โจทย์ สัจ นิ รัน ด ร์ พร้อมเฉลย

โจทย์ สัจ นิ รัน ด ร์ พร้อมเฉลย

        การที่ประพจน์ไหนก็ตามจะถูกเรียกว่าเป็นสัจนิรันดร์นั้น หมายความว่า ไม่ว่าประพจน์ย่อยแต่ละประพจน์ที่เอามาเชื่อมกันในประพจน์นั้น ๆ มีค่าความจริงเป็นอะไรก็ตามค่าความจริงสุดท้ายที่ออกมาจะต้องเป็นจริงเสมอ เช่น
        ถ้าประพจน์ที่กำหนดให้คือ p∧qp∧q จะมีค่าความจริงเป็นจริงเมื่อทั้งสองประพจน์ pp และ qq มีค่าความจริงเป็นจริงเท่านั้น ไม่ได้มีค่าความจริงเป็นจริงในทุกกรณี ดังนั้น ประพจน์นี้จึง ไม่เป็นสัจนิรันดร์

โจทย์ สัจ นิ รัน ด ร์ พร้อมเฉลย

        วิธีนี้เป็นวิธีที่ตรงไปตรงมามากที่สุดนั่นคือการเขียนกรณีที่เป็นไปได้ของประพจน์ทั้งหมดแล้วมาดูกันว่าค่าความจริงที่ได้เป็นจริงทั้งหมดหรือไม่

โจทย์ สัจ นิ รัน ด ร์ พร้อมเฉลย

ตรวจสอบสัจนิรันดร์ โดย การสร้างตารางค่าความจริง
 
โจทย์ สัจ นิ รัน ด ร์ พร้อมเฉลย
ประพจน์ (p∨q)∧p(p∨q)∧p เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่
จากประพจน์ที่กำหนดให้ จะมีประพจน์ย่อยทั้งหมดสองประพจน์ ดังนั้นสร้างตารางที่มีประพจน์สองประพจน์นี้ขึ้นมา


        จากนั้นให้เติมกรณีที่เป็นไปได้ทั้งหมด ซึ่ง จำนวนกรณีที่เป็นไปได้ทั้งหมดคือ 2n เมื่อ n คือจำนวนประพจน์ วิธีการเติมที่ง่าย และ ได้ครบทุกกรณีโดยไม่ตกหล่น คือ การเติมแบบกลุ่มกลุ่มละครึ่ง
        เช่น ในข้อนี้ มีประพจน์ทั้งหมด 2 ประพจน์ ดังนั้นจะมีทั้งหมด 22= 4 กรณี เริ่มแรก เนื่องจากมี 4 กรณี จะได้ว่าครึ่งหนึ่งคือ2 ดังนั้นหลักแรกให้เติม T จำนวนสองตัว และ F จำนวนสองตัว จะได้
        จากนั้นให้ ให้ดูครึ่งนึงของ 22 จะได้ 11 ดังนั้นในหลักที่ 22 ให้เติม TT กับ FF สลับกันครั้งละหนึ่งตัว จะได้

        เราก็จะได้กรณีที่เป็นไปได้ครบทั้งหมด
        จากโจทย์เราต้องการค่าความจริงของประพจน์ (p∨q)∧p(p∨q)∧p จากตารางข้างบนเราไม่มีค่าความจริงของ p∨qp∨q ดังนั้นสร้างหลักของ p∨qp∨q เพิ่ม และเติมค่าความจริงให้เรียบร้อย จะได้

        ตอนนี้เรามีค่าความจริงครบทั้งหมดแล้ว ดังนั้นให้สร้างหลักสุดท้าย เป็นหลักของ ประพจน์ที่เราต้องการตรวจสอบ จะได้
pqp∨q(p∨q)∧pTTTTTFTTFTTFFFFF        จากตารางด้านบนจะเห็นว่ามีสองกรณีที่ค่าความจริงของประพจน์ที่โจย์ถามนั้นเป็นเท็จ จึง ทำให้ได้ว่า ประพจน์นี้ ไม่เป็นสัจนิรันดร์
ตอบ  ประพจน์ที่กำหนดให้ ไม่เป็นสัจนิรันดร์

โจทย์ สัจ นิ รัน ด ร์ พร้อมเฉลย

ตรวจสอบสัจนิรันดร์ โดย การสร้างตารางค่าความจริง
โจทย์ สัจ นิ รัน ด ร์ พร้อมเฉลย
ประพจน์ (p∧q)→(p∨q)(p∧q)→(p∨q) เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่
ใช้หลักการเดียวกันกับข้อข้างบนสร้างตารางค่าความจริง จะได้ตารางดังนี้

pq(p∧q)(p∨q )(p∧q )→(p∨q )TTTTTTFFTTFTFTTFTFFT        จากตารางค่าความจริงที่สร้างขึ้น จะเห็นว่า ทุกกรณีที่เป็นไปได้ มีค่าความจริงเป็นจริงทั้งหมด ดังนั้นประพจน์ที่กำหนดให้เป็นสัจนิรันดร์ ตอบ  ประพจน์ที่กำหนดให้เป็นสัจนิรันดร์

โจทย์ สัจ นิ รัน ด ร์ พร้อมเฉลย

โจทย์ สัจ นิ รัน ด ร์ พร้อมเฉลย

        หลักการการสมมุติให้เป็นเท็จ คือ การหาว่าเป็นไปได้มั้ยที่ประพจน์นั้นจะเป็นเท็จ ถ้ามีแม้แต่กรณีเดียวได้ค่าความจริงเป็นเท็จขึ้นมา แสดงว่าไม่เป็นสัจนิรันดร์ แต่ถ้า
โจทย์ สัจ นิ รัน ด ร์ พร้อมเฉลย

โจทย์ สัจ นิ รัน ด ร์ พร้อมเฉลย

การตรวจสอบสัจนิรันดร์โดยการสมมุติให้เป็นเท็จ
โจทย์ สัจ นิ รัน ด ร์ พร้อมเฉลย
ประพจน์ [∼(p→q)]→[(∼p↔q)][∼(p→q)]→[(∼p↔q)] เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่
        วิธีทำ ใช้หลักการเดียวกันกับตัวอย่างแรก จะได้แผนภาพคือ
โจทย์ สัจ นิ รัน ด ร์ พร้อมเฉลย

ตอบ  ประพจน์ที่กำหนดให้เป็นสัจนิรันดร์

โจทย์ สัจ นิ รัน ด ร์ พร้อมเฉลย

การตรวจสอบสัจนิรันดร์โดยการสมมุติให้เป็นเท็จ
โจทย์ สัจ นิ รัน ด ร์ พร้อมเฉลย
ประพจน์∼p∧(p∨∼(r∧s))]→(∼r∨s)∼p∧(p∨∼(r∧s))]→(∼r∨s)เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่
        วิธีทำ วาดแผนภาพโดยใช้หลักการเดียวกับตัวอย่างข้อแรก จะได้
โจทย์ สัจ นิ รัน ด ร์ พร้อมเฉลย

        จากแผนภาพจะได้ว่า ไม่มีข้อขัดแย้งใด ๆ เกิดขึ้น แสดงว่า ประพจน์ที่กำหนดให้สามารถเกิดกรณีที่เป็นเท็จขึ้นได้         ดังนั้นประพจน์ที่กำหนดให้ไม่เป็นสัจนิรันดร์
ตอบ  ประพจน์ ∼p∧(p∨(̸r∧s))]→(∼r∨s)∼p∧(p∨(̸r∧s))]→(∼r∨s) ไม่เป็นสัจนิรันดร์

   

โจทย์ สัจ นิ รัน ด ร์ พร้อมเฉลย

 https://www.opendurian.com/learn/tautology_and_verification/

โจทย์ สัจ นิ รัน ด ร์ พร้อมเฉลย

สัจนิรันดร์
ประพจน์ที่เป็นสัจนิรันดร์ คือ รูปแบบของประพจน์ที่มี ค่าความจริงเป็นจริงเสมอ ไม่ว่าประพจน์ย่อยจะมีค่าความจริงเป็น จริง หรือ เท็จ ก็ตาม เช่น p ∨ ~p , p → p , ~( p ∧ ~p ) , p ↔ p เป็นต้น
การตรวจสอบว่าประพจน์ใดเป็นสัจนิรันดร์ ทำได้ดังนี้
1. ใช้ตารางแสดงค่าความจริง
ตัวอย่าง จงตรวจสอบว่าประพจน์ต่อไปนี้ เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่

  1. [ ( p → q ) ∧ p ] → q

โจทย์ สัจ นิ รัน ด ร์ พร้อมเฉลย

จะเห็นว่ารูปแบบของประพจน์  [ ( p → q ) ∧ p ] → q มีค่าจริงเป็นจริงทุกกรณี
ดังนั้น [ ( p → q ) ∧ p ] → q เป็น สัจนิรันดร์

2. ใช้วิธีการหาข้อขัดแย้ง
ตัวอย่าง จงตรวจสอบว่าประพจน์ต่อไปนี้ เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่
1. ( p ∧ q ) → ( q ∨ p )
วิธีทำ สมมุติว่า ( p ∧ q ) → ( q ∨ p ) เป็นเท็จ

 

โจทย์ สัจ นิ รัน ด ร์ พร้อมเฉลย

 

จากแผนภาพ จะเห็นว่า ค่าความจริงของ p และ q เป็นได้ทั้งจริงและเท็จ
แสดงว่าไม่มีกรณีที่ทำให้ ( p ∧ q ) → ( q ∨ p ) เป็นเท็จ
ดังนั้น รูปแบบของประพจน์ ( p ∧ q ) → ( q ∨ p ) เป็นสัจนิรันดร์

 

 

 

 

 

 

Advertisement

Share this:

  • Twitter
  • Facebook

Like this:

ถูกใจ กำลังโหลด...