคมและสิ่งแวดล้อม เช่น การศึกษา สิ่งแวดล้อม การโฆษณา เหล่านี้มีอิทธิผลต่อความต้องการของผู้บริโภค
              5.ฤดูกาล เมื่อฤดูการเปลี่ยนไปย่อมมีอิทธิผลให้ความต้องการซื้อของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลไป
              6.การคาดคะเนเกี่ยวกับราคาสินค้า การคาดคะเน เป็นการคาดการเดาในเรื่องที่ยังไม่เกิดขึ้น ซึ่งมีผลต่อการบริโภค

    หลักการเลือกสินค้าและบริการ
               1.ควรซื้ออะไร
               2.ควรซื้ออย่างไร
               3.ควรจะซื้อเมื่อใด
               4.พิจารณาสถานที่จะซื้อ

    ประเภทของการบริโภคมีทั้งหมด 2 แบบ คือ
              1.การบริโภคโดยตรง : การบริโภคที่ให้อรรถประโยชน์แก่ผู้บริโภคขณะที่กำลังบริโภค เช่น การแปรงฟัน อาบน้ำ ฟังเพลง ดื่มน้ำ เป็นต้น
              2.การบรโภคทางอ้อม : การบริโภคที่ให้อรรถประโยชน์แก่ผู้บริโภคในเวลาต่อไป เช่น การใช้น้ำมัน วัตถุดิบต่างๆ การใช้เครื่องจักรผลิตสินค้า เป็นต้น

    พฤติกรรมการบริโภค
              พฤติกรรมผู้บริโภค คือการศึกษาปัจเจกบุคคล กลุ่มบุคคล หรือองค์การ และกระบวนการที่พวกเขาเหล่านั้นใช้เลือกสรร รักษา และกำจัด สิ่งที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ บริการ ประสบการณ์ หรือแนวคิด เพื่อสนองความต้องการและผลกระทบที่กระบวนการเหล่านี้มีต่อผู้บริโภค และสังคมพฤติกรรมผู้บริโภคเป็นการผสมผสานจิตวิทยา สังคมวิทยา มานุษยวิทยาสังคม และเศรษฐศาสตร์ เพื่อพยายามทำความเข้าใจกระบวนการการตัดสินใจของผู้ซื้อ ทั้งปัจเจกบุคคลและกลุ่มบุคคล พฤติกรรมผู้บริโภคศึกษาลักษณะเฉพาะของผู้บริโภคปัจเจกชน อาทิ ลักษณะทางประชากรศาสตร์และตัวแปรเชิงพฤติกรรม เพื่อพยายามทำความเข้าใจความต้องการของประชาชน พฤติกรรมผู้บริโภคโดยทั่วไปก็ยังพยายามประเมินสิ่งที่มีอิทธิพลต่อผู้บริโภค โดยกลุ่มบุคคลเช่นครอบครัว มิตรสหาย กลุ่มอ้างอิง และสังคมแวดล้อมด้วย
    การศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภคมีรากฐาน มาจากพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภค ซึ่งแสดงบทบาทที่แตกต่างกันสามบทบาทได้แก่ ผู้ใช้ ผู้จ่าย และผู้ซื้อ ผลการวิจัยได้แสดงว่าพฤติกรรมผู้บริโภคนั้นยากที่จะพยากรณ์ แม้กระทั่งโดยผู้เชี่ยวชาญในสาขานั้นเอง การตลาดความสัมพันธ์คือสิ่งหนึ่งที่ทรงคุณค่า และมีอิทธิพลสำหรับการวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค เพราะมันมีจุดสนใจที่โดดเด่น ในการรื้อฟื้นความหมายที่แท้จริงของการตลาด ด้วยการยอมรับความสำคัญของลูกค้าหรือผู้ซื้อ การรักษาผู้บริโภค การจัดการความสัมพันธ์ต่อผู้บริโภค การปรับตามปัจเจกบุคคล การปรับตามผู้บริโภค และการตลาดหนึ่งต่อหนึ่ง ก็เป็นสิ่งที่ได้ให้ความสำคัญมากขึ้น การทำหน้าที่เชิงสังคมสามารถจัดประเภท เป็นทางเลือกของสังคมและการทำหน้าที่สวัสดิการ

    ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค แบ่งออกเป็น 2 ทฤษฎี
              1.ทฤษฎีอรรถประโยชน์ เป็นทฤษฎีที่ศึกษาประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่ผู้บริโภคจะได้รับจากการบริโภค โดยศึกษาความพอใจของผู้บริโภคที่เกิดจากการบริโภคสินค้าและบริการสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ในระยะเวลาหนึ่ง โดยตั้งสมมุติในการวัดความพึงพอใจออกมาเป็นตัวเลข
              2.ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน เป็นทฤษฎีที่อธิบายความพึงพอใจของผู้บริโภคด้วยการเปรียบเทียบความพอใจ แทนที่จะเป็นการวัดความพึงพอใจออกมาเป็นตัวเลข กล่าวคือ ผู้บริโภคสามารถบอกได้แต่เพียงว่าชอบสินค้าหรือบริการนั้น ๆ มากกว่า น้อยกว่าหรือเท่ากับสินค้าหรือบริการชนิดอื่น ๆ โดยไม่สามารถระบุความแตกต่างออกมาเป็นตัวเลขได้

    หลักการในการบริโภคที่มีอะไรบ้าง

    ที่มาของภาพ : http://www.thaigoodview.com/library/contest2553/type2/social04/05/page8.html

    หลักการในการบริโภคที่มีอะไรบ้าง
    หลักการในการบริโภคที่มีอะไรบ้าง

    การบริโภคมี3ประเภท อะไรบ้าง

    ประเภทของการบริโภคมีทั้งหมด 2 แบบ คือ 1.การบริโภคโดยตรง : การบริโภคที่ให้อรรถประโยชน์แก่ผู้บริโภคขณะที่กำลังบริโภค เช่น การแปรงฟัน อาบน้ำ ฟังเพลง ดื่มน้ำ เป็นต้น 2.การบรโภคทางอ้อม : การบริโภคที่ให้อรรถประโยชน์แก่ผู้บริโภคในเวลาต่อไป เช่น การใช้น้ำมัน วัตถุดิบต่างๆ การใช้เครื่องจักรผลิตสินค้า เป็นต้น พฤติกรรมการบริโภค

    ปัจจัยที่กําหนดการบริโภค มีอะไรบ้าง

    รายได้เป็นปัจจัยสำคัญในการกำหนดความจำเป็นในการบริโภคของผู้บริโภค รวมทั้งความสามารถในการบริโภค หากผู้บริโภคประกอบอาชีพที่มีรายได้สูง ย่อมต้องการบริโภคสินค้าและบริการที่มีคุณภาพดี เช่น ซื้อบ้านหลังใหญ่ใช้รถยนต์ราคาแพง เป็นต้น แต่ผู้ที่มีรายได้น้อยก็จะบริโภคเฉพาะสินค้าและบริการที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตเท่านั้น

    การบริโภคมีความสําคัญอย่างไร

    ความสำคัญของการบริโภค การบริโภค เป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่มีความสำคัญ เนื่องจากมนุษย์ทุกคนต้องบริโภค เพื่อการดำรงชีวิต และการบริโภคยังเป็นสิ่งกระตุ้นให้เกิดการลงทุน การจ้างงาน ทำให้มีรายได้ทั้งผู้ผลิต และเจ้าของปัจจัยการผลิต มีสินค้าและบริการบริโภคเพิ่มขึ้น ทำให้เศรษฐกิจขยายตัวขึ้น

    หลักการบริโภคสินค้าและบริการมีหลักการใดบ้าง

    หลักการการซื้อของผู้บริโภค.
    การซื้ออย่างฉลาด หมายถึง การซื้ออย่างมีหลักเกณฑ์รอบคอบ และระมัดระวังเพื่อให้ได้ความพอใจมากที่สุด.
    * สินค้าและบริการที่จะซื้อต้องมีความจำเป็น.
    * ควรสำรวจสินค้าและบริการจากหลายๆร้านเพื่อเปรียบเทียบคุณภาพ ราคาของสินค้า.
    * ใช้คู่มือการซื้อที่ดีก่อนออกจับจ่าย.
    * เลือกแบบที่เป็นกลางๆ จะได้ไม่ล้าสมัย.