ตําแหน่งงานบัญชี มีอะไรบ้าง

เป็นตำแหน่งพื้นฐานสำหรับเด็กจบใหม่ เพราะตำแหน่งงานนี้มีเยอะมาก บริษัทขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ปกติแล้วจะไม่จ้างบริษัทรับทำบัญชีให้มาดูแลเรื่องการจัดทำบัญชีให้ อาจจะด้วยหลายๆสาเหตุ อาทิเช่น กลัวความลับทางการเงินรั่วไหลไปสู่บุคคลภายนอก หรือไม่สะดวกเพราะขนาดของบริษัทเริ่มใหญ่ขึ้น และให้ความสำคัญกับการควบคุมดูแลระบบบัญชีและการเงินมากขึ้น การจ้างคนอื่นอาจจะทำให้ได้รับข้อมูลข่าวสารที่ช้าเกินไป บริษัทเหล่านี้จึงมีแผนกบัญชีเอาไว้เลย

ตำแหน่งงานในแผนกบัญชี 

โดยทั่วไปแล้วแบ่งกันง่ายๆตามหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละคน คือ

ตําแหน่งงานบัญชี มีอะไรบ้าง


 1.  Account Payable หรือ AP 

    เจ้าหน้าที่ฝั่งจ่าย มีหน้าที่ตรวจสอบเอกสารการเบิกจ่ายว่าถูกต้องหรือไม่ จัดทำเช็ค หรือโอนเงินค่าใช้จ่ายต่างๆของบริษัท และบันทึกบัญชีที่เกี่ยวข้องตั้งแต่การตั้งหนี้ไปจนตัดจ่ายเจ้าหนี้

2. Account Receivable หรือ AR 

    เจ้าหน้าที่ฝั่งรับ มีหน้าที่บันทึกบัญชีการรับชำระเงินจากลูกค้า บางครั้งอาจควบตำแหน่งการคอยติดตามวางบิลและเก็บเงินจากลูกค้าเองด้วย

3. Cost หรือ บัญชีต้นทุน 

    ส่วนใหญ่แล้วจะควบการดูแลคลังสินค้าหรือ Store ไปด้วยในตัว ทำหน้าที่จัดทำบัญชีต้นทุนแยกประเภทตามแผนกผลิต จัดทำบัญชีราคาต้นทุนผลิตภัณฑ์ต่างๆ จัดทำรายงานสินค้าคงเหลือทุกเดือน

4. บัญชีเจ้าหนี้ 

    หรือ Account Payment หรือบัญชี AP ทำหน้าที่ตรวจสอบเอกสารการจ่ายเงินก่อนจัดทำเช็คจ่ายในกรณีต่างๆ จัดทำรายงานภาษีซื้อ จัดทำใบสำคัญจ่ายเช็คเพื่อเสนอให้ผู้บังคับบัญชาตรวจสอบ บันทึกบัญชีสำหรับการซื้อ จัดทำสรุปยอดในสมุดรายวันซื้อ และจัดทำใบสำคัญทั่วไป พร้อมทั้งบันทึกบัญชีที่เกี่ยวข้องทุกสิ้นเดือน

5. บัญชีลูกหนี้ 

    หรือบัญชี AR (Account Receivable) ทำหน้าที่บันทึกบัญชีเกี่ยวกับการรับชำระหนี้จากลูกหนี้ สรุปยอดขายประจำวันและประจำเดือน สรุปยอดลูกหนี้คงเหลือ จัดทำรายงานวิเคราะห์อายุของลูกหนี้ประจำเดือน จัดทำรายงานภาษีขาย

6. บัญชีแยกประเภท 

    เจ้าหน้าที่บัญชีแยกประเภท มีหน้าที่ดูแลบัญชีรายตัวให้บันทึกให้ถูกต้อง บันทึกปรับปรุงรายการให้ถูกต้อง ดูแลตัวเลขในงบทดลองทุกราย เป็นต้น

5. บัญชีสินทรัพย์ 

เจ้าหน้าที่บัญชีสินทรัพย์ มีหน้าที่ดูแลและบันทึกบัญชีและตรวจสอบสินทรัพย์ของกิจการ ทำรายงานสินทรัพย์ บันทึกตัดค่าเสื่อมราคา จัดทำรายงานสรุปค่าเสื่อมราคาเสนอต่อผู้บังคับบัญชา เป็นต้น

6.บัญชีภาษี 

เจ้าหน้าที่บัญชีภาษี ดูแลการส่งแบบฟอร์มภาษีต่าง ๆ เช่น ภงด. 1 , 2 , 3 , 53 , 54 , 1ก , 2ก , 90 , 91 , ภพ. 30 , ภพ. 36 , ภธ. 40 ฯลฯ เป็นต้น ตำแหน่งนี้จะรับผิดเรื่องนี้โดยเฉพาะ บางที บัญชีลูกหนี้บางกิจการ อาจรับผิดชอบเรื่องรายงานภาษีขาย และ ภาษีถูกหัก ณ ที่จ่าย, บัญชีเจ้าหนี้ อาจรับผิดชอบรายงานภาษีซื้อ รวมถึงส่งแบบ ภงด. ต่าง ๆ ด้วย

คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้


คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน


คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม

เชื่อว่าหลายคนที่สนใจเรียนปริญญาตรี ด้านการบัญชี จะมีอาชีพที่ตัวเองอยากจะทำเมื่อเรียนจบออกไป ซึ่งจริง ๆ แล้วอาชีพนักบัญชีเป็นอาชีพเฉพาะด้านที่ไม่มีใครสามารถทำแทนได้ หรือบางคนอาจวางแผนจะเรียนบัญชีเพื่อจบออกไปทำงานในบริษัทใหญ่ ๆ เช่น บริษัทผู้ตรวจสอบบัญชีรายใหญ่ระดับโลก อย่างบริษัท BIG4 ซึ่งประกอบด้วย

  1. PricewaterhouseCoopers (PwC)
  2. EY (เดิมคือ Ernst & Young)
  3. Deloitte Touche Tohmatsu (Deloitte)
  4. KPMG
    ทั้งหมดมีบริษัทลูกของ BIG4 ที่ดำเนินธุรกิจอยู่ในไทย ซึ่งบริษัทเหล่านี้ต้องการนักบัญชีที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญรอบด้านเป็นอย่างมาก แถมเงินเดือนเริ่มต้นก็สูง และงานก็มั่นคงอีกด้วย

นักบัญชีที่เรียนจบจาก มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สามารถเรียนจบพร้อม วุฒิบัญชีบัณฑิต ซึ่งหลักสูตรของมหาวิทยาลัยได้รับการรับรองจาก สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์  จบไปสามารถประกอบอาชีพได้หลายหลายมาก ๆ แต่บทความนี้เราจะยกตัวอย่างให้ดูในอาชีพยอดฮิตที่เงินเดือนสูง ซึ่งกำลังเป็นที่ต้องการของบริษัทชั้นนำที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้นอีกด้วย

1.นักบัญชี Accountant

ตําแหน่งงานบัญชี มีอะไรบ้าง
ตําแหน่งงานบัญชี มีอะไรบ้าง

ผู้ทำบัญชี, ผู้จัดการฝ่ายบัญชี หรือเจ้าหน้าที่บัญชีหรือการเงิน, ผู้ทำบัญชี, ผู้จัดการฝ่ายบัญชี หรือเจ้าหน้าที่บัญชีหรือการเงิน ทำหน้าที่ จัดทำ รวบรวมเอกสารทางบัญชี บันทึกรายการและจัดทำรายงานการเงินและงบการเงินต่างๆ วิเคราะห์งบการเงิน ร่วมวางแผน กำหนดนโยบายและตัดสินใจปัญหาการเงินรวมทั้งจัดทำงบประมาณ วางแผนและร่วมตัดสินใจการจัดหาและการจัดสรรเงินทุนของกิจการ ตรวจสอบดูแลเอกสารทางบัญชีและการเงินที่เกี่ยวข้องของบริษัทหรือองค์กร ดังนั้นแทบทุกองค์กรจึงต้องมีเจ้าหน้าที่การเงิน และการบัญชี เช่น ธนาคาร บริษัทประกันภัย องค์กรธุรกิจเอกชน รัฐบาล และสถานประกอบการต่างๆ รวมไปถึงบริษัทที่รับทำบัญชีให้บริษัทอื่น

จบใหม่ : 15,000 – 25,000 บาท
มีประสบการณ์: 28,000 – 90,000 บาท

2.ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษี Tax Specialist

ที่ปรึกษาด้านภาษี อาชีพนี้มีหน้าที่ให้คำปรึกษากับองค์กรด้านภาษีอากรต่างๆ ทั้งกฎหมายภาษีตามประมวลรัษฎากรและภาษีอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับบริษัท เพื่อลดความเสี่ยงทางภาษี เช่นการคำนวณภาษีไม่ถูกต้อง การยื่นแบบรายการทางภาษี การวางแผนภาษีให้หน่วยงานหรือบริษัท เพื่อเสียภาษีที่ถูกต้องและประหยัด และแก้ปัญหาภาษีต่างๆให้แก่องค์กร ยื่นแบบรายการภาษีเงินได้ทุกประเภท ซึ่งปัจจุบันอาชีพนี้เป็นที่ต้องการในตลาดแรงงานเป็นอย่างมาก
ส่วนใหญ่ทำงานอิสระ รายได้ขึ้นอยู่กับความเชี่ยวชาญ หน้าที่ความรับผิดชอบ และขนาดของบริษัท

3. ผู้ตรวจสอบภายใน (Internal Auditor)

ตําแหน่งงานบัญชี มีอะไรบ้าง
ตําแหน่งงานบัญชี มีอะไรบ้าง

ผู้ตรวจสอบภายใน (Internal Auditor)วางแผนตรวจสอบภายในหน่วยงานต่าง ๆ ตรวจสอบการปฎิบัติงานหน่วยงานต่าง ๆ ในองค์กร ออกแบบและจัดทำรายงานผลการตรวจสอบให้สอดคล้องกับมาตรฐานและความต้องการของผู้บริหาร ปรับปรุงแนวทางการจัดเก็บเอกสารให้สอดคล้องกับมาตรฐานการควบคุมภายใน ออกแบบและปรับปรุงผังทางเดินของงาน( Work Flow)เพื่อการควบคุมภายในที่ดี และติดตามการปฎิบัติงานต่างๆ เพื่อการกำกับดูแลที่ดีให้แก่สถานประกอบการ สถาบันหรือบริษัท หรือหน่วยงานรัฐบาล การตรวจสอบภายในนี้ยังช่วยให้องค์กรสามารถบรรลุเป้าหมายขององค์กรที่ตั้งไว้ ด้วยการประเมินและปรับปรุงประสิทธิผลของการควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง การควบคุม และกระบวนการกำกับดูแลกิจการอย่างเป็นระบบและระเบียบ หากคุณเป็นผู้ตรวจสอบภายในสากล (CIA) ทำให้มีโอกาสก้าวหน้าในวิชาชีพมากยิ่งขึ้น ทำได้ทั้งอาชีพอิสระและทำงานในองค์กรโดยตรง
กรณีทำงานประจำ จบใหม่ : 20,000 – 28,000 บาท มีประสบการณ์ : 30,000 – 60,000 บาท
กรณีทำงานอิสระ รายได้ขึ้นอยู่กับจำนวนบริษัทที่รับงานสอบบัญชีและขนาดของบริษัทเฉลี่ยประมาณปีละ 100,000 ถึง 3,000,000 บาท

งาน วิชาชีพบัญชี 7 ประเภท อะไร บ้าง

ประเภทของงานบัญชีที่นักบัญชีต้องรู้.
1. การบัญชีการเงิน ... .
2. การบัญชีบริหาร ... .
3. การบัญชีต้นทุน ... .
4. การตรวจสอบ ... .
5. การบัญชีภาษี ... .
6. ระบบสารสนเทศทางการบัญชี ... .
7. การบัญชีตามหลักความไว้วางใจ ... .
8. การบัญชีนิติเวช.

ตําแหน่งการเงินและบัญชี ทําอะไรบ้าง

1. รับเงินและเบิกจ่ายเงินทุกประเภท 2. จัดทำฏีกาเบิกจ่ายเงินในงบดำเนินงานจากกรมบัญชีกลาง 3. นำฝากและเก็บรักษาเงิน 4. จัดทำรายงานเงินคงเหลือประจำวัน.
งานการเงิน.
งานบัญชีและงบประมาณ.
งานเร่งรัดและติดตามหนี้สิน.
งานตรวจสอบ.

พนักงานบัญชีมีหน้าที่ทำอะไรบ้าง

นักบัญชี มีหน้าที่จัดทำงบการเงินของบริษัท โดยปกติแล้วทุกบริษัทก็จะมีบัญชีของกิจการนั้นๆ และคนที่ทำบัญชีให้ก็คือ นักบัญชีนี่แหละค่ะ ถ้าพูดให้เห็นภาพง่ายๆ การทำงบการเงินเปรียบเหมือนการตรวจสุขภาพของบริษัทเลยก็ว่าได้ เพราะเราจะได้รู้ว่าสภาพการเงินตอนนี้เป็นอย่างไรได้บ้าง

เจ้าหน้าที่บัญชีเจ้าหนี้ ทำอะไรบ้าง

เจ้าหน้าที่บัญชีเจ้าหนี้ (AP) - ฝ่ายการเงินและบัญชี.
รับผิดชอบในการทำจ่ายเงินตามเวลาที่กำหนด ให้กับลูกค้าและคู่ค้ากลุ่มธุรกิจองค์กร ธุรกิจเช่าซื้อ สถาบันการเงิน บริษัทประกันภัย เป็นต้น.
จัดทำเอกสารการตั้งหนี้ และ บันทึกข้อมูลลงในระบบบัญชีของบริษัทฯจัดทำเอกสารการตั้งหนี้ และ บันทึกข้อมูลลงในระบบบัญชีของบริษัทฯ.